Xray Machine

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Xray Machine as PDF for free.

More details

  • Words: 344
  • Pages: 32
X-ray machine โดย ผศ.เพชรากร หาญพานิชย ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

1

วัตถุประสงคการศึกษา 1.เพื่อใหนักศึกษาสามารถบอกถึงชนิด และหนาที่ของเครื่องตรวจดานรังสีวนิ ิจฉัย 2.เพื่อใหนักศึกษาสามารถบอกถึงสวน ประกอบและอุปกรณของเครื่องตรวจ ดานรังสีวนิ ิจฉัย 2

คําถาม

3

1.กระแสไฟฟาที่ใหในประเทศไทยเปนแบบใด? 1. 110 V. , 50 Hz. 2. 220 V. , 50 Hz. 3. 110 V. , 60 Hz. 4. 220 V. , 60 Hz. 4

2.บุคคลในภาพ คนใดคนพบรังสีเอกซ?

1

2

3

4 5

3.ภาพใดคือเครื่อง CT Scan?

1.

2.

3.

4.

6

4.ขอใดไมเปนอุปกรณในการตรวจ ทางดานรังสีวินิจฉัย? 1. Cassette 2. Grid 3. Image Intensifier 4. Probe 7

5.อะไรไมใชสว นประกอบของ หลอดเอกซเรย? 1. Anode 2. Cathode 3. Focusing cup 4. Rectifier 8

ชนิดของเครือ่ งเอกซเรย

9

Wilhelm Conrad Roentgen นักวิทยาศาสตร ชาวเยอรมัน กําลังศึกษารังสีแคโธด เมื่อใชความตางศักยไฟฟาสูงมากๆ เขาพบรังสีประหลาดชนิดหนึง่ ถูกสงออกมาจากหลอดรังสีแคโธด ในวันที่ 8 พย. คศ.1895 ตอมาเขาจึง ไดประกาศการคนพบรังสีประหลาด และเรียกชื่อวา รังสีเอกซ

10

ตอมาไดคนพบวา รังสีเอกซ มีอํานาจทะลุ ทะลวงสูง ไดทดลอง นํามาใชในถายภาพอวัยวะ โดยทดลองถายภาพมือ ของภรรยา Roentgen 11

เครื่องเอกซเรยทวั่ ไป General Radiography หรือ General X-ray

เปนเครื่องที่ใชในการถายภาพอวัยวะ ตามสวนตางๆ ของรางกาย เชน ทรวงอก ปอด ชองทอง กระดูก เปนตน เปนเครื่อง เอกซเรยที่ใชกันอยางแพรหลายทัว่ ไป 12

หลักการ คือ การฉายรังสีผานรางกายผูป วย และมากระทบกับแผนฟลมที่อยูในตลับใส ฟลม (Cassettes) ทําใหเกิดภาพแผงและเมื่อ นําฟลมที่ผานการถายภาพแลวมาผาน ขบวนการลางฟลม จะไดภาพไปใชสําหรับ วินิจฉัยและรักษาโรค

13

Dental X-ray Unit เปนเครื่องเอกซเรยที่ใชในการถายภาพ อวัยวะที่อยูในสวนของชองปาก และฟน

14

เครื่องเอกซเรยฟนชนิดพิเศษที่สามารถ ถายภาพของภาพ กระดูกขากรรไกร ทั้งหมดแสดงอยูบนแผนฟลมเดียวกัน สําหรับใชประกอบการรักษาหรือจัดฟน เรียกวา Panoramic

15

Mobile Unit (Portable X-ray) เปนเครื่องเอกซเรย ที่ตดิ อยูบนลอเลื่อน เคลื่อนที่ได ใชถาย ภาพเอกซเรยอวัยวะ สวนตางๆของรางกายผูปว ย ที่พักตามหอผูปว ย หองผาตัด 16

17

Mammography Unit เปนเครือ่ งเอกซเรยที่ใชพลังงานต่ํา ที่ใชในการถายภาพเตานม เพื่อตรวจหาสิ่งผิดปกติของเตานม

18

Fluoroscopy เปนเครื่องเอกซเรยชนิดพิเศษที่ใชในการ ตรวจการทํางาน การเคลื่อนไหวของอวัยวะ ที่อยูภายในรางกายที่ เชน กระเพาะอาหาร ลําไส มดลูก รังไข หัวใจ หลอดเลือด เปนตน 19

หลักการ คือ การฉายรังสีผานอวัยวะที่ตอ งการตรวจไป กระทบตัวรับรังสีทอี่ ยูต รงขามหลอดเอกซเรย เรียกวา Image Intensifier tube ซึ่งภายในประกอบไปดวยแผน เรืองแสงพวก Phosphor เชน สารแคลเซี่ยมทังสเตท ซิงคแคดเมี่ยมซัลไฟต ขั้วไฟฟา เลนส อุปกรณแปลง รังสีเอกซใหเปนแสงสวางและไฟฟา ทําใหเกิดภาพที่สามารถแสดงผานจอโทรทัศน

20

เครือ่ งตรวจชนิดนี้มีใชงานหลายแบบแตก การกันตามประสิทธิภาพและลักษณะการใช งาน จึงทําใหมีชื่อเรียกแตกตางกันออกไป เชน Fluoroscopy C- arm or U- arm Digital Fluoroscopy (DF) Digital Subtraction Imaging (DSI) Digital Subtraction Angiography (DSA) 21

ขอดี 1.สามารถมองเห็นภาพการตรวจของ อวัยวะที่สนใจไดทนั ทีผานจอโทรทัศน 2.สามารถบันทึกขอมูลภาพไดหลายวิธี

22

ขอเสีย 1.ผูทําการตรวจหรือผูชวยเหลือตองใส เสื้อตะกั่วปองกันรังสี ขณะทําการตรวจ 2.ปริมาณรังสีและระยะเวลา ที่ใชในการ ตรวจสูงและนาน

23

Computed Tomography ที่นิยมเรียกกันวา CT Scan เปนการนําหลักการ ของ Tomography มาใชรวมกับระบบ คอมพิวเตอร

24

หลักการ คือ การฉายรังสีผานอวัยวะที่ตองการ ตรวจและมากระทบหัววัดรังสีที่ เรียกวา Detector ที่ อยูตรงกันขามกับหลอดเอกซเรย เพื่อแปลงปริมาณรังสีที่ผานมาเปนสัญญาณไฟฟา จากนั้นจะมีการแปลงสัญญาณไฟฟา เปนสัญญาณ คอมพิวเตอรดวย Analog Digital Converter (ADC) เขาระบบคอมพิวเตอร เพื่อคํานวณและสรางเปน ภาพตัดขวางของอวัยวะออกมา 25

Computed Tomography

26

Digital Radiography เปนการถายภาพดวยเครือ่ งเอกซเรยรวมกับ ระบบการบันทึกขอมูลภาพดวยคอมพิวเตอร โดยการใช Solid stage เปนตัวรับขอมูลและสง เขาระบบคอมพิวเตอรเพื่อสรางภาพสําหรับการ วินิจฉัยคลายภาพเอกซเรยทั่วไป แตเปนภาพ แสดงในลักษณะดิจิตอล 27

Computer Radiography เปนการใชเครื่องเอกซเรยรวมกับ Cassette ทีม่ ีผลึกเรืองแสงอยู เมือ่ นําไป ผานเครื่องอานความรอน จะนําพลังงาน ที่สะสมไดไปแปลผลเปนสัญญาณ และ แสดงภาพสําหรับการวินิจฉัย 28

Computed radiography

29

30

ขอดี 1.สามารถสงขอมูลเขาระบบ คอมพิวเตอรงายและสงไปที่ตางๆงาย 2.สามารถแกไขภาพทีไ่ มไดคุณภาพ ใหเปลี่ยนเปนมีคุณภาพไดงาย 3.ประหยัดฟลม 31

ขอเสีย 1.ตนทุนวัสดุทใี่ ชมีราคาสูง 2.ตองใชอุปกรณดวยความ ระมัดระวังสูง 32

Related Documents

Xray Machine
November 2019 23
Xray
November 2019 34
Xray
November 2019 34
Xray
July 2020 24
Xray History
November 2019 25
Xray Images
May 2020 17