Vetiver-networknews-byptt

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Vetiver-networknews-byptt as PDF for free.

More details

  • Words: 1,152
  • Pages: 4
ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 เดือนกรกฎาคม - กันยายน พ.ศ. 2552

สูตร (ไม่) ลับจาก “นิมิตร”

แรก ทำให้นิมิตรรู้จักกับหญ้าแฝก กำแพงที่มีชีวิต ที่ช่วยชะล้างพังทลายในพื้นที่ลาดเทและเป็นลอน คลื่นของน้ำโสม แถมยังช่วยปรับปรุงบำรุงดินให้ดี “ความไม่มีหนี้เป็นลาภอันประเสริฐ” ใครๆ ก็คงพยักหน้าหงึกๆ กับประโยคคลาสลิกนี้ ต่างคนก็ต่างวิธีการว่ากันไป ขึ้น พร้อมๆ กับความรู้อีกมากมายที่สามารถนำ มาประยุกต์ ใช้ และพอที่จะใช้สร้างรายได้ ให้กับ แต่มีอยู่คนหนึ่งที่ปลดหนี้ด้วยการเกษตรที่หลายคนยกนิ้วให้ ครอบครัวจนถึงปัจจุบัน พี่เขาตกเดือนละกว่า 20,000 บาท แต่รายจ่าย เมื่อมีรากฐานการเกษตรและตัวช่วยที่ดี มีวิถี แทบจะไม่ถึงพัน เกษตรแบบพอเพี ย งเป็ น คำตอบ การบริ ห าร เขาทำอย่ า งไร? ในเมื่ อ พื้ น ที่ ท ำกิ น ก็ มี แ ค่ จัดสรรทรัพยากรได้อย่างเต็มพื้นที่คือวิธีการอัน 7 ไร่ ความคิดจะเช่าที่เพิ่มไม่มีอีกแล้ว เพราะ ชาญฉลาดที่ต้องเรียนรู้และพัฒนาให้ดีขึ้น เข็ดเขี้ยวกับการทำเกษตรแบบเก่าๆ ที่เชื่อว่า...

นิมิตรเริ่มต้นวางแผนสร้างรายได้ทุกวันซึ่งมา ทำหนักได้เงินมาก แต่สำหรับพีน่ มิ ติ ร ยิง่ มุงานหนัก จากข้ า วโพด โดยมี ภ รรยาเป็ น “แม่ ค้ า ” ส่ ว น ยิ่งแบกหนี้เพิ่ม นิมิตรเป็นคนผลิตสินค้า พบว่าการปลูกข้าวโพด

“เป็ น หนี้ มี อ ยู่ 2 อย่ า ง หนึ่ ง -จั ด ระบบ 1 ไร่ เพียงพอต่อการขาย 10 วัน ดังนั้นจึงปลูก ไม่เหมาะสม ไม่มีการคำนวณ ไม่มีการจัดรูปแบบ ข้ า วโพดแบบหมุ น รอบ 10 วั น ก็ ป ลู กรุ่ น ใหม่

นี่คือสิ่งที่เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นอยู่ สอง-ลงทุน วนไปในพืน้ ที่ 7 ไร่ หนึง่ ปีจะปลูกได้ 3 ครัง้ สลับกัน เพื่ อ ขยายผลผลิ ต อย่ า งปลู ก มั น สำปะหลั ง แล้ ว การปรั บ ปรุ ง บำรุ ง ดิ น ก็ จ ะมี ร ายได้ ร ายวั น ทุ กวั น ก็ขยาย ได้ยินว่าใครมีที่ ให้เช่าก็ ไปเช่าเขาหมด และยังมีรายได้รายเดือน รายปีจากพืชผลต่างๆ ดูแลก็ไม่ทวั่ ถึง ต้องจ้างแรงงานซึง่ แพงและหายาก เช่น ลำไย และไม้ผลอื่นๆ “เราต้องกินต้องใช้

พอทำไม่ทัน หญ้าก็ขึ้นรก ผลผลิตก็ไม่คุ้ม อย่าง ทุกวัน ถ้าเราเอาออกจากบ้านเรา เราต้องหาวิธกี าร ตัวผมเองนะ พอเห็นผลผลิตไม่งาม ก็อัดสารเคมี เอาเข้ามาใหม่และให้ได้มากกว่า ไม่งั้นก็หนี้ครับ” เคยใส่ไร่ละกระสอบ ก็ใส่ไร่ละ 2 กระสอบ ผลสุดท้าย นำเสนอตัวอย่างง่ายๆ ของเกษตรกรนักคิด มันก็ดื้อ หน้าดินตายด้าน ไม่สนองต่อปุ๋ยแล้ว” นักทดลองได้เท่านี้ เสียดายจริงๆ ที่หน้ากระดาษมี นี่เป็นเพียงเหตุการณ์หนึ่งที่ทำให้นิมิตรย้อน จำกัด ไม่เหมือนกับความรู้ที่ได้เห็นได้สัมผัสจาก

เขาชื่อ นิมิตร ทักโลวา เกษตรกรหนุ่มแห่ง ถามตัวเองอย่างจริงจัง ก่อนจะตอบตัวเองอย่าง พี่นิมิตรที่ดูเหมือนไม่จบสิ้น อำเภอน้ำโสม จังหวัดอุดรธานี เจ้าตัวบอกอย่าง จริงใจว่า...ไม่ใช่ และจำเป็นต้องหาต้นแบบ เริม่ ต้น

แต่ความรู้นั้นเป็นแค่วัตถุดิบ เด็ดเดี่ยวว่าจะไม่มีทางเป็นหนี้อีกแล้ว เมื่อดูจาก จากรากฐานการเกษตร ได้ แ ก่ การพั ฒ นาดิ น พ่อครัวที่ดีต้องรู้ว่าเอามาทำอะไรจึงจะอร่อย รายได้ตอนนีก้ ค็ งจะจริง เพราะเฉลี่ยแล้วรายได้ของ “ถ้าดินไม่ดีทำอะไรไปเราก็ขาดทุน” นี่คือความคิด และอิ่มพอดี

เล่าแจ้ง...แถลงไข

ปีนี้ฝนมาเร็ว...หลายคนว่าอย่างนั้น ถึงฝนจะตก ฟ้าจะร้อง...น้องก็รอไม่ไหวค่า ถึงเวลาคณะกรรมการภาคทุกภาคต้องลงพื้นที่เพื่อ ตรวจเยี่ยมผลงานทั้งจากการรับสมัครและสรรหา เป็นผลงานจาก “การประกวดการพัฒนาและรณรงค์ การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปี 2552” เราก็สตาร์ทเครื่องกันตั้งแต่ต้นเดือนกรกฎาคม ภาคเหนือ-ตอนบน “งานเข้า” ก่อนใครเพื่อน ช่วงที่ลงฝน ครั้ ง หนึ่ ง คนหนุ่ ม พลาดท่ า ลื่ น ไถลลงเขา อาจารย์

เทจั๊กๆ พื้นที่หลายแห่งเป็นเขาสูงลาดชัน 500-1,000 เมตร อำพรรณก็ยุดยื้อไว้ ขึ้น ถนนหนทางที่เป็นลูกรังซับน้ำฝนจนดินนุ่ม รถไต่ขึ้น “อาจารย์ปล่อยพ้ม...ปล่อยผม!” นายไก่ร้องบอกให้ เลียบหุบเหวทีไรได้บริหารหัวใจกันทั่ว โดยเฉพาะอีตอนที่ท้าย อาจารย์ปล่อยมือ กลัวจะดึงผู้อาวุโสไหลลงเขาไปด้วย รถแปร๊ดดดด...ไม่อยู่กับร่องแต่ไพล่ไถลไปเหลื่อมขอบเหว “ชั้ น ไม่ ไ ด้ จั บ ...เธอนั่ น แหละปล่ อ ยไม้ เ ท้ า ของชั้ น !” ดร.อำพรรณ พรมศิริ จากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย อาจารย์อำพรรณ ร้องตอบกลับ เชียงใหม่ กรรมการภาคเหนือ-ตอนบน ต้องใช้ไม้กะเท้าช่วย ได้เลอะเทอะ ได้หัวเราะ ได้เปียกมะล่อกมะแล่ก พยุงตอนไต่ขึ้นลงเขา ข้างๆ ท่านเป็นนายไก่-สนธยา สัตบุตร แล้วก็ได้ชื่นใจ เมื่อได้เห็นแฝกยึดผืนดิน ทีมงานส่งเสริมจาก ปตท. ช่วยประคับประคอง

งานวิจัย...แฝก

บำบัดน้ำเสียด้วย

“แพแฝก”

ตั้งแต่หญ้าแฝก “บูม” ขึ้นมาในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมานี้ เรามีโอกาสเห็น

การใช้ประโยชน์จากแฝกในรูปแบบที่หลากหลาย ไม่ขีดวงแค่การปลูกเพื่อ ป้องกันหน้าดินพังทลายอย่างเดียว รูปแบบใหม่ๆ นี้ส่วนใหญ่มาจากการทดลอง ของเกษตรกร จะเรียกว่าเป็นงานวิจัยไทบ้านก็ยังไหว แล้วก็ต่อยอดเป็นงานวิจัย ของนักวิชาการเพื่อค้นหาชุดความรู้แบบเป็ นกิจจะลักษณะ

โดย แจ๋วแหวว

อย่างเรือ่ งการทำ “แพแฝก” นีก่ เ็ หมือนกัน เกษตรกรหลายท่านที่ทดลองเอาแฝกมา ปลูกบนโฟมที่เจาะรู ทำหย่อนเป็นแพลงไป ในบ่อน้ำ “เชื่อว่า” แพแฝกนี้จะช่วยบำบัดน้ำ เสียร่วมกับพืชอื่นๆ เช่น อ้อ กก ผักตบชวา แล้วก็เห็นๆ กันอยู่ว่าน้ำมีกลิ่นเหม็นน้อยลง แถมยังใสขึ้นอีกต่างหาก แต่ในทางวิชาการ เรายังไม่รู้ว่า “ราก แฝก” มี ส่ ว นช่ ว ยจริ ง ๆ แค่ ไ หน และช่ วย อย่างไร

นี่ ก็ เ ป็ น ที่ ม าของงานวิ จั ย ของคณะ วิ ท ยาศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ที่ทำการวิจัยเรื่อง “ประสิทธิภาพของหญ้า แฝกที่ ป ลู ก ด้ ว ยเทคนิ ค แท่ น ลอยน้ ำ ในการ บำบั ด น้ ำ เสี ย ชุ ม ชน” โดยทดสอบจากการ

คั ด เลื อ กกลุ่ ม พั น ธุ์ ห ญ้ า แฝกที่ เ หมาะสมใช้

ในระบบจำลอง เป็นกลุ่มพันธุ์สงขลา 3 และ กลุ่มพันธุ์สุราษฎร์ธานี จากการทดสอบพบว่ า รากแฝกมี ประสิทธิภาพในการบำบัดบีโอดี (ค่าน้ำเสีย)

ฟอสฟอรัสทั้งหมด และออร์ โธฟอสเฟตสูง ที่สุด แถมยังมีการเจริญเติบโตและสะสมธาตุ อาหาร (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสทั้งหมด) สูง ผลการวิจัยยังพบว่า ประสิทธิภาพการ บำบัดน้ำเสียของหญ้าแฝกทั้ง 2 กลุ่มพันธุ์ ขึ้นกับระยะเวลากักเก็บและความเข้มข้นของ น้ำเสีย โดยพบว่าระยะเวลากักเก็บ 7 วันจะมี ประสิทธิภาพในการบำบัดสูงสุด หญ้าแฝก ทั้ง 2 กลุ่มพันธุ์มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน แต่กลุ่มพันธุ์สุราษฎร์ธานี มีการเจริญเติบโต

ปลูกแฝกในที่ร่ม

รู้ๆ กันอยู่ในหมู่คนปลูกแฝก ว่าหญ้าแฝกจะขึ้นได้ก็ต้องเป็นที่มีแดด

พอมีร่มเงาเมื่อไหร่ แฝกก็ไม่ค่อยงาม หรือไม่ก็ตายไปแล้ว คนที่อยากจะ

ปลูกแฝกรอบโคนต้นไม้เพื่อหวังปรับปรุงบำรุงดินก็เลยต้องดูแลมากหน่อย เพราะเมื่อทรงพุ่มไม้ขยายออก ก็ต้องขยายกอแฝกตามไปด้วย

โดย แฝกสยาม งานวิจยั แฝกในร่ม จึงเป็นประเด็นท้าทาย ใหม่ มีการนำสายพันธุห์ ญ้าแฝกหลายสายพันธุ์ มาทดลอง ส่วนใหญ่จะเป็นหญ้าแฝกดอนที ่ พอจะอยู่ในร่มได้ อาทิ พันธุ์ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี ห้วยขาแข้ง เพราะแหล่งกำเนิดของ หญ้ า แฝกดอนจะขึ้ น ใต้ ต้ น ไม้ ใ นป่ า ซึ่ ง เป็ น

ทีด่ อน ล่าสุด จากการสอบถามพีๆ่ ในสถานี พัฒนาที่ดินต่างๆ ก็ได้ความว่าเวลานี้ กรม พั ฒ นาที่ ดิ น ได้ น ำหญ้ า แฝกลุ่ ม ที่ มี แ นวโน้ ม

ทนร่ม มาปรับสภาพให้ทนร่มได้กว่าเดิมทั้ง พันธุ์ใหม่หว้ ยหวาย ตรัง และกำแพงเพชร 2

ของรากดี ก ว่ า ส่ ว นหญ้ า แฝกกลุ่ ม พั น ธุ์

สงขลา 3 มีการเพิ่มพูนมวลชีวภาพสูงกว่า เมื่อได้รับน้ำเสียความเข้มข้นสูง คราวนี้ ในชุมชนตามเมืองใหญ่ๆ ที่มี ปัญหาน้ำเน่าน้ำเสีย ก็ลงปลูกแฝกกันได้แล้ว ไม่ต้องมัวเดินบีบจมูกอยู่นั่นแล้ว แล้ ว ก้ อ นะ...ทำเสร็ จ ก็ ส่ ง ผลงานเข้ า ประกวดฯ ปีหน้าได้อีกต่างหากนะจ๊ะ! ข้อมูลงานวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ผศ.ดร.กนกพร บุญส่ง และคณะ

ส่วนเทคนิคการเตรียมกล้าเพื่อที่จะให้ หญ้าแฝกทนร่ม ก็คือการนำพันธุ์ที่เลือกไป ปลูกทำแปลงแม่พันธุ์ ในที่ร่มเสียก่อน เพื่อ เป็นการปรับสภาพให้สามารถทนร่ม เวลาเอา ไปขยายพันธุ์ ก็ใช้วิธีเพาะชำในเรือนเพาะชำ ที่มีตาข่ายพรางแสงขนาด 70 เปอร์เซ็นต์ หรือแสงรำไร จะช่วยให้กล้าแฝกสามารถทน ร่มได้ยิ่งขึ้น จากนั้นค่อยนำไปปลูกในพื้นที่ จริง หญ้าแฝกที่เติบโตก็จะอยู่ในที่ร่มหรือแสง รำไรได้ แต่หญ้าแฝกที่อยู่ในที่ร่มก็งามสู้แฝก ที่อยู่กลางแจ้งไม่ได้ แถมท้ายอีกนิด...การปลูกแฝกเพื่อบำรุง ดิ น ในแปลงไม้ ยื น ต้ น ควรปลูกหลังจากไม้ ยืนต้นมีอายุ 5-7 ปี เพราะเป็นช่วงที่ต้นไม้มี การเจริญเติบโตช้า เมื่อเรือนยอดปกคลุม ก็ ค่อยขุดแยกแฝกออกไปขยายพันธุ์ ส่วนราก ที่เหลือใต้ดินก็ทำหน้าที่เป็นหลอดบรรจุน้ำ อากาศ ปุ๋ย ให้ ไหลลงไปในดินได้ลึกและมี ปริมาณมาก ถึ ง แฝกจะไม่ ง ามนั ก แต่ ป ระโยชน์ ก็ เพียบเท่ากัน

ขุนลูกอ๊อดให้ตัวโต

กบนาเป็นอาหารโปรตีนที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง ไขมันต่ำ คนไทยชอบ ต่างประเทศก็สนใจ และกลายเป็นงานประมงที่มาแรงของเกษตรกร ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงแทบทุกแห่งมักจะมีบ่อเลี้ยงกบนาติดบ้าน ฉบับนี้มีเคล็ดลับการเพิ่มน้ำหนักลูกอ๊อด กบนาด้วยใช้สมุนไพรมาฝาก ข้อมูลนีเ้ ป็นงาน วิ จั ย ของศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาเขาหิ น ซ้ อ น

อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา ซึ่งตีพิมพ์เมื่อปี 2549 ซึ่งเป็น ช่วงเริ่มงานวิจัย มาถึงตอนนี้ก็น่าจะทดลอง จนเข้าที่เข้าทางแล้ว ปกติ อ าหารสำหรั บ ลู ก อ๊ อ ดกบนาก็

จะเป็ น พวกไข่ ตุ๋ น ไข่ แ ดงต้ ม ปลาต้ ม รำ ละเอียด ปลาบด ลูกไร ไปจนถึงอาหารเม็ด สำเร็ จ รู ป ใบผั ก กาด ผั ก บุ้ ง นึ่ ง ทั้ ง หลาย

ทั้งปวงนี้ถ้าให้อาหารดีๆ ปริมาณเหมาะสม ลูกอ๊อดก็จะโตไว อัตรารอดตายสูง แต่ทผี่ า่ นมา เกษตรกรก็ยังมีอัตราเสี่ยงอยู่ เปิดบ่อตอนเช้า ทีไร เจอลูกกบนอนหงายเก๋งซี๊แหงทุกที งานวิจัยที่ว่านี้เขานำสมุนไพร 2 ตัวคือ ฟ้ า ทะลายโจรกั บ ขมิ้ น ชั น มาบดผสมกั บ

อาหารเม็ ด สำเร็ จ รู ป ตอนทดลองเขาใช้ อั ต ราส่ ว นหลายอย่ า ง แต่ จ ากผลสรุ ป ก็ ประมาณว่า ควรจะบดฟ้าทะลายโจรในอัตรา 0.5% และขมิ้นชัน 3% ต่ออาหารเม็ด 100% ผลการทดลองปรากฎว่าลูกอ๊อดตัวโต หางหด เร็วกว่า อัตรารอดตายดีกว่า ไม่พบหนอน พยาธิภายในระบบทางเดินอาหารและระบบ ภายใน ขมิ้ น ชั น มี ส ารประกอบเคอคู มิ น อยด์

และน้ำมันหอมระเหย มีสรรพคุณช่วยกระตุน้ การกิน ช่วยย่อยอาหาร เร่งการเจริญเติบโต ส่วนฟ้าทะลายโจรเป็นตัวช่วยเสริมภูมิคุ้มกัน โรคได้ดี วิธีการแสนง่ายและสมุนไพรสองอย่างนี้ มีติดท้ายบ้านของเกษตกรเกือบทุกคน

งานนี้ ไม่ลอง...ไม่รู้!

หัวข้องานวิจยั “การเสริมฟ้าทะลายโจรและขมิน้ ชันในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตลูกอ๊อดกบนา”

ที ม วิ จั ย : วรมิ ต ร ศิ ล ปชั ย , เพลิ น พิ ศ ธารี เ ธี ย ร, สุ ร เชษฐ์ จั น ทร์ ป ระเสริ ฐ -งานประมง

ศูนย์ศึกษาการพั ฒ นาเขาหิ น ซ้ อ นอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำริ และทั ศ นี ย์ คชสี ห์-คณะวิชา

สัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา

ฝากข่าว...ฝากความคิดถึง การจัดเวที เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชาว “เครือข่าย คนรั ก ษ์ แ ฝก” ทั้ ง 4 ครั้ ง ใน 4 ภาคทั่ ว ประเทศ เริ่ ม ต้ น ตั้ ง แต่ ป ลายเมษายนพฤษภาคม 2552 ได้การตอบรับจากพ่อแม่ พี่น้องชาวเครือข่ายอย่างดี ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ เราได้ร่วมกัน ค้ น หาปั ญ หาอุ ป สรรคการขยายผลเรื่ อ ง

การใช้ ห ญ้ า แฝก แนวทางแก้ ไ ข และ กระบวนการทำงานของเครือข่ายในการที่จะ ขยายผลให้มีการใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก เพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ ดิ น อนุ รั ก ษ์ น้ ำ สรุ ป ว่ า มี ประเด็นที่สอดคล้องกันในประเด็นใหญ่ๆ คือ ขอให้มีพื้นที่ตัวอย่างในแต่ละภาค เพื่อเป็น ศูนย์กลางงานขยายผลการใช้ประโยชน์จาก แต่ ล ะภู มิ ภ าค) จั ด ทำสื่ อ ด้ า นจดหมายข่ า ว หญ้าแฝกแบบครบวงจร และขอให้มวี ทิ ยากร แสดงการดำเนิ น กิ จ กรรมของเครื อ ข่ า ย

กับผูป้ ระสานงานทีเ่ ป็นสมาชิกเครือข่าย แต่ละภาค และจัดทำหัวเรื่องถามตอบ หรือ ส่วนการทำงานระหว่างเครือข่ายระดับ “คลินกิ แฝก” ภูมิภาค มีข้อปลีกย่อยที่นำเสนอเพิ่มเติม กิจกรรมรวมพลครั้งนี้ มีสมาชิกเครือข่าย คือ ให้จดั ทำ ทำเนียบเครือข่ายภูมภิ าค และ แสดงตัวเป็นศูนย์กลางมากมายจนน่าปลื้มใจ มีตัวแทนในแต่ละจังหวัดเป็นพื้นที่ตัวอย่าง สุดท้ายก็ใช้วิธีโหวตกันแบบประชาธิปไตย โดย การใช้ประโยชน์หญ้าแฝก และขยายผลเพิ่ม มีผู้ที่ได้รับการไว้วางใจ ดังนี้ สมาชิกเครือข่ายในพื้นที่เพิ่มเติม 1. ภาคเหนือ ได้แก่ เครือข่ายหมอดิน ด้านการทำงานระหว่างเครือข่ายระดับ ทองดี อินต๊ะ จ.ลำพูน ประเทศ มีข้อสรุปว่า ให้มีการแลกเปลี่ยน

2. ภาคอีสาน ได้แก่ เครือข่ายหมอดิน ดูงานระหว่างภูมิภาค (แต่ละภูมิภาคมีพื้นที่ ธวัช คร้ามฤทธิ์ จ.ปราจีนบุรี ที่แตกต่างกัน) มีการจัดเวทีเสวนาเครือข่าย 3. ภาคใต้ ได้แก่ เครือข่ายหมอดินธรรมรัตน์ (เปิดมุมมอง นำเสนอผลงานของเครือข่าย พากเพียร จ.ระนอง

4. ภาคกลาง-ตะวันตก ได้แก่ สภาผู้นำ ชุมชนตำบลห้วยเขย่ง จ.กาญจนบุรี บอกข่าว...เล่าเรื่อง ถึงสมาชิกเครือข่าย “คนรักษ์แฝก” ทุกท่านว่าจะมีเวทีเสวนาอีกครัง้ ว่าด้วยเรื่องแผนการทำงาน ตอนนี้ขอดูความ เหมาะสมของช่วงเวลาที่พี่น้องเครือข่ายว่าง จากนาเสียก่อน...อย่าเพิ่งใจร้อนนะครับพี่น้อง ข่าวฝากความคิดถึง “ความคิดถึงกำลัง เดินทาง” เป็นความหมายดีๆ ทีเ่ ราชาวทีมงาน หญ้าแฝก ปตท. ส่งไปถึงเครือข่ายคนรักษ์แฝก แฝงไปถึงคำคมที่เราจะห่วงใยกัน และสร้าง เส้นใยที่เป็นปึกแผ่นในการขยายผลและทำงาน อย่างเป็นเครือข่าย

คณะที่ปรึกษา : ดร.ส่งเกียรติ ทานสัมฤทธิ์, สรัญ รังคสิริ, ประเสริฐ สลิลอำไพ, ศรีสุรางศ์ มาศศิริกุล บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : อังสนา ธนังกูล บรรณาธิการ : พรวิไล คารร์ กองบรรณาธิการ : วินัย สิทธินุกูลชัย, จิตระพี บัวผัน, ธีรยุทธ สายทอง, กุลธิดา พิริยะพันธุ์, ชมขวัญ บุตรเวียงพันธ์,

ชืน่ จิตร แย้มชุม่ , ณัชพล ศรีโหร, สนธยา สัตบุตร, ยุรเนตร วิสตุ รธนาวิทย์, สุรพัฒน์ สายเพชร ขอบคุณ : พีๆ่ น้องๆ ลุง ป้า แม่ใหญ่ พ่อใหญ่ ทัง้ หลาย

ผูม้ จี ติ อาสาช่วยงาน ออกแบบและจัดพิมพ์ : หกจ. กร ครีเอชั่น จัดทำโดย : ฝ่ายเลขานุการ การประกวดการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝก

อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ฝ่ายกิจการเพื่อสังคม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 555 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

โทร. 02 537 2146, 02 537 1627 โทรสาร 02 537 3184