Unit 01

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Unit 01 as PDF for free.

More details

  • Words: 880
  • Pages: 17
บทที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการบัญชี

1

วิวัฒนาการทางการบัญชี P.1 • ยุคแรก (ระยะที่1) กอนศริสตกาล – ตนศตวรรษที่ 17 • ยุคสอง (ระยะที่2) ศตวรรษที่ 17 – ตนศตวรรษที่ 20 • ยุคสาม (ระยะที่3) ศตวรรษที่ 20 – ปจจุบัน

2

1

วิวัฒนาการทางการบัญชี P.1 ยุคแรก (ระยะที่1) กอนศริสตกาล – ตนศตวรรษที่ 17 • การบัญชีกําเนิดกวา 4,000 ป ในยุคเมโสโปเตเมีย – จัดทําบัญชีคาแรง บัญชีสินคา คาภาษีอากร • เกิดหลักการบัญชีคู – ป ค.ศ.1494 “ลูกา ปาซิโอลิ” (Luga Pacioli) ถือเปน “บิดาแหงหลักการบัญชีค”ู

3

วิวัฒนาการทางการบัญชี P.2 ยุคสอง (ระยะที่2) ศตวรรษที่ 17 – ตนศตวรรษที่ 20 • เกิดการปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม ในประเทศอังกฤษ - “การใชเครื่องจักรกล” • เกิดบัญชีตนทุน - คิดตนทุนสินคา วิเคราะหตนทุน • มีการลงทุนกันมากขึ้น - เกิดแนวคิด “กิจการแยกตางหากจากเจาของ” – เพื่อทราบใครลงทุนเทาไหร ทราบสิทธิสวนไดเสีย มีการจัดทํารายงาน ทางการเงิน - เกิดการพัฒนาเปนรูปแบบบริษัท • เกิดการตรวจสอบบัญชี - เจาของตองการหลักประกันความถูกตอง

4

2

วิวัฒนาการทางการบัญชี P.2 ยุคสาม (ระยะที่3) ศตวรรษที่ 20 – ปจจุบัน • เกิดการปฏิวัติเทคโนโลยีสมัยใหม – “คอมพิวเตอรและการสื่อสาร” เขามามี บทบาทมากขึน้ ทําใหขอมูลธุรกิจดานตางๆ มีความถูกตองและรวดเร็ว มากขึ้น • เกิดประโยชนตอการนําขอมูลทางบัญชีไปใช “การวางแผนและตัดสินใจ”

5

สถาบันและองคกรวิชาชีพ P.3 1. สภาวิชาชีพบัญชี (Federation of Accounting Professions) http://www.fap.or.th

6

3

สถาบันและองคกรวิชาชีพ P.3 1. สภาวิชาชีพบัญชี (Federation of Accounting Professions) http://www.fap.or.th

มีหนาที่ 1. ใหความรู / สงเสริมการศึกษาดานบัญชี 2. กําหนดมาตรฐานการบัญชี / มาตรฐานการสอบ 3. ควบคุมผูประกอบวิชาชีพบัญชี (รับขึ้นทะเบียน / ออกใบอนุญาต / เพิกถอน) 4. รับรองปริญญาดานบัญชี ของสถาบันการศึกษา 5. ดูแลดานตางๆที่เกี่ยวของกับวิชาชีพบัญชีของประเทศไทย 7

สถาบันและองคกรวิชาชีพ P.4 2. กรมพัฒนาธุรกิจการคา (Department of Business Development) www.thairegistration.com

มีหนาที่ – ดูแลใหเปนไปตาม พ.ร.บ.บัญชี 2543 / นําสงงบการเงิน 8

4

สถาบันและองคกรวิชาชีพ P.4 3. ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (The Stock Exchange of Thailand) www.set.or.th

มีหนาที่ –ออกกฎเกณฑ / กํากับดูแลบริษัทมหาชนจํากัด 9

สถาบันและองคกรวิชาชีพ P.4 4. ธนาคารแหงประเทศไทย (Bank of Thailand) www.bot.or.th

มีหนาที่ – ดูแล / ควบคุมธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงิน 10

5

สถาบันและองคกรวิชาชีพ P.4 5. กรมตรวจบัญชีสหกรณ (Cooperative Auditing Department) www.cad.go.th

มีหนาที่ – ดูแล / ควบคุมการจัดทํางบการเงินสหกรณ 11

สถาบันและองคกรวิชาชีพ P.4 6. กรมสรรพากร (Cooperative Auditing Department) www.rd.go.th

มีหนาที่ – ดูแล / ควบคุมการจัดเก็บภาษี 12

6

พระราชบัญญัติการบัญชี P.4 1. พระราชบัญญัติการบัญชี 2543 (P.4) 2. พระราชบัญญัติการบัญชี 2547 (P.7)

13

พระราชบัญญัติการบัญชี 2543 P.4 1.กําหนดผูทําบัญชี ? – “นิติบุคคล” – เมื่อไหร ? 1. หางหุนสวนจํากัดจดทะเบียน – เริ่มวันจดทะเบียน 2. บริษัทจํากัด – เริ่มวันจดทะเบียน 3. บริษัทมหาชนจํากัด – เริ่มวันจดทะเบียน 4. นิติบุคคลที่ตั้งตามกฎหมายตางๆประเทศที่ประกอบการในไทย – เริ่มวันเขามาประกอบการในไทย 5. กิจการรวมคา ตามประมวลรัษฏากร – เริ่มวันจดทะเบียน P.5/L.1 บุคคลธรรมดา / หางหุนสวนที่ไมไดจดทะเบียน ไมตอ งจัดทําบัญชี 14

7

พระราชบัญญัติการบัญชี 2543 P.5 2. กําหนดความรับผิดชอบของผูมีหนาที่ทําบัญชี 2.1 ตองมีการจัดทําบัญชี 2.2 ตองสงมอบเอกสาร 2.3 ตองมีการปดบัญชี 2.4 ตองมีการจัดทํางบการเงิน และไดรับความเห็นชอบจากผูสอบบัญชี 2.5 ตองเก็บรักษาบัญชี และเอกสารประกอบ อยางนอย 5ป 2.6 ตองจัดใหมีผูทําบัญชี 2.7 ตองดูแลความถูกตองในการจัดทําบัญชี 15

พระราชบัญญัติการบัญชี 2547 P.7 • • •

ใชเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2547 ทําใหเกิด “สภาวิชาชีพบัญชี” พรบ.บัญชี47 กําหนดใหนิตบิ ุคคลที่ประกอบกิจการ 1.ดานสอบบัญชี 2. ดานทําบัญชี 3.ดานวิชาชีพบัญชีอื่น ตองอยูใน 3 เงื่อนไข 1.นิติบุคคลตองจดทะเบียนตอสภาวิชาชีพบัญชี 2.นิติบุคคลตองจัดใหมีหลักประกันเพื่อความรับผิดชอบตอบุคคลที่ 3 3.ดานกิจการผูป ระกอบการวิชาชีพสอบบัญชีตองรวมกันรับผิดชอบกับ ผูสอบบัญชีและกิจการ (จากในขอ2.) 16

8

ความหมายการบัญชี P.9 “ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จําแนก และทําสรุปขอมูลอัน เกี่ยวของกับเหตุการณทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานขั้นสุดทายของ การบัญชีคือการใหขอมูลทางการเงิน ซึ่งเปนประโยชนแกบุคคลหลาย ฝาย และผูที่สนใจในกิจกรรมของกิจการ” การทําบัญชี

การใหขอมูลทางการเงิน

การเก็บรวมรวม (collection) การบันทึก (Recording) การจําแนก (Classifying) การสรุปขอมูล (Summarizing)

ผูใชภายในกิจการ ผูใชภายนอกกิจการ 17

ผูทําบัญชี vs นักบัญชี P.10 ผูทําบัญชี รวบรวม บันทึก จําแนก สรุปผล ใหออกมาเปนงบการเงิน Bookkeeper

vs

นักบัญชี Accountant

รวบรวม บันทึก จําแนก สรุปผล ใหออกมาเปนงบการเงิน + วิเคราะห / พยากรณ / วางระบบบัญชี 18

9

ประโยชนของการบัญชี P.11 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ชวยใหเจาของสามารถควบคุมสินทรัพยกิจการได ชวยใหทราบผลการดําเนินงานในรอบระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง ชวยใหทราบฐานะทางการเงิน ณ วันใดวันหนึ่ง เปนขอมูลเพื่อใชในการวางแผนและตัดสินใจ เปนขอมูลตามลําดับกอนหลัง จําแนกประเภทของรายการคา เพื่อใหถูกตองตามกฎหมาย (พรบ.)

19

ผูใชขอมูลทางบัญชี P.12 ผูใชภายใน (Internal User) 1. เจาของกิจการ 2. ผูบริหาร 3. พนักงาน/ลูกจาง

ผูใชภายนอก (External User) 1. เจาหนี้ 2. นักลงทุน 3. ลูกคา , Suppliers

4. คูแขง 5. รัฐบาล 6. บุคคลทั่วไป 20

10

รูปแบบของกิจการ (Form of Organization) P.13 แบงตามลักษณะการดําเนินงาน 1. กิจการใหบริการ – “ธุรกิจใหบริการ (Service Business)” 2. กิจการซื้อมาขายไป – “ธุรกิจพาณิชยกรรม (Merchandising Business)” 3. กิจการผลิตสินคา – “ธุรกิจอุตสาหกรรม (Manufacturing Business)” แบงตามลักษณะการจัดตั้ง 1. กิจการเจาของคนเดียว (Single Proprietorship) 2. กิจการหางหุนสวน (Partnership) 3. กิจการบริษัท (Corporation or Limited Company)

21

กิจการเจาของคนเดียว (Single Proprietorship) P.14 • ธุรกิจขนาดเล็ก • เจาของรับผิดชอบกําไร หรือภาระขาดทุนทั้งหมด • กิจการแยกตางหากจากเจาของ (ทางบัญชี) – แตทางกฎหมายใหถือ เปนหนวยเดียวกัน • บริหารจัดการไดงาย – เจาของสามารถตัดสินใจไดทันที • การเพิ่มทุนทําไดยาก • ในการกูเงิน – เครดิตของกิจการขึ้นอยูกบั ชื่อเสียงของเจาของ • กิจการอยูในฐานะบุคคลธรรมดา และเสียภาษีในอัตราภาษีเงินไดบคุ คล ธรรมดา 22

11

กิจการหางหุน สวน (Partnership) P.14 • “ผูเปนหุนสวน” ตั้งแต 2 คนขึ้นไป • การบริหารงานจะมีลักษณะรวมกันในการตัดสินใจ จึงทําใหเกิดความ รอบคอบมากวากิจการเจาของคนเดียว • การขยายกิจการทําไดงายกวากิจการเจาของคนเดียว • เสียภาษีในฐานบุคคลธรรมดา • หางหุนแบงได 2 ประเภท (ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย) – หางหุนสวนสามัญ – หางหุนสวนจํากัด 23

กิจการหางหุน สวน (Partnership)

P.15

• หางหุนแบงได 2 ประเภท (ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย) – หางหุนสวนสามัญ • ไมจํากัดความรับผิดชอบ • ถาจดทะเบียนเปนนิติบุคคลเรียกวา “หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล” จะเสียภาษีเงินไดนิติ บุคคล

– หางหุนสวนจํากัด • ประเภทจํากัดความรับผิดชอบ - จํากัดหนี้สินเพียงไมเกินมูลคาการลงทุน • ประเภทไมจํากัดความรับผิดชอบ - รับผิดชอบหนี้สินไมจํากัดจํานวน - สามารถเขา บริหารงานได เรียกวา “ผูจัดการหางหุนสวน” • หางหุนสวนจํากัดตองจดทะเบียนเปนนิติบุคคล – เสียภาษีในฐานนิติบุคคล และตองมีหุนสวนไมจํากัดความรับผิดชอบอยางนอยหนึ่งคน 24

12

กิจการบริษทั (Corporation or Limited Company) P.15 • • • • • •

“ผูถือหุน” (Stockholder or Shareholder) ตั้งแต 3 คนขึ้นไป จํานวนทุนแบงออกเปนหุนๆละเทาๆกัน บริษัทตองจดทะเบียนเปนนิติบคุ คล ผูถือหุนทุกคนรวมกันรับผิดชอบในหนี้สินไมเกินมูลคาหุนที่ถืออยู ในการประชุมใหญสามัญผูถือหุน ออกเสียงได 1 หุน 1 เสียง ผูถือหุนไมมีสทิ ธิเขามาบริหารงานของบริษัท แตจะมีคณะกรรมการ บริหารที่จัดตั้งโดยที่ประชุมใหญผูถือหุน (ผูถือหุน : เจาของ ≠ ทีมผูบ ริหาร : ลูกจาง) 25

กิจการบริษทั (Corporation or Limited Company) P.16 • • • •

ผูถือหุนจะไดผลประโยชนรูป “เงินปนผล (Dividends)” หุนสามารถ “ซื้อ/ขาย/โอน” เปลี่ยนมือกันได จะใหคําวา “บริษัท.......จํากัด” (ยกเวนธนาคารพาณิชย จะใชหรือไมก็ได) บริษัทจํากัดมี 2 ประเภท 1. บริษัทเอกชนจํากัด (Private Company Limited) - “บริษัท.......จํากัด”

2. บริษัทมหาชนจํากัด (Public Company Limited) - “บริษัท.......จํากัด (มหาชน)” – ผูเริ่มกอตั้งตั้งแต 15 คนขึ้นไป และจองหุน ตั้งแต 5% แตไมเกิน 10% ของทุนจดทะเบียน – ควบคุมโดยตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย 26

13

แมบทการบัญชี (Accounting Framework) P.16 • งบการเงินตองมีความนาเชื่อถือเปนอยางมาก จึงตองมีแมบทการบัญชี เปนกรอบแนวคิดพื้นฐานในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน (ไมถือเปน มาตรฐานการบัญชี) • ยังใหเปนเกณฑในการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีใหทนั สมัย

27

แมบทการบัญชี (Accounting Framework) P.17 แมบทการบัญชีสําหรับการจัดทําและนําเสนองบการเงิน ลักษณะของงบการเงิน วัตถุประสงค ขอสมมติฐาน

ขอจํากัด

ใหขอมูลที่มีประโยชนตอการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ เกณฑคงคาง

ทันตอเวลา

ความสมดุลระหวางประโยชน ที่ไดรับกับตนทุนที่เสียไป

ความสมดุลของ ลักษณะเชิงคุณภาพ

ถูกตองและยุติธรรมหรือถูกตองตามที่ควร

ลักษณะเชิงคุณภาพ ลักษณะแรก

การดําเนินงานตอเนื่อง

เขาใจได

ลักษณะรอง

เกี่ยวของกับการตัดสินใจ

เชื่อถือได

เปรียบเทียบกันได

นัยสําคัญ ตัวแทนอัน เที่ยงธรรม

เนื้อหาสําคัญ กวารูปแบบ

ความเปนกลาง

ความระมัดระวัง

ความครบถว28 น

14

แมบทการบัญชี (Accounting Framework) P.18

• งบการเงินจัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหขอมูลเกี่ยวกับ ฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน

• แมบทการบัญชี จึงเปนกรอบแนวคิดขั้นพื้นฐานในการจัดทําและ นําเสนองบการเงิน เพื่อใหงบการเงินใหขอมูลมีประโยชนตอการ ตัดสินใจ

29

แมบทการบัญชี (Accounting Framework) P.18

ขอสมมติฐาน 1. เกณฑคงคาง (Accrual Basis) • การบันทึกรายการบัญชี จะตองบันทึกตามงวดเวลา โดยไมคํานึงวา จะไดรับหรือจายเงินหรือไม 2. การดําเนินงานตอเนื่อง (Going Concern) • กิจการจะดําเนินงานตอไปเรื่อย โดยไมมีกาํ หนดเวลาเลิกกิจการหรือ ลดขนาด

30

15

แมบทการบัญชี (Accounting Framework) P.19

งบการเงินที่มีคุณภาพ ใชในการตัดสินใจ และเชื่อถือได จะมีขอจํากัด... 1. ทันตอเวลา •

หากลาชา...จะทําใหการตัดสินใจไมทันการณ

2. ความสมดุลระหวางประโยชนที่ไดรับกับตนทุนที่เสียไป •

การไดรับขอมูลที่มีประโยชนไมควรตองมีตนทุนที่มากเกินไป (หากตองมี ตนทุนที่มากเกินไปเพื่อแลกกับขอมูลนั้น...สามารถใชดุลยพินิจในการประมาณ การณก็ได)

3. ความสมดุลของลักษณะเชิงคุณภาพ •

งบการเงินตองมีความสมดุลของลักษณะเชิงคุณภาพ เพื่อใหงบการเงินบรรลุวัตถุประสงค 31

แมบทการบัญชี (Accounting Framework) P.20

• งบการเงินจะมีประโยชนตอเมื่อมี... “ลักษณะเชิงคุณภาพ” คือ ถูกตองและยุติธรรมตามทีค่ วร – เขาใจได – เกี่ยวของกับการตัดสินใจ – เชื่อถือได – เปรียบเทียบกันได 32

16

แมบทการบัญชี (Accounting Framework) P.20

• เขาใจได - ขอมูลในงบการเงินตองสามารถเขาใจไดทันที • เกี่ยวของกับการตัดสินใจ - ขอมูลในงบการเงินตองมีความเกี่ยวของกัน อยางมีนัยสําคัญ • เชื่อถือได - เปนขอมูลที่ไมมีความผิดพลาด , ไมมีความลําเอียง • เปรียบเทียบกันได – สามารถเปรียบเทียบงบการเงินในรอบระยะเวลา ตางกันได เพือ่ ประโยชนในการพยากรณ / ประเมิน / วิเคราะห 33

แมบทการบัญชี (Accounting Framework) P.21

• นัยสําคัญ – มีผลตอการตัดสินใจ • ตัวแทนอันเที่ยงธรรม – ใบเสร็จรับเงิน • เนื้อหาสําคัญกวารูปแบบ – ควรแสดงงบการเงินตามเนื้อหาทางเศรษฐกิจ ไมใชแสดง ตามรูปแบบตามกฎหมายเพียงอยางเดียว • ความเปนกลาง – ควรแสดงขอมูลที่ไมลําเอียง เปนกลาง ไมชี้นํา เลี่ยงความเห็น • ความระมัดระวัง – หากเกิดความไมแนนอน ใหประมาณการณอยางระมัดระวัง • ความครบถวน – งบการเงินที่เชื่อถือไดตองครบถวน อยางมีนัยสําคัญ 34

17

Related Documents

Unit 01
June 2020 6
Simplified Unit 01
October 2019 4
Unit 01 Solution
November 2019 18
Unit 01 Lesson 10
October 2019 6
Unit.01.pdf
May 2020 3