Sutmoodle Manual

  • Uploaded by: Paisan Wongkraso
  • 0
  • 0
  • December 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Sutmoodle Manual as PDF for free.

More details

  • Words: 3,819
  • Pages: 59
คูม อื การใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2) สําหรับผูสอน

จัดทําโดย…

กิตติพงษ พุมพวง อรรคเดช โสสองชัน้

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ

SEQIP Workshop 2

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

คํานํา ปจจุบันงานดานการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน และการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร ผานเครือขาย (Web-based instruction : WBI) มีบทบาทสําคัญมาก โดยความตองการของโรงเรียน สถาบัน ตองการประหยัดเวลาในการสราง และการพัฒนาบทเรียน (Content Management System ) รวมถึงการ บริหารจัดการบทเรียนผานเครือขาย จึงไดมีการพัฒนาซอฟทแวรระบบจัดการบทเรียนแบบ Open Source (Open Learning Courses Management System ) เชน Moodle, Atutor, Claroline, Learnloop, Splearn, Vclass เปนตน ดวยการใชงานทีง่ า ยสามารถจัดการเว็บไซตบทเรียนไดแบบเบ็ดเสร็จ แกไขปรับปรุงดัดแปลง โปรแกรมไดงาย และสามารถทําเนื้อหาใหทันสมัยอยูเสมอโดยไมตองอาศัยผูเชี่ยวชาญดานเทคนิค ชวยแก ปญหาการขาดแคลนบุคลากรดานการออกแบบ (Web Design) และโปรแกรมเมอร (Programmer) หรือผูเ ชีย่ ว ชาญดานการพัฒนาเว็บไซต ดังนั้น Moodle จึงเปนทางออกหนึ่งที่ชวยพัฒนาเนื้อหาบทเรียนคอมพิวเตอรผาน เครือขาย Moodle พัฒนาดวยภาษา PHP และใชฐานขอมูล MySQL เปนซอฟทแวรฟรีภายใตเงื่อนไข GNU/GNL ซึ่ง Download มาใชงานไดโดยไมตองเสียคาใชจาย โดยมีโมดูลเครือ่ งมือทีใ่ ชในการสรางบทเรียน และเพียบพรอมไปดวยคุณสมบัตติ า งๆ ที่มาพรอมการติดตั้ง รวมทัง้ ระบบภาษาไทยทีม่ คี ณ ุ ภาพและมีมาตรฐาน คูม อื ฉบับนีจ้ งึ หวังวาจะเปนแนวทางสําหรับทุกทานทีพ่ ฒ ั นาบทเรีย นดวย Moodle สามารถนําไปใชไดอยางเต็มที่ และขอขอบคุณ Martin Dougiamas ผูส ราง Moodle และคุณวิมลลักษณ สิงหนาท ผูพ ฒ ั นาภาษาไทย

กิตติพงษ พุม พวง อรรคเดช โสสองชัน้ 1 ธ.ค. 2547

สารบัญ หนา บทนํา (Introduction to Moodle) e-Learning Open Source

1 1 2

Learning Management System (LMS)

2

Moodle (Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment)

3

บทที่ 1 การสรางและพัฒนาบทเรียนผานเครือขายบน Open Source Moodle 1. การลงทะเบียน 2. การเขาสูบ ทเรียน และการออกจากบทเรียน 3. การสรางรายวิชา 4. การปรับแตงสภาพแวดลอมของหองเรียนอิเล็กทรอนิกส 4.1 สภาพแวดลอมของหองเรียน 4.2 การเพิ่ม-ลบ บล็อก 4.3 แนะนําสัญลักษณ และเครือ่ งมือปรับแตงบทเรียน 4.4 การแกไขเนื้อหา 5. การปรับแตงบล็อกภายในหองเรียน 5.1 บล็อกสมาชิก 5.2 บล็อกการจัดการระบบบทเรียน 5.3 บล็อกวิชาเรียนของฉัน 5.4 บล็อกปฏิทนิ กิจกรรม 5.5 บล็อกกิจกรรมที่กําลังจะมีขึ้น 5.6 บล็อกขาวลาสุด 5.7 บล็อกกิจกรรมลาสุด 5.8 บล็อกกิจกรรมทัง้ หมด 5.9 บล็อกคนหา 5.10 บล็อกสมาชิกออนไลน 5.11 บล็อกหัวขอ 5.12 บล็อกเนื้อหายอของรายวิชา

4 4 5 6 8 8 10 10 10 12 12 14 18 18 18 18 19 19 19 19 20 20

บทที่ 2 การเพิม่ แหลงขอมูลและเพิม่ กิจกรรมการเรียนในรายวิชา 1. การเพิ่มแหลงขอมูล 1.1 สรางหนาตัวหนังสือธรรมดา 1.2 สรางหนาเว็บเพจใหม 1.3 ลิงกไปยังไฟลหรือเว็บไซต 1.4 แสดงไดเรคทอรี่ 1.5 แทรก Label 2. การเพิม่ กิจกรรมการเรียน 2.1 กระดานเสวนา 2.2 การบาน 2.3 บทเรียน 2.4 บันทึกความกาวหนา 2.5 หองสนทนา 2.6 แบบทดสอบ

21 22 22 23 24 26 27 28 28 30 32 42 43 44

กิตติพงษ พุมพวง

คูมือการใชงานMoodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

บทนํา (Introduction to Moodle) ปจจุ บันมี การนํา เทคโนโลยี สารสนเทศและเทคโนโลยี การสื่อ สาร (Information and Communication Technology) มาใชเพื่อพัฒนาการศึกษา พัฒนาการเรียนรูของผูเรียนนําไปสูการเรียนรูแบบ “ผูเรียนเปนศูนยกลาง” (Student center) ผูเรียนสามารถสรางการเรียนรูได ทุกคน(Anyone) ทุกที่ (Anywhere) ทุกเวลา (Anytime) ทุกสถานที่ (Anyplace) ขึ้นกับความตองการแสวงหาความรูของผูเรียน โดยมีระบบ e-Learning เปนเครื่องมือที่มีความสําคัญ สนองตอบตอการเรียนรูของผูเรียน

e-Learning (electronic Learning) คือ การจัดการเรียนรู ที่อาศัยสื่ออิเลกโทรนิกส ทั้งระบบ Online และ Off Line ,ทั้งแบบ one-way communication และ Two-way communication ทั้งแบบ CAI CD-Rom และ WBI (Web-based Instruction) TV VDO และ ระบบสือ่ สารอิเลกโทรนิกส อืน่ ๆ โดยปจจุบัน e-Learning มุง เนนระบบการเรียนการสอนในรูปแบบการเรียนการสอนผาน เครือขายอินเทอรเน็ต เรียกวา “อีเลินนิ่ง” หรือ ”บทเรียนคอมพิวเตอรผานเครือขาย” โดยใชรวมกับเนื้อหาที่เปนสื่อ ประสม ทั้ง ตัวหนังสือ (Text) ภาพ (Image) ภาพวีดิทัศน (VDO) เสียง (Audio) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) และ สื่อ ประสม (Multimedia) โดยมีระบบจัดการการเรียนรู (Learning Management System หรือ LMS) โดยมีสวนประกอบที่ สําคัญ ไดแก ระบบการจัดการรายวิชา ระบบการจัดการสรางเนื้อหา ระบบดูแลบริหารผูเรียน ระบบสวนการจัดการ ขอมูลบทเรียน และระบบเครือ่ งมือชวยจัดการสือ่ สารและปฏิสมั พันธ และจัดกระบวนการเรียนรู ไดแก การสือ่ สาร Chat, E-mail, Web-board, การเขาใช , การเก็บขอมูล, การรายงานผล เปนตน ระบบ E-Learning เชิงพาณิชย ไดแก Blackboard WebCT และ Education Sphere, KM-Learning, Ten– flexible learning เปนตน ระบบ E-Learning ที่พัฒนาขึ้นโดยสถาบันการศึกษา ไดแก จุฬาออนไลน (Chulaonline.com) เชียงใหมออนไลน (Cmuonline.ac.th) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (Maxlearn) เปนตน

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

1

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

กิตติพงษ พุมพวง

ระบบ E-Learning ที่พัฒนาโดยใชระบบ Atutor Open Source Learning Management System ไดแก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร (course.swu.ac.th) ระบบ E-Learning ที่พัฒนาโดยใชระบบ Moodle Open Source Learning Management System ไดแก มหาวิทยาลัยบูร พา มหาวิทยาลั ยสงขลา (Moodle) คณะเภสัชฯ จุฬาฯ คณะแพทยศาสาตร ขอนแกน (Moodle) มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ (Moodle) โครงการการศึ ก ษาไร พ รมแดน มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี สุ ร นารี (Moodle) มหาวิ ทยาลั ยสถาบัน ราชภั ฏต าง 20 แห ง สํา นัก งานคณะกรรมการการศึก ษาพื้น ฐาน โครงการปรั บปรุง คุณ ภาพ มาตรฐาน ICT โรงเรียนมัฐยมศึกษาตอนตน (SEQIP) 150 โรงเรียน โครงการโรงเรียนในฝน โครงการโรงเรียน ICT เปน ตน

Open Source โอเพนซอรส คือ การพัฒนาซอฟทแวรเเบบ ”เปด” เปดเผยขอมูลของโปรแกรมหรือเปดเผยซอรสโคดที่ใชสราง ซอฟทแวรใหกับสาธารณชนไดรับทราบ ทําใหนักพัฒนาจากทั่วโลกสามารถศึกษา ใชงาน แกไข เผยแพร และนําไป พัฒนาปรับปรุงได โดยการพัฒนาโอเพนซอรสจะอาคัยความรวมมือของนักพัฒนาที่มีอยูทั่ว โลก ซอฟทแวรใดเปนโอเพน ซอร สนั้น จะต องเปนไปตามขอ กําหนดที่ชัด เจนของ license ที่ เรีย กวา open-source license เชน ลิข สิทธ แบบ GNU/GPL (Genneral Public license) นั่นคือ ยินยอมใหผูอื่นนําซอรสโคดไปใชหรือปรับปรุงไดฟรีไมเสียเงิน แตผูท่ี นําไปใชหรือปรับปรุงตองระบุประกาศทีม่ า และเปดเผยซอรสโคคใหมนั้นดวย

Learning Management System (LMS) LMS คือ ระบบจัดการการเรียนการสอนผานเครือขาย มีเครื่องมือและสวนประกอบที่สําคัญ สําหรับผูสอน ผูเรียน และผูดูแลระบบ ไดแก ระบบการจัดการรายวิชา ระบบการจัดการสรางเนื้อหา ระบบบริหารจัดการผูเรียน ระบบสวน การจัดการขอมูลบทเรียน และระบบเครื่องมือชวยจัดการสื่อสารและปฏิสัมพันธ และจัดกระบวนการเรียนรู ไดแก การ สือ่ สาร Chat, E-mail, Web-board, การเขาใช การเก็บขอมูล, และการรายงานผล เปนตน องคประกอบหลักของระบบ LMS มี 4 ระบบ ที่สําคัญ คือ 1. ระบบจัดการรายวิชา Course Management System (CMS) การสรางรายวิชา จัดทําเนื้อหาบทเรียนรายวิชา จัดทําแหลงคนควาขอมูล ทํากิจกรรมเสริม 2. ระบบบริหารจัดการขอมูลผูเรียน User Management System ระบบการเขาใชงาน ตรวจสอบการใชงาน รายละเอียดขอมูลผูใช 3. ระบบตรวจกิจกรรมและติดตามประเมินผล Test &Tracking Management System กิจกรรมแบบฝก แบบทดสอบ การบาน ระบบทดสอบประเมินผลการเรียน 4. ระบบจัดการการสือ่ สารและปฏิสมั พันธ Communication Management System เปนสวนสงเสริมการเรียนให มีการติดตอสื่อสารกัน ทั้งระหวางผูสอน-ผูสอน ผูสอน-นักเรียน นักเรียน-นักเรียน ทั้งรูปแบบ online และ offline web-board E-mail Chat News Calendar เปนตน

2

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

กิตติพงษ พุมพวง

คูมือการใชงานMoodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

Moodle (Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment) Moodle เปน Open Source Software เปน Course Management System (CMS) โดยใช PHP และ Database mySQL ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย โปรแกรมเมอรที่เคยใช WebCT เปนชาวออสเตรเลีย Mr. Martin Dougiamas ปจจุบันไดมี การพัฒนาเพื่อรองรับภาษาตางๆ กวา 40 ภาษา 150 ประเทศทั่วโลก มีผูใชงานมากกวา 20,000 ไซต (สามารถดูขอมูล เพิ่มเติมไดที่เว็บไซต http://www.moodle.org) ระบบภาษาไทย พัฒนาโดยคุณ วิมลลักษณ สิงหนาท Moodle เปนซอรฟแวรสําหรับใชในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรผานเครือขา ย (Web-based Instruction) โดย กําหนดใหมีระบบการจัดการบทเรียน ซึ่งรองรับกลุมผูใช 3 กลุม คือ ผูดูแลระบบ ผูสอน และผูเรียน ซึ่งชวยใหการจัด สภาพแวดลอมทางการเรียนการสอนผานเว็บเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพ ระบบนี้ไดถูกพัฒนาขึ้นโดยมีพื้นฐานมาจาก software open source ไดแก php และ mySQL ดังนั้นในการนําระบบไปใชงานจึงไมมีคาใชจายใดๆ นอกจากการลงทุน ทางดานฮารดแวรเทานั้น

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

3

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

กิตติพงษ พุมพวง

บทที่ 1 การสรางและพัฒนาบทเรียนผานเครือขายบน Open Source Moodle ระบบการสรางและพัฒนาบทเรียนผานเครือขาย Moodle สําหรับผูส อน บทนี้จะแนะนําการลงทะเบียน การเขา สูบ ทเรียน การสรางรายวิชา การปรับแตงสภาพแวดลอมของหองเรียนอิเล็กทรอนิกส การปรับแตงสภาพแวดลอม และ บล็อกภายในหองเรียน ซึ่งเปนองคประกอบสําคัญสําหรับผูสอนในการสรางรายวิชา

1. การลงทะเบียน (Registration) การลงทะเบียนเขาใชระบบผูส รางรายวิชา (Instructor) ตองลงทะเบียนเขาสูร ะบบบทเรียน ระบบจะสงขอมูล username และ password เพือ่ ยืนยันการเขาใชระบบใหทางอีเมล และใหคลิกทีอ่ เี มลของทานตามทีร่ ะบบสงขอมูลไป ให และใหแจงผูด แู ลระบบหากตองการเปลีย่ นสภาพเปนผูส รางรายวิชา ตอจากนั้นให “Login” เพือ่ เขาสูร ะบบการใชงาน ที่อาจารยผูใชระบบสามารถเขาไปปรับแตงได  คลิก Login เพื่อเขาสูระบบลงทะเบียน จะพบหนา Login ใหคลิกสมัครเปนสมาชิก

 กรอกขอมูล ลงทะเบียนสมาชิกผูใชระบบ

4

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

กิตติพงษ พุมพวง

คูมือการใชงานMoodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

 ระบบจะสงอีเมล ไปใหคุณเพื่อยืนยันการลงทะเบียนขั้นสุดทาย

2. การเขาสูบทเรียน (Login) และการออกจากบทเรียน (Logout)  การเขาสูบทเรียน ผูสรางรายวิชา สามารถเขาสูระบบไดโดยคลิกที่ “Login” เพื่อเข าสูระบบโดยกรอก username และ password แลวคลิกปุม “Login” จะเขาสูบทเรียน ที่อาจารยผูใชระบบสามารถเขาไปใชงานได

หากผูใชลืม Username หรือ Password ใหคลิกปุมสงรายละเอียดผานอีเมล เพื่อระบบจะทําการ reset รหัส และ สงอีเมลไปให เพื่อตั้งคารหัสใหมเมื่อเขาใชระบบใหมอีกครั้ง

 การออกจากระบบ (Logout) หลังจากที่ผูใชเขาไปใชงานระบบเรียบรอยแลว หากจะเลิกใชงานระบบจะตอง Logout โดยการคลิกที่ “Logout” เพื่อความปลอดภัยของขอมูลการใชงาน โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

5

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

กิตติพงษ พุมพวง

3 การสรางรายวิชา (Create Course)  การสรางรายวิชาใหม อาจารยผูสรางรายวิชา ตองลงทะเบียนเขาสูระบบ และใหแจงผูด แู ลระบบหากตองการ เปลี่ยนสภาพเปนผูสรางรายวิชา ตอจากนั้นให “Login” เขาสูระบบ ใหเลือกเมนูรายวิชาทั้งหมด และ คลิกเพิ่มรายวิชา ใหม เขาสูหนาแกไขรายวิชาเพื่อสรางรายวิชาของตนเองตอไป

 การปรับแตงรายวิชา ผูสรางรายวิชา สามารถแกไข กําหนดคา และปรับปรุงรายวิชาของตนเองไดดังนี้

 ประเภทของรายวิชา : เลือกประเภทของรายวิชาตรงตามที่กําหนดประเภทไวใหเพื่อประโยชนในการจัด หมวดหมู และตรงกับเนือ้ หาทีส่ อนมากทีส่ ดุ  ชื่อเต็มของรายวิชา : ชื่อเต็มของรายวิชาที่จะปรากฏอยูบนสุดของหนาจอและเมื่อมีการเรียกดูรายวิชา  ชื่อยอของรายวิชา : ใหใสรหัสของรายวิชาที่ตองการเปดสอน  บทคัดยอ : ใหใสรายละเอียดคําอธิบายรายวิชา  รูปแบบรายวิชา : มีใหเลือก 3 รูปแบบ คือ (1) แบบรายสัปดาห (2) แบบหัวขอ (3) แบบกระดานแสวนา 1 แบบรายสัปดาห เปนการจัดการรายวิชาสัปดาหตอสัปดาห โดยมีวันเริ่มตนและสิ้นสุดที่แนนอน ในแตละสัปดาหจะมีกิจกรรมตางๆ ใหนักเรียนทํา เชน รายงานความกาวหนา อาจจะใหนักเรียนเขียนขึ้นมา ภายในสองสัปดาห จากนั้นนักเรียนจะไมสามารถเขียนหรือแกไขไดอีก 6

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

กิตติพงษ พุมพวง

คูมือการใชงานMoodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

2 แบบหัวขอ รูปแบบคลายกับรายสัปดาห เพียงแต ไมจํากัดเวลาในการศึกษาหัวขอนั้นๆ กิจกรรมที่ กําหนดไวสําหรับแตละหัวขอสามารถทําไดตลอดไป 3 แบบกระดานเสวนา รูปแบบนี้จะเหมือนกับกระดานเสวนาทั่วไป โดยจะปรากฎเปนรายการใน หนาแรกของรายวิชา อาจจะใชเปนหนาประกาศสําหรับวิชาทีส่ อนนัน้ หรือสําหรับภาควิชา  วันที่รายวิชาเริ่มตน : สําหรับระบุเวลาที่ทานตองการเริ่มตนบทเรียนนี้ ถาหากทานใชรูปแบบบทเรียน “ราย สัปดาห (weekly)" สัปดาหแรกจะเริ่มในวันที่ระบุ แตไมมีผลกระทบใดๆกับบทเรียนที่มีรูปแบบ 'social' หรือ 'topics' การระบุวนั ทีน่ จ้ี ะมีผลตอการแสดงผลของระบบบันทึกเหตุการณ (logs) โดยจะใชวันที่ท่ีถูกระบุน้ีเปน วันแรกที่คุณจะสามารถแสดงผลได  จํานวนสัปดาห หรือ หัวขอในรายวิชา : การตั้งคานี้มีเฉพาะในรายวิชาที่ใชรูปแบบรายสัปดาหหรือหัวขอ สําหรับรูปแบบรายสัปดาห คือ จํานวนสัปดาหที่มีการเรียนการสอน โดยเริ่มจากวันแรกที่เริ่มเปดรายวิชา สําหรับรูปแบบหัวขอ คือ จํานวนหัวขอที่มีการเรียนการสอนในรายวิชา จํานวนตัวเลขนี้จะปรากฎเปนจํานวน ชองสี่เหลี่ยมที่มีหมายเลขติดในคอลัมนกลางของรายวิชา  ระบบกลุม : แบง 3 แบบ คือ (1)เรียนรวมกันแบบไมแบงกลุม (2)แบงกลุมเรียนอยางชัดเจนขามกลุมไมได (3)แบงกลุมเรียนแตศึกษาขามกลุมไดแตทํากิจกรรมรวมไมได  รายวิชาที่มีอยู : ตั้งคาได 2 แบบ คือ นักเรียนยังไมสามารถเขาศึกษารายวิชานี้ และนักเรียนสามารถเขา ศึกษารายวิชานี้ไดแลว  รหัสผานเขารายวิชา : รหัสนี้เปนการปองกันบุคคลภายนอกเขามาศึกษาขอมูลที่คุณสอน ถาหากคุณไมเติม ใดๆ ในชองนี้ ใครก็ตามที่เปนสมาชิกของเว็บไซต ก็สามารถที่จะเขามาศึกษาไดทั้งหมด ถาระบุรหัสผานไว นักเรียนที่พยายามเขามาในหนานี้ จะถูกถามใหเติมรหัสในการเขามาใชบทเรียนในครั้งแรกเทานั้น ถารหัส ดังกลาวตกไปถึงบุคคลที่ทานไมตองการใหเขาศึกษาในบทเรียนนี้ ทานสามารถจะตัดชื่อของบุคคลดังกลาว ออกจากรายวิชาได โดยเขาไปดูในประวัติสวนตัวของบุคคลดังกลาว และเปลีย่ นรหัสนีเ้ สีย โดยนักเรียนคนอื่นๆ ที่อยูในรายวิชาจะไมไดรับ ผลกระทบไปดวย  การอนุญาตบุคคลทั่วไป : ตั้งคาได 3 แบบ คือ (1)ไมอนุญาตใหบุคคลทั่วไปเขาอาน (2)อนุญาตใหบุคคล ทั่วไปเขาอานได (3)อนุญาตใหบุคคลทั่วไปที่มีรหัสผานเขาอาน ถาหากทานอนุญาตให "บุคคลทั่วไป" เขามาในรายวิชา บุคคลทั่วไปสามารถที่จะล็อกอินโดยคลิกที่ปุม "Login ในชื่อบุคคลทั่วไป" ที่ปรากฏอยูบนหนาจอแลวเขามาไดเลย บุคคลทั่วไปสามารถที่จะอานไดอยางเดียวเทานั้น ไม สามารถโพสต ขอความใดๆ ตอบคําถามหรือสงไฟล ได กรณีนี้สะดวกในการที่คุณตองการใหเพื่อนรวมงาน เขามาดู ผลงานของคุณ หรือใหนักเรียนไดดูเนื้อหาของบทเรียนกอนตัดสินใจเขาเรียน หมายเหตุ : คุณมีตัวเลือกอยูสองตัวเลือกในการใหบุคคลทั่วไปเขามาใชเว็บไซต นั่นคือบุคคลทั่วไปที่ตองใช รหัสผาน และบุคคลทั่วไปที่ไมจําเปนตองใช ถาหากคุณอนุญาตใหบุคคลทั่วไป แบบที่ตองใชรหัสผานผูเขามาในเว็บ จําเปนตองใสรหัสทุกครั้งเมื่อ Login เขามาแตถาหากเลือกใหใครก็ไดเขามาดู ก็ไมจําเปนตองเลือกใหมีรหัส  สวนที่ซอนไว : ตั้งคาได 2 แบบ คือ (1) แสดงสวนทีซ่ อ นแบบพับไว (2) ไมใหใครเห็นสวนทีซ่ อ นพับไว  แสดงขาว : แสดงจํานวนขาวลาสุด ที่ตองการใหปรากฏในหนารายวิชา รายวิชาในรูปแบบรายสัปดาห และ หัวขอจะมีกระดานขาวปรากฏอยูบนสุด ของรายวิชา เหมาะสําหรับประกาศขาวสารใหนักเรียนในรายวิชาไดรบั ทราบทั่วกันคาที่ตั้งไว คือ นักเรียนทุกคนตองเปนสมาชิกของบอรดนี้ ฉะนั้นเมื่อมีการโพสตขอความบนกระดาน โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

7

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

     

กิตติพงษ พุมพวง

นี้ นักเรียนจะไดรับขอความผานทางอีเมล การตั้งคานี้พิจารณาวาตองการใหขาวลาสุดจํานวนกี่ขาวปรากฏใน หนาแรกนี้ ในสวนของ ขาวและประกาศ ในบล็อกกรอบทางดานขวามือ ถาหากตั้งคาไวที่ 0 จะไมมีขาวปรากฏ ในชองดังกลาว แสดงคะแนน : ตั้งคา ใช หรือ ไมตองแสดงคะแนนในการทํากิจกรรม แสดงรายงานกิจกรรม : ตั้งคาใช หรือ ไมตองแสดงผลการทํากิจกรรม ขนาดไฟลสูงสุด: ขนาดไฟลที่สามารถ อัพโหลดไดสูงสุด 2 เมกะไบต คําสําหรับเรียกผูสอน : เชน ครู อาจารย ผูช ว ยสอน คําสําหรับเรียกนักเรียน : เชน ผูเรียน นักเรียน นักศึกษา สมาชิก ผูรวมทํากิจกรรม ภาษาที่บังคับในการใช : ไมบังคับ หรือบังคับใหใช ภาษาไทย หรือ อังกฤษ

เมื่อกรอกรายละเอียดขางตนเรียบรอยแลว ใหคลิกปุม “บันทึกการเปลี่ยนแปลง” เพื่อเขาสูหนาสรางและแกไข รายวิชาของตนเองตอไป

4 การปรับแตงสภาพแวดลอมของหองเรียนอิเล็กทรอนิกส (Moodle Dynamic Environment Learning) 4.1 สภาพแวดลอมของหองเรียน เมื่อ Login เขาสูระบบบทเรียน จะพบกับหนาหลักของ website ซึ่ง Admin เทานั้นที่จะเปนผูเปลี่ยนแปลงองคประกอบหลักตางๆ ของ website บทเรียนได การเขาสูระบบครั้งแรกทุกคนจะมี สถานภาพเสมือนผูเรียนในรายวิชาของผูสอนทานอื่นๆ สามารถเขาศึกษาไดไมสามารถแกไขได อาจารยผูสอนจะ สามารถเขาแกไขไดเฉพาะวิชาของฉันที่ฉันเปนผูสรางเทานั้น โดยเมื่อคลิกเขาไปในรายวิชาของตน จะพบองคประกอบ หลัก 3 สวน คือ (1) สวนหัว (Header bar) แสดงขอมูลชื่อ website ชือ่ ผู Login เมนูเปลี่ยนรหัสภาษา และ Navigation Bar แสดงขอมูลใหผูใชทราบหนาที่กําลังเปดใชอยู (2) กลุมเมนูบล็อคดานซาย และกลุมเมนูบล็อคดานขวา (3)กลุม เมนู บล็อคตรงกลางแสดงโครงสรางแบบหัวขอ โครงสรางแบบรายสัปดาห หรือ โครงสรางแบบกลุม สนทนา  สวนหัว (Header bar) แสดงขอมูลชื่อ website หรือชื่อรายวิชา ชื่อผู Login เมนูเปลี่ยนรหัสภาษา และ Navigation Bar แสดงขอมูลใหผูใชทราบหนาที่กําลังเปดใชอยู

 กลุมเมนูบล็อกดานซาย และกลุมเมนูบล็อกดานขวา

8

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

กิตติพงษ พุมพวง

คูมือการใชงานMoodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

 กลุม เมนูบล็อกตรงกลางแสดงโครงสรางแบบหัวขอ

 กลุมเมนูบล็อกตรงกลางแสดงโครงสรางแบบ โครงสรางแบบรายสัปดาห

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

9

กิตติพงษ พุมพวง

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

4.2 การเพิ่ม-ลบ บล็อก ผูสรางรายวิชาสามารถเพิ่ม-ลบ และเคลื่อนยายบล็อกในรายวิชาของตนเองได โดย คลิกทีเ่ ปดการแกไขในหนานี้ แลวจะมีโมดูลบล็อกขึ้นมาใหแกไขเพิ่มเติมบล็อก และถาหากเราลบบล็อกที่ไมตองการให แสดง บล็อกนัน้ ก็จะมาปรากฏไวทเ่ี มนูแกไขบล็อกนี้

4.3 แนะนําสัญลักษณ และเครือ่ งมือปรับแตงบทเรียน (icon and edit page) สัญลักษณ

สัญลักษณ

ความหมาย คลิกเพื่อแกไขขอมูล รายละเอียด คลิกซอนรายการนี้ไมใหนักศึกษาเขามาใชงาน คลิกเปดรายการนี้ใหนักศึกษาเขามาใชงาน คลิกเพื่อลบรายการนี้ คลิกยายรายการนี้ขึ้น-ลง ในแตละระดับ คลิกยายไปขางบน คลิกยายลงขางลาง ความหมาย คลิกยายไปทางขวา คลิกยายไปทางซาย คลิกยายรายการนั้นมาที่นี่ คลิกแสดงเฉพาะหัวขอนี้ คลิกแสดงทุกหัวขอทั้งหมด คลิกเลือกหัวขอนี้เปนหัวขอปจจุบัน คลิกเมื่อตองการคําอธิบายเพิ่มเติม (help) แจงวารายวิชานี้อนุญาตใหบุคคลเขาศึกษาได แจงวารายวิชานี้ตองมีกุญแจรหัสผานเขาคอรส แสดงรายละเอียดบทคัดยอรายวิชา

4.4 การแกไขเนื้อหา (Edit Page) มีหนารูปแบบการแกไขปรับแตงเนือ้ หาอยู 2 รูปแบบ คือ  รูปแบบตัวหนังสือ (Moodle text auto-format) รูปแบบนี้จะแสดงผลไดดีในรูปแบบเว็บปกติ เพียงแต เขียนขอความเหมือนเขียนในอีเมลทั่วไป เมื่อกดปุมบันทึกขอความ โปรแกรมจะทําหนาที่จัดรูปแบบ อัตโนมัติใหเอง เชน การพิมพชื่อเว็บไซต http://borderless.sut.ac.th หรือ www.sut.ac.th จะกลายเปน

10

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

กิตติพงษ พุมพวง

คูมือการใชงานMoodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

ลิงคทันที จุดสิ้นสุดของบรรทัดก็จะคงเดิม บรรทัดที่วางไวก็จะทําการตั้งตนเปนยอหนาใหม โคดสไมลี่ เชน :-) ก็จะแสดงผลเปนรูปคนยิ้ม ใหอัตโนมัติ คุณสามารถที่จะเพิ่มโคด HTML ลงไปไดเชนกัน  รูปแบบ HTML < > รูปแบบนี้เปนการใชโคด HTML ลวนๆ ถาหากใช HTML Editor เพื่อแกไขขอความ เมื่อใชคําสั่งทําตัวหนังสือประเภทตางๆ บน toolbar จะมีการเปลี่ยนเปน แท็ก html ให ถึงแมวาจะไมใช Richtext HTML Editor ก็ยังสามารถใช โคด HTML ในขอความที่คุณตองการพิมพ และการแสดงผลก็ ยังคงถูกตองเหมือนที่ตองการ วิธีนี้ตางจากวิธีแรกคือ จะไมมีการจัดรูปแบบอัตโนมัติให  การแกไขเนื้อหาดวย Richtext HTML Editor Richtext HTML Editor ทําใหการแกไขเว็บมีรปู แบบเหมือนกําลังพิมพอยูบ นโปรแกรมเวิรด พิมพธรรมดาแตจะ แสดงผลในรูปแบบ html เพิ่มเติมจากหัวขอรูปแบบของขอความ โปรแกรมแกไขนี้ยังมีลูกเลนอีกหลายอยางที่มีประโยชน สําหรับผูใช การเขียนขอความในโปรแกรมนี้นั้นจะแสดงผลเหมือนที่พิมพแนนอน นอกจากนี้ยังสามารถใชสไมลี่ พิมพท่ี อยูเว็บ หรือ เพิ่มโคด html ไดดวย กอปปและวางขอความบนนี้ได สามารถกอปปขอความจากโปรแกรมอื่น เชน ในเวิรด แลวนํามาวางในหนาจอนี้ และยังมีรูปแบบเหมือนเดิม เชน ตัวหนา ตัวเอียง ขีดเสนใต สีสัน เพียงแตใชคําสั่ง cut และ paste ธรรมดา

 การแทรกรูป ถาหากภาพที่คุณตองการแทรกนั้นอยูบนเว็บอยูแลวก็สามารถเรียกภาพดังกลาวโดยการใช คําสั่ง insert image แทรกภาพ แลวใสที่อยูเว็บไซต ของภาพนัน้ ลงไป  การแทรกตาราง บนหนาตางเครื่องมือ จะมีปุมใหเลือกแทรกตาราง ในกรณีที่ตองการพิมพตาราง  การแทรกลิงค (URLs) หากตองการแทรกลิงเพียงแตคลิกที่ภาพแทรกลิงค แลวใสที่อยูเว็บลงไปในชองที่โผล ขึ้นมา ก็เปนอันวาเสร็จ รูปแบบนี้จะแสดงผลไดดีในรูปแบบเว็บปกติ เพียงแตเขียนขอความเหมือน คุณเขียนในอีเมล ทั่วไป เมื่อกดปุมบันทึกขอความ โปรแกรมจะทําหนาที่จัดรูปแบบ อัตโนมัติใหคุณเอง ตัวอยาง การพิพมชื่อเว็บไซต http://yahoo.com หรือ แมแต www.yahoo.com จะกลายเปนลิงค ทันที จุดสิ้นสุดของบรรทัดก็จะคงเดิม บรรทัดทีว่ า งไว ก็จะทําการตั้งตนเปนยอหนาใหม โคดสไมลี่ เชน :-) ก็จะแสดงผลเปนรูปคนยิ้ม ใหอัตโนมัติ  การแทรกสไมลี่ หรือภาพแสดงความรูสึก (Smilies emoticons) หากตองการแทรกรูปจากสไมลี่ ใหคลิกที่ปุม สไมลี่จ ากเมนู เครื่ องมือ จะมีหน าต างรูปหนา ตาต างๆโผลขึ้ นมา ใหเลื อก หรือ ไม ก็พิม พโคดสไมลี่ลงไปตรงๆ เลย การแสดงผลก็จะเปนรูปขึ้นมาให

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

11

กิตติพงษ พุมพวง

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

การแทรก HTML tags คุณสามารถใช แท็ก html งายๆ ในการเขียน HTML tags bold italic underline small large example
  • one
  • two


Produces bold text italic text underlined text small large example one two


สําหรับการใชโคด html เมื่อเขียนขอความโดยใชโคด HTML คุณสามารถใช โคดเพื่อแสดงผลตามที่คุณ ตองการไดทุกชนิด โคดปกติแลวจะเขียนไวในโคดตาราง ดังนั้น ควรระวังในการใชคําสั่งตาราง เพราะอาจทําใหหนาจอ แสดงผลผิดพลาดได

5. การปรับแตงบล็อคภายในหองเรียน (Block) 5.1 บล็อกสมาชิก เปนบล็อกเกี่ยวกับขอมูลของสมาชิกในรายวิชา

5.1.1 เมนูนักเรียนและผูสนใจ จะแสดงรายละเอียดขอมูลสมาชิกที่สมัครเขาเรียนในรายวิชา ทั้งหมด รวมทั้งขอมูลของอาจารยผูสรางรายวิชา

12

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

กิตติพงษ พุมพวง

คูมือการใชงานMoodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

5.1.2 เมนูแกไขขอมูลสวนตัว สมาชิกสามารถแกไขขอมูลรายละเอียดสวนตัวของตนเอง และ ตั้งคาการใชงานการแกไขขอความ การแกไขรูปภาพและอื่นๆ ไดผา นเมนูแกไขขอมูลสวนตัว

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

13

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

5.2 บล็อกการจัดการระบบบทเรียน บทเรียนทีส่ รางขึน้

กิตติพงษ พุมพวง

เปนโมดูลหลักสําหรับผูสรางรายวิชาที่จะตองใชในการจัดการ

5.2.1 เมนูการตั้งคาและปรับแตงรายวิชา (edit course) เปนโมดูลการปรับแตงแกไขตั้งคา ตางๆ สําหรับรายวิชาที่ผุสอนสรางขึ้น มีคาที่สําคัญตองปรับแตงดังนี้

14

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

กิตติพงษ พุมพวง

คูมือการใชงานMoodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

ประเภทของคอรส เลือกประเภททีต่ รงกับเนือ้ หาทีค่ ณ ุ สอนมากทีส่ ดุ เพื่อความถูกตอง ในการจัดหมวดหมู ชื่อเต็มรายวิชา ใหกรอกชื่อเต็มของรายวิชา ที่คุณตองการสราง คือวิชาอะไร ชื่อยอวิชา ใสชื่อยอ หรือรหัสวิชา เชน ว 102 ส 304 ส 305 ค203 เปนตน รูปแบบคอรส มี 3 รูปแบบ แบบรายสัปดาห แบบหัวขอ แบบกระดานเสวนา วันที่คอรสเริ่มตน สําหรับระบุเวลาทีท่ า นตองการเริม่ ตนบทเรียนนี้ จํานวนสัปดาห หรือ หัวขอ ในคอรส การตั้งคานี้มีเฉพาะในคอรสที่ใชรูปแบบรายสัปดาหหรือหัวขอ จํานวนขาวลาสุดที่ตองการใหแสดงหนาคอรส ตองการใหขาวลาสุดจํานวนกี่ขาวปรากฎในหนาแรกนี้ในสวนของ ขาวและประกาศ ในกรอบบล็อกขาวลาสุด รหัสผานเขาคอรส กําหนดรหัสเพือ่ ปองกันการเขาระบบบทเรียน การอนุญาตบุคคลทั่วไป : ตั้งคาได 3 แบบ คือ (1)ไมอนุญาตใหบคุ คลทัว่ ไปเขาอาน (2)อนุญาตใหบคุ คลทัว่ ไปเขาอาน ได (3)อนุญาตใหบุคคลทั่วไปที่มีรหัสผานเขาอาน สวนที่ซอนไว : ตั้งคาได 2 แบบ คือ (1) แสดงสวนทีซ่ อ นแบบพับไว (2) ไมใหใครเห็นสวนทีซ่ อ นพับไว แสดงขาว : แสดงจํานวนขาวลาสุด ทีต่ อ งการใหปรากฏในหนารายวิชา แสดงคะแนน : ตั้งคา ใช หรือ ไมตองแสดงคะแนนในการทํากิจกรรม แสดงรายงานกิจกรรม : ตั้งคาใช หรือ ไมตองแสดงผลการทํากิจกรรม ขนาดไฟลสูงสุด: ขนาดไฟลที่สามารถ อัพโหลดไดสูงสุด 2 เมกะไบต คําสําหรับเรียกผูสอน : เชน ครู อาจารย ผูช ว ยสอน คําสําหรับเรียกนักเรียน : เชน ผูเรียน นักเรียน นักศึกษา สมาชิก ผูรวมทํากิจกรรม ภาษาที่บังคับในการใช : ไมบังคับ หรือบังคับใหใช ภาษาไทย หรือ อังกฤษ เมื่อกรอกรายละเอียดหลักขางตนเรียบรอยแลว คลิกปุม “บันทึกการเปลีย่ นแปลง” 5.2.2 การเพิม่ ลบอาจารยผสู อน ครู อาจารย ผูส อน หนานี้จะแสดงรายชื่อของผูที่ไดรับมอบหมาย ใหทําหนาที่เปนผูสอนประจํารายวิชา ผูสอนสามารถจัดการเพิ่ม-ลบ ผูชวยสอนเพิ่มเติมได

หมายเหตุ : ในกรณีที่คุณเลือก "ซอน" รายชื่อ ครู อาจารย รายชื่อของผูสอนจะไมปรากฎในหนารายการ นักเรียนจะไม สามารถดูรายชื่อดังกลาวได

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

15

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

กิตติพงษ พุมพวง

5.2.3 การเพิม่ ลบผูเ รียน ผูส อนสามารถเพิม่ -ลบ ผูเรียน ออกจากรายวิชาที่ตนดูแลได

5.2.4 การสํารองขอมูล เปนการสํารองขอมูลรายวิชา เพื่อการปองกับขอมูลรายวิชาสูญหาย

5.2.5 การกูคืนขอมูล โมดูล สําหรับกูค นื ขอมูลทีไ่ ดสาํ รองไว เพื่อปองกันการสูญหายของขอมูล

5.2.6 วิธีการวัดและประเมินผล เปนโมดูลแสดงออกแบบวิธีการวัดและการประเมินผลการเรียน วิชานี้

16

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

กิตติพงษ พุมพวง

คูมือการใชงานMoodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

5.2.7 คะแนนผลการเรียนทั้งหมด เปนเมนูแสดง คะแนนผลการเรียนของนักเรียนแตละคนที่ทํา กิจกรรมการเรียนตางๆ เชน แบบทดสอบ การบาน

5.2.8 บันทึกการใชงานเว็บไซด เปนเมนูแสดงขอมูลรายงาน บันทึกกิจกรรมการใชงานเว็บไซดของ นักเรียนแตละคน

5.2.9 ไฟลขอมูล เปนโมดูลเพื่อการจัดการไฟล สรางไฟล ลบไฟล อัพโหลด โอนยายไฟล แกไข เปลีย่ นชือ่ ไฟล ในรายวิชานั้นๆ

5.2.10 คูมือชวยเหลือการใชงาน (Moodle Help) เปนเมนูแสดงคูมือ Moodle มาตรฐาน ภาษาอังกฤษ 5.2.11 กระดานสื่อสารครู-อาจารย กระดานสนทนาสําหรับครู อาจารยในรายวิชาซึ่งวิชาอาจมี ผูส อนหลายคน มีไวสําหรับใหอาจารยใชติดตอสื่อสารกัน

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

17

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

กิตติพงษ พุมพวง

5.3 บล็อกวิชาเรียนของฉัน เปนบล็อกแสดงรายวิชาของฉันที่ฉันเปนสมาชิกลงทะเบียนเรียนวิชานั้ นๆ โดย จะสามารถเขาศึกษาไดเสมือนเปนนักเรียน หากวิชาที่เปนผูสรางก็จะสามารถมีเมนูสําหรับแกไขรายละเอียดตา งๆ ได

5.4 บล็อกปฏิทินกิจกรรม (Calendar) เปนบล็อกแสดงปฏิทนิ และแสดงกิจกรรมที่กําลังจะมีขึ้น เชนกิจกรรม ทั่งไป ตารางกิจกรรม กิจกรรมกลุม กิจกรรมของสมาชิก โดยนําเมาสไปวางไวตรงวันที่ระบายสีกิจกรรมก็จะแสดง รายละเอียดกิจกรรมขึ้นมา

5.5 บล็อกกิจกรรมที่กําลังจะมีขึ้น (Upcoming events) เปนบล็อกแสดงกิจกรรมลาสุดที่กําลังจะมีขึ้น ในชวงระยะเวลาที่กําหนดตามคาที่ตั้งเอาไว

5.6 บล็อกขาวลาสุด (Last news) เปน บล็อกแสดงขาวลาสุดที่มีการโพสตในกระดานขาและประกาศ จํานวนขาวลาสุดขึน้ อยูก บั คาทีต่ ง้ั ไวในหนาแกไขรายวิชา

18

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

กิตติพงษ พุมพวง

คูมือการใชงานMoodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

5.7 บล็อกกิจกรรมลาสุด เปนการแสดงถึงการเปลี่ยนแปลง หรือ กิจกรรมที่เกิดขึ้นบนเว็ปไซด ตั้งแตเขามา ครั้งสุดทายประกอบไปดวย ขาวที่โพสต สมาชิกใหม วารสารมาใหม เปนตน

5.8 บล็อกกิจกรรมทั้งหมด (Main Menu) เปนบล็อกแสดงเมนูกิจกรรมประเภทตางๆ ทั้งหมดที่ไดจัดทําขึ้น ในรายวิชานี้ โดยแยกเปนประเภทของกิจกรรม เชน กระดานเสวนา แบบทดสอบ แหลงขอมูลและทุกกิจกรรมจะมี รวบรวมรายละเอียดกิจกรรมที่มีนั้นไวทั้งหมด

5.9 บล็อกคนหา (search) เปนบล็อกสําหรับคนหาขอมูลที่ตองการภายในรายวิชานี้

5.10 บล็อกสมาชิกออนไลน (online User) เปนบล็อกแสดงขอมูลวามีผูที่กําลังใชงานหรือ ออนไลนอยู ในชวง 5 นาทีทผ่ี า นมานี้

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

19

กิตติพงษ พุมพวง

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชนั 1.4.2) : สําหรับผูสอน

5.11 บล็อกหัวขอ (Topic) เปนบล็อกแสดงลิงคไปยังหัวขอตางๆ ทุกหัวขอที่มีอยูในรายวิชา

5.12 บล็อกเนื้อหายอของรายวิชา (Course Summary)เปนบล็อกแสดงขอมูลรายละเอียดวิขาที่ใสขอมูลไว

20

โครงการการศึกษาไรพรมแดน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

บทที่ 2 การเพิ่มแหลงขอมูลและเพิ่มกิจกรรมในรายวิชา การเพิ่มแหลงขอมูลและเพิ่มกิจกรรมในรายวิชาสามารถเพิ่มไดในสวนของโครงสรางหัวขอหรือรายสัปดาห โดย ในแตละหัวขอหรือรายสัปดาหสามารถที่จะเพิ่มแหลงขอมูลและเพิ่มกิจกรรมเขาไปในรายวิชาทีส่ รางขึน้ ได โดยการคลิกที่ ปุม ซึ่งอยูดานบนขวา แลวจะมีเมนูใหเขาไปเพิม่ แหลงขอมูล และเพิม่ กิจกรรมได

ในแตละหัวขอจะเปนบล็อกและมีเลขแสดงจํานวนหัวขอหรือจํานวนสัปดาห เราสามารถเพิ่มขอความเขาไปได โดยคลิกที่สัญลักษณรูปมือ แลวทําการเพิม่ ขอความหรือเนือ้ หาของหัวขอนัน้ ได

เพิม่ ขอความในหัวขอที่ 1

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

21

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

1. การเพิ่มแหลงขอมูล การเพิ่มแหลงขอมูลเปนการเพิ่มเนื้อหาลงไปในรายวิชาของแตละหัวขอที่ตองการใหนักษศึกษาไดเขามาศึกษา ซึ่ง แหลงขอมูลก็จะมีใหเลือกที่จะเพิ่มเขามาหลายแบบ คือ แบบตัวหนังสือธรรมดา สรางหนาเว็บเพจใหม สรางลิงคไปยัง ไฟลหรือเว็บไซต แสดงเปนไดเรคทอรี่ และแทรก Label ทําการเพิ่มแหลงขอมูลไดโดยคลิกเลือกที่เมนูเพิ่มแหลงขอมูล แลวเลือกรูปแบบของแหลงขอมูลที่ตองการเพิ่มเขาไป 1.1 สรางหนาตัวหนังสือธรรมดา การเพิ่มแหลงขอมูลแบบสรางหนาตัวหนังสือธรรมดาเปนการเพิ่มขอมูลที่เปนตัวหนังสืออยางเดียว ตัวหนังสือที่ แสดงจะอยูในชองของ Full Text ทําการสรางหนาตัวหนังสือธรรมดาโดยการเลือกทีเ่ มนูเพิม่ แหลงขอมูล แลวเลือกสราง หนาตัวหนังสือธรรมดา

เพิม่ ขอมูลแบบสรางตัวหนังสือธรรมดา

แสดงหัวขอทีเ่ พิม่ เขาไปในหนารายวิชา

แสดงเนื้อหาแบบตัวหนังสือธรรมดาเมื่อทําการคลิกเขาไปดู 22

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

1.2 สรางหนาเว็บเพจใหม การเพิ่มแหลงขอมูลแบบสรางหนาเว็บเพจใหมจะคลายกับการเพิ่มขอมูลแบบสรางตัวหนังสือธรรมดา แตแบบสราง หนาเว็บเพจใหมจะมี Editor ทีส่ ามารถจัดรูปแบบของเนือ้ หาได เชน แทรกรูป ตัวหนา ตัวเอียง และใสสขี องตัวอักษร เปนตน ทําการสรางหนาเว็บเพจใหมโดยการเลือกที่เมนูเพิ่มแหลงขอมูล แลวเลือกสรางหนาเว็บเพจใหม

เพิม่ ขอมูลแบบสรางหนาเว็บเพจใหม

แสดงหัวขอทีเ่ พิม่ เขาไปในหนารายวิชา

แสดงเนือ้ หาแบบสรางหนาเว็บเพจใหมเมือ่ ทําการคลิกเขาไปดู โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

23

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

1.3 ลิงกไปยังไฟลหรือเว็บไซต การเพิ่มแหลงขอมูลแบบลิงกไปยังไฟลหรือเว็บไซตเปนการสรางลิ้ งกไปยังไฟลเนื้อหาอื่นที่มีอยู หรือลิงกไปยัง เว็บไซตอื่นก็ได โดยการเลือกหรืออัพโหลดไฟลทต่ี อ งการลิงกไป ถาเปนการลิงกไปยังเว็บไซตกใ็ สชอ่ื เว็บไซตลงไปทีช่ อ ง ของทีต่ ง้ั ไดเลย ทําการลิงกไปยังไฟลหรือเว็บไซตโดยการเลือกทีเ่ มนูเพิม่ แหลงขอมูล แลวเลือกลิงกไปยังไฟลหรือเว็บไซต จากรูปขางลางเปนการลิงกไปยังไฟล

คลิกปุม เลือกหรืออัพโหลดไฟล …

ทําการคลิกทีป่ มุ อัพโหลดไฟล เพื่อนําไฟลที่ตองการ

ทําการคลิกที่ปุม Browse เพื่อเลือกไฟลที่ตองการอัพโหลดเขาไปในรายวิชา

ทําคลิกเลือกไฟลทต่ี อ งการ 24

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

ทําการคลิกปุม บันทึกการเปลีย่ นแปลงทีอ่ ยูด า นลาง

แสดงหัวขอทีเ่ พิม่ เขาไปในหนารายวิชา

แสดงเนือ้ หาแบบลิงกไปยังไฟลซง่ึ จากรูปเปนเนือ้ หาในรูปแบบ Power point โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

25

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

1.4 แสดงไดเรคทอรี่ การเพิ่มแหลงขอมูลแบบแสดงไดเรคทอรี่เปนการนําไดเรคทอรีท่ ม่ี อี ยูในรายวิชาออกมาแสดงเพื่อใหนักศึกษาเขาไป ดูหรือดาวนโหลดไฟลตา งๆในไดเรคทอรีน่ น้ั ซึง่ ไดเรคทอรีจ่ ะมีไฟลตา งๆทีไ่ ดจากการอัพโหลดไฟลเขาไปเก็บไวในรายวิชา ทําการแสดงไดเรคทอรี่โดยการเลือกที่เมนูเพิ่มแหลงขอมูล แลวเลือกแสดงไดเรคทอรี่

ในหัวขอแสดงไดเรคทอรี่ใหเลือกไดเรคทอรี่ที่ตองการแสดงถามีหลายไดเรคทอรี่ ถารายวิชาไมไดสรางไดเรคทอรี่เพิ่มก็จะ มีแคไดเรคทอรี่หลักเทานั้น

แสดงหัวขอเนือ้ หาทีเ่ พิม่ เขาไปแบบแสดงไดเรคทอรี่

แสดงไฟลทง้ั หมดทีอ่ ยูใ นไดเรคทอรีข่ องรายวิชาจากการอัพโหลดไฟลเขาไปในรายวิชา

26

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

1.5 แทรก Label การเพิม่ แหลงขอมูลแบบแทรก Label เปนการเพิ่มขอความเขาไปในสวนของหัวขอ โดยขอความจะปรากฏที่ชองของ หัวขอนัน้ เลย อาจจะใช Label ในการขยายหรือเพิ่มเติมเนื้อหาในแตละหัวขอได ทําการแทรก Label โดยการเลือกทีเ่ มนู เพิ่มแหลงขอมูล แลวเลือก แทรก Label

ทําการเพิ่มขอความ

แสดงขอความทีเ่ พิม่ เขาไปแบบแทรก Label

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

27

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

2. การเพิ่มกิจกรรม การเพิ่มกิจกรรมเปนการเพิ่มกิจกรรมตางๆในแตละหัวขอ เพื่อใหนักศึกษาเขามารวมและทํากิจกรรมที่มีขึ้น กิจกรรม มีหลายกิจกรรมใหสามารถเลือกเพิ่มได เชน กระดานสนทนา การบาน บทเรียน หองสนทนา และแบบทดสอบ ทําการ เพิ่มกิจกรรมไดโดยคลิกเลือกที่เมนูเพิ่มกิจกรรม แลวเลือกรูปแบบของกิจกรรมทีต่ อ งการเพิม่ เขาไป 2.1 กระดานเสวนา กระดานเสวนาใชสาํ หรับเปนแหลงแลกเปลีย่ นความรูค วามคิดเห็นในแต ละบทเรียนหรือหัวขอ รายละเอียดการเพิ่ม กระดานสนทนามีดงั นี้

√ ชื่อกระดาน : กรอกชื่อกระดานเสวนา √ ประเภทของกระดาน : มี 3 ลักษณะคือ - กระดานทัว่ ไป แตละคนสามารถตัง้ กระทูไ ดหลายกระทู - กระดานหัวขอเดียวอยางงาย จะมีหัวขอเพียงหนึ่งหัวขอ และให ผูอ า น เขามาแสดงความคิดเห็น - หนึง่ คนหนึง่ กระทู แตละคนสามารถสรางกระทูไดเพียง 1 กระทูเ ทานัน้ √ วิธีใชกระดาน : เปนการชี้แจงเกี่ยวกับกระดานวามีจุดประสงคอยางไรและวิธีการใชกระดานใหนักศึกษา ทราบ √ อนุญาตใหสมาชิกโพสตในกระดานนี้หรือไม : เปนการกําหนดสิทธิใ์ นการตัง้ กระทูแ ละตอบกระทูใ ห กับสมาชิก กําหนดได 3 แบบ คือ - ตั้งกระทูได ตอบได นักศึกษาสามารถตัง้ กระทูไ ดและตอบกระทูไ ด

28

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

-

ตั้งกระทูไมได ตอบได นักศึกษาเขามาแสดงความคิดเห็นในกระทูท ส่ี รางขึน้ ได แตไมสามารถตั้ง กระทูเพิ่มเติมได - ตั้งกระตูไมได ตอบไมได นักศึกษาตัง้ กระทูไ มไดและตอบกระทูไ มได แตสามารถเขามาอานกระทูไ ด √ ทุกคนตองเปนสมาชิกกระดานนีเ้ ทานัน้ ? : กําหนดคุณสมบัตขิ องกระดานวาใหเขาไดเฉพาะสมาชิกหรือไม √ ขนาดของไฟลสูงสุด : กําหนดขนาดของไฟลสงู สุดทีส่ ามารถอัพโหลดไฟลเขามาได √ ตองการใหผูอานใหคะแนนโพสตนี้หรือไม : กําหนดการใหคะแนนสําหรับการโพสต กําหนดไดวา อาจารยเทานัน้ ทีส่ ามารถใหคะแนนไดหรือทุกคนสามารถใหคะแนนโพสได กําหนดมุมมองการดูคะแนนวา แตละคนเห็นเฉพาะคะแนนของตัวเองหรือใหเห็นคะแนนของทุกคน กําหนดวิธีการวัดคะแนน และชวงวัน เวลาทีเ่ ขาไปใหคะแนนได นักศึกษาสามารถเขากระดานเสวนาที่ผูสอนตั้งขึ้น เพือ่ ทีจ่ ะเขาไปสรางกระทูห รือตอบกระทูท ม่ี อี ยูไ ดตามสิทธิท์ ี่อาจารย กําหนดใหวา นักศึกษามีสทิ ธิท์ าํ อะไรกับกระดานเสวนานีไ้ ดบา ง ถาผูสอนตองการใหคะแนนจากการโพสต เมื่อนักศึกษา ทําการโพสตแลว อาจารยก็เขาไปทําการใหคะแนนได และนักศึกษาก็จะสามารถเห็นคะแนนของตัวเองไดจากการเขาไป ดูในกระทูท ต่ี วั เองไดตอบไปแลว

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

29

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

2.2 การบาน การบานใชสาํ หรับสัง่ งานใหนกั ศึกษาเขามาทํางานสงโดยสามารถสงงานผานเว็บไดเลย กําหนดรายละเอียดดังนี้ √ หัวขอการบาน : กําหนดชือ่ หัวขอการบาน √ รายละเอียด : กําหนดรายละเอียดการสัง่ งานหรือมอบหมายการบานใหเขามาทํา √ ประเภท : กําหนดใหนักศึกษาสงงานได 2 แบบ คือ - สงงานนอกเว็บ ใหนักศึกษาสงการบานถึงมืออาจารยโดยตรง - สงโดยใหอัพโหลดไฟล ใหนกั ศึกษาอัพโหลดไฟลการบานผานเว็บ √ อนุญาตใหสงการบานซ้ําอีกครั้ง : กําหนดใหนักศึกษาสงงานไดครั้งเดียวหรือสงงานซ้ําอีกได √ คะแนนที่ได : กําหนดคะแนนเต็มสําหรับการบาน √ ขนาดสูงสุด : ขนาดของไฟลสงู สุดทีอ่ นุญาตใหอพั โหลดได √ กําหนดสง : กําหนดวันสิน้ สุดของการสงการบาน

นักศึกษาสามารถเขาไปทําการบานไดโดยเขาไปอานรายละเอียดของการบานทีผ่ สู อนสัง่ งานมา ถาเปนการบานทีใ่ หสง นอกเว็บนักศึกษาก็ดูกําหนดวันสงและก็สงการบานกับตัวผูสอนเอง แลวผูส อนก็สามารถใหคะแนนผานเว็บไดเลย

ถาเปนการบานทีส่ ง โดยใหอพั โหลดไฟล นักศึกษาก็สามารถอัพโหลดไฟลเพือ่ สงงานใหผสู อนผานเว็บไดเลย

30

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

ผูสอนสามารถตรวจการบานของนักศึกษาแตละคนไดและใหคะแนนพรอมความเห็นเพิ่มเติมกับการบานนั้น การบานที่ นักศึกษาสงมายังเลือกใหแสดงตามลําดับของ ชื่อ นามสกุล แกไขครั้งสุดทาย และคะแนนทีไ่ ด

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

31

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

2.3 บทเรียน การเพิ่มบทเรียนเปนการนําเนือ้ หาบทเรียนเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ มาให นกั ศึกษาเขาศึกษาบทเรียน การเขาศึกษาบทเรียน จะศึกษาเปนขัน้ ตอน คือนักศึกษาเขาไปศึกษาเนือ้ หาบทเรียนในแตละหนาแลว จากนัน้ ก็จะมีคาํ ถามในหนานัน้ ถาม นัก ศึกษาจําเปนตองตอบเพื่อจะไดไปศึกษาหนาตอไป เมือ่ ตอบแลวก็จะไปยังหนาบทเรียนทีผ่ สู อนกําหนดใหวา ถาตอบถูก ไปหนาไหน หรือตอบผิดจะใหไปหนาไหน ไมจําเปนตองเรียงเปนลําดับก็ได อยูท ผ่ี สู อนจะกําหนด การตั้งคาบทเรียนทําได ดังนี้ √ ชื่อ : กรอกชื่อบทเรียนที่ตองการเพิ่ม √ คะแนนเต็ม : เปนคะแนนเต็มที่ใหจากการศึกษาบทเรียนทั้งหมด แตละหนาของบทเรียนจะคิดคะแนนใหเมือ่ เขาไปศึกษาบทเรียนแลวตอบคําถาม √ จํานวน คําตอบ/ทางเลือก สูงสุด : เปนจํานวนของตัวเลือกคําตอบ นัน่ คือจํานวนทางเลือกทีจ่ ะใหไปหนา ไหนบางเมือ่ ตอบคําถามแลว ถาเปนคําถามแบบถูก/ผิด ควรเลือกคาเปน 2 √ จํานวนครั้งที่ตอบสูงสุด : เปนจํานวนครั้งที่ใหนักศึกษาเขามาตอบคําถามในแตละหนาของคําถามในบท เรียน ใชไดกบั กรณีของคําถามแบบปรนัย ถาเปนคําถามแบบอัตนัยหรือเติมคําระบบจะผานไปหนาตอไปของ บทเรียนเลย ทุกคําถามของบทเรียนจะมีคาที่ตั้งไวเปนคาเดียวกันหมด √ เมื่อตอบคําถามถูกให : เมือ่ นักศึกษาตอบคําถามถูกแลวใหไปหนาคําถามตอไป ซึง่ การกําหนดใหไปหนาคํา ถามตอไปเลือกแสดงได 3 แบบ คือ 1. ปกติ : เรียนตามบทเรียนทีว่ างไว ใหนกั ศึกษาเขาไปศึกษาเนือ้ หาตามบทเรียนทีผ่ สู อนวางไว วา ตอบถูกใหไปหนาไหน หรือตอบผิดใหไปหนาไหน 2. แสดงหนาที่ยังไมไดเขาไปศึกษา ระบบจะแสดงหนาทีน่ กั ศึกษายังไมเคยเขาไปศึกษาเลย ถึงแม วานักศึกษาจะตอบคําถามผิด 3. แสดงหนาที่ยังไมไดตอบ นักศึกษาสามารถทีจ่ ะเขาไปศึกษาหนาทีย่ งั ไมเคยเขาไปตอบเลย √ จํานวนคําถามต่ําสุด : เปนการกําหนดคาจํานวนคําถามต่ําสุดที่ใหนักศึกษาเขาไปทํา สมมุติบทเรียนมีทั้ง หมด 5 หนา นักศึกษาเขาไปตอบคําถามถูกหมด ถาหากไมมีการตั้งคาจํานวนคําถามต่ําสุดไว นักศึกษาก็จะได คะแนน 5/5 หรือ 100% แตถาตั้งคาจํานวนคําถามต่ําสุดไว 20 คะแนนทีไ่ ดจะได 5/20 หรือ 25% √ จํานวนหนาที่ตองการแสดง : เปนการตั้งคาจํานวนหนาทั้งหมดในบทเรียนที่ตองการใหแสดงในกรณีของการ สรางบทเรียนทีไ่ มเรียงลําดับเนือ้ หากอนหลัง √ สมาชิก สามารถเรียนซ้ํา : เปนการกําหนดใหนักศึกษาสามารถเรียนซ้ําไดหรือไม ถากรณีที่ตองการเก็บ คะแนนก็ไมควรใหเรียนซ้าํ √ การคิดคะแนนการเรียนซ้าํ : กําหนดการคิดคะแนนจากคาเฉลีย่ หรือใชคา สูงสุด √ เริม่ ตัง้ แต : กําหนดวัน เวลาในการเขาศึกษาบทเรียน √ หมดเขต : กําหนดวัน เวลาสิน้ สุดในการเขาศึกษาบทเรียน

32

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

เมื่อกําหนดคาของบทเรียนแลว ทําการบันทึกการเปลีย่ นแปลง แลวจะกลับมาหนารายวิชา

จะเห็นหัวขอบทเรียนที่เราเพิ่มเขามา ทําการคลิกเขาไปเพื่อที่จะสรางบทเรียนไดเลย เมื่อเขาไปในบทเรียนแลวก็จะเห็นวา มีแบบฟอรมใหผสู อนสรางบทเรียนทีม่ ตี วั เลือกใหตอบอยูด ว ย ซึง่ ในบทเรียนหนึง่ ก็จะสามารถสรางจํานวนหนาบทเรียนได ตามความตองการของผูสอน การเพิ่มหนาบทเรียนสามารถกําหนดรายละเอียดไดดังนี้ √ หัวขอ : ชือ่ หัวขอเรือ่ งของเนือ้ หาสําหรับหนานี้ √ เนื้อหา : เปนสวนทีผ่ สู อนตองนําเนือ้ หาบทเรียนเขามาใหนกั ศึกษาอานแลว ทําการตั้งคําถามสําหรับเรื่องนี้ไว ตอนทายของเนือ้ หาดวย √ ประเภทของคําถาม : ผูส อนสามารถเลือกรูปแบบคําถามได 5 แบบ คือ แบบปรนัย ถูก/ผิด อัตนัย โจทย ตัวเลข และจับคู √ เช็คที่นี่สําหรับคําถามหลายคําตอบ/ ตองการใหระบบแยกตัวพิมพใหญเล็กเปนคนละตัว : เลือกที่นี่ใน กรณีที่คําตอบตองการใหตัวพิมพเล็ก/ใหญมีความหมายตางกันหรือคนละตัว √ ตัวเลือกที่ : เปนตัวเลือกใหเขียนคําตอบ แบบฟอรมตัวเลือกจะมีจํานวนเทากับคาที่ผูสอนไดตั้งไวในการเพิ่ม บทเรียน √ เมื่อตอบขอนี้ใหแสดงขอความวา.. : เมื่อนักศึกษาทําการเลือกตอบคําถามแลวขอความนี้ก็จะไปแสดงให เห็นกอนทีจ่ ะไปหนาตอไป 2.3.1 ประเภทของคําถามแบบปรนัย เปนการสรางหนาบทเรียนทีม่ กี ารถามคําถามใหตอบแบบปรนัย กอนทีจ่ ะไปบทเรียนหนาอืน่ ตอไป ในที่นี้เปนตัว อยางการสรางบทเรียนแบบปรนัย 4 ตัวเลือก โดยสรางเนือ้ หาพรอมคําถาม 3 หนา ใหแตละหนาชือ่ เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 และเรือ่ งที่ 3 ในการกําหนดเงื่อนไขการเขาศึกษานั้น จะกําหนดวาใหเขาศึกษาในเรื่องที่ 1 กอน แลวตอบคําถาม ถาตอบ ถูกก็จะใหไปศึกษา ในเรื่องที่ 2 และตอบคําถามในเรื่องที่ 2 ถูกตอง ก็จะใหไปศึกษาในเรื่องที่ 3 เมื่อตอบคําถามในเรื่องที่ 3 ถูกตอง ก็จะใหไปหนาจบบทเรียนเลย ทัง้ นีถ้ า ในแตละหนานักศึกษาตอบผิดก็จะใหอยูท เ่ี นือ้ หาหนาเดิ ม โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

33

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

สรางหนาบทเรียน หนาที่ 1 ใหชื่อหัวขอ เรื่องที่ 1

34

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

เมือ่ ทําการบันทึกแลว ในบทเรียนทีช่ อ่ื วา บทเรียนหัวขอที1่ จะมีหนาบทเรียน 1 หนา ชื่อเรื่องที่ 1

ผูส อนสามารถสรางเนือ้ หาเรือ่ งอืน่ ตอไปอีกไดโดยการคลิกทีเ่ มนู เพิ่มหนาคําถาม ตรงนี้ ซึง่ อยูด า นขวาบนและลางของ หนาคําถามทีส่ รางขึน้ แลวทําการสรางหนาบทเรียนเพิม่ อีก 2 หนา ใหชอื่ หัวขอ เรือ่ งที่ 2 และ เรือ่ งที่ 3 ตามลําดับ

การกําหนดเงือ่ นไขการเรียนในบทเรียนนัน้ ในแตละหนาของเนือ้ หาทีส่ รางขึน้ นัน้ สวนของตัวเลือกจะมีเมนู ไปยัง ซึ่งมีไว สําหรับใหกําหนดเงื่อนไขวา ถาเลือกตัวเลือกนี้จะใหไปศึกษาหนาไหน การเขาไปกําหนดเงื่อนไขแตละหนาคําถาม สามารถแกไขไดในภายหลังได ในที่นี้จะกําหนดเงื่อนไขโดยใหศึกษาจากเรื่องที่ 1 ไปเรือ่ งที่ 2 และเรือ่ งที่ 3 โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

35

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

การแสดงบทเรียนนัน้ หนาบทเรียนทีส่ รางขึน้ หลังสุดจะแสดงใหเห็นเปนหนาแรกเมือ่ นักศึกษาเขาศึกษาบทเรียน ดังนั้น ควรเรียงลําดับเนื้อวาตองการใหหนาไหนแสดงกอน โดยคลิกเขาไปในบทเรียนเพื่อไปเรียงหนาเนื้อหาใหมได ตอไปเปน การแสดงการเขาศึกษาบทเรียนสําหรับนักศึกษา เมือ่ คลิกเขาสูบ ทเรียนแลวจะเห็นเนือ้ หาบทเรียนหนาแรกดังรูปขา งลาง

ศึกษาเนื้อหาเรื่องที่ 1 แลวทําการตอบคําถาม

ตอบคําถามผิด

เมื่อคลิกตอไปก็ยังกลับมาอยูที่เนื้อหาเรื่องที่ 1 เหมือนเดิม ลองตอบคําถามใหมอีกครั้งโดยตอบขอที่ถูกตอง ระบบก็จะ แสดงเนื้อหาหนาใหมซึ่งเปนเรื่องที่ 2 ใหศกึ ษาตอไป

36

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

เมือ่ คลิกตอไปจะเห็นวามาถึงเนือ้ หาหนาตอไป ซึ่งเปนเรืองที่ 2 นักศึกษาก็สามารถเขาศึกษาบทเรียนตอไปจนจบบทเรียน แลวจะแสดงคะแนนทีไ่ ดจากการศึกษาบทเรียนนัน้

ผูส อนสามารถเขาไปดูคะแนนของนักศึกษาทีเ่ ขาไปศึกษาบทเรียนไดที่เมนู

ในสวนของการจัดการระบบ

แสดงคะแนนที่นักศึกษาไดทํากิจกรรมทั้งหมด

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

37

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

2.3.2 ประเภทของคําถามแบบถูก/ผิด เปนการสรางหนาบทเรียนใหมกี ารตอบคําถามแบบถูก/ผิด เมื่อศึกษาบทเรียนแลวใหตอบคําถามวาถูกหรือผิด จึง จะผานไปศึกษาบทเรียนหนาตอไป

การแสดงผล

38

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

2.3.3 ประเภทของคําถามแบบอัตนัย เปนการสรางหนาบทเรียนใหมีการตอบคําถามแบบอัตนัย เมื่อศึกษาบทเรียนแลวใหตอบคําถามแบบเติมคําในชอง วาง ถาตอบถูกจึงจะผานไปศึกษาบทเรียนหนาตอไป

การแสดงผล

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

39

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

2.3.4 ประเภทของคําถามแบบโจทยตวั เลข เปนการสรางหนาบทเรียนใหมีการตอบคําถามแบบโจทยตัวเลข เมื่อศึกษาบทเรียนแลวใหตอบคําถามลงในชอง วาง ถาตอบถูกจึงจะผานไปศึกษาบทเรียนหนาตอไป

การแสดงผล

40

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

2.3.5 ประเภทของคําถามแบบจับคู เปนการสรางหนาบทเรียนใหมีการตอบคําถามแบบจับคู ซึ่งอาจจะตั้งคําถามไวใหจับคูหลายคู เมื่อศึกษาบทเรียน แลวใหตอบคําถามโดยการจับคู จึงจะใหผา นไปศึกษาบทเรียนหนาตอไป

การแสดงผล

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

41

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

2.4 บันทึกความกาวหนา บันทึกความกาวหนาเปนกิจกรรมที่มีไวสําหรับใหผูสอนและนักศึกษาเขามาทําการเขียนบันทึกตางๆ หรือผูส อนอาจ จะสั่งงานใหนักศึกษาเขามาตอบคําถามสงผูสอน แลวผูสอนเขามาดูบันทึกของนักศึกษา และทําการใหคะแนนได กําหนดคาตางๆ ดังนี้

√ √ √ √

ชื่อบันทึกความกาวหนา : กรอกชื่อของบันทึก คําถาม : คําถามหรือประเด็นที่ตองการใหนักศึกษาเขามาตอบหรือรายงานความกาวหนาใหกบั ผูส อน คะแนนที่ได : กําหนดจะใหมคี ะแนนหรือไม และคะแนนเต็ม วันที่เริ่มใหเขาอาน : กําหนดระยะเวลาทีเ่ ขามาอานหรือตอบคําถาม รายงานความกาวหนา

นักศึกษาสามารถเขาตอบคําถามหรือบันทึกความกาวหนาของตัวเองได ซึ่งแตละคนจะมีแบบฟอรมใหบันทึกขอมูล ของตัวเองคนละบันทึก และสามารถทําการปรับปรุงแกไขบันทึกของตัวเองได ในสวนของผูส อนก็สามารถเขาไปดูบนั ทึก ของแตละคนเพือ่ ใหคะแนนหรือแสดงความคิดเห็นเพิม่ เติมได

42

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

2.5 หองสนทนา หองสนทนาเปนแหลงที่ใหผูสอนกับผูเรียน หรือผูเรียนดวยกันเองไดเขามาสนทนากัน ซึ่งการสนทนาสามารถนัด หมายเวลาทีจ่ ะสนทนากันได การกําหนดคาตางๆ ดังนี้ √ √ √ √

ชื่อหอง : ตัง้ ชือ่ หองทีใ่ ชในการสนทนา คํานํา : เพิม่ รายละเอียดเกีย่ วกับประเด็นการสนทนา เวลาเสวนาครั้งตอไป : กําหนดเวลาในการสนทนาในครัง้ ตอไป เสวนาเรือ่ งนีซ้ าํ้ : กําหนดใหมกี ารสนทนาเรือ่ งนีซ้ าํ้ อีกหรือไม โดยจะสนทนาเวลาเดียวกันนีข้ องทุกวัน หรือ เวลาเดียวกันนี้ทุกสัปดาห √ บันทึกการเสวนาครั้งที่ผานมา : ใหบนั ทึกขอความการสนทนาครัง้ ทีผ่ า นมาไวกว่ี นั หรือไมมกี ารลบขอความ การสนทนา √ ทุกคนสามารถดูการเสวนาครั้งที่ผานมาได : กําหนดใหทคุ นสามารถดูการสนทนาครัง้ ทีผ่ า นมาไดหรือไม

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

43

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

2.6 แบบทดสอบ ผูส อนสามารถสรางแบบทดสอบเพือ่ ใหนกั ศึกษาเขาทําแบบทดสอบได ซึง่ แบบทดสอบจะมีใหเลือกหลายรูปแบบ คือ แบบปรนัย ถูก/ผิด อัตนัย แบบโจทยตัวเลข จับคู คําอธิบาย คําถามแบบสุม สุมสรางคําถามจับคูจากอัตนัย และเติมคํา ในชองวาง โดยการตัง้ คาแบบทดสอบดังนี้

√ √ √ √ √ √ √ √ √ 44

ชื่อ : กรอกชือ่ ของแบบทดสอบ คํานํา : กรอกรายละเอียดเกีย่ วกับแบบทดสอบ เริม่ ทําแบบทดสอบได : กําหนดวันเวลาทีใ่ หเขาทําแบบทดสอบได หมดเวลาการทําแบบทดสอบ : กําหนดวันเวลาสิน้ สุดในการเขาทําแบบทดสอบ เวลาในการทําแบบทดสอบ : กําหนดระยะเวลาในขณะทําแบบทดสอบวามีเวลาทํากีน่ าทีหรือไมจาํ กัด สลับคําถาม : กําหนดใหแบบทดสอบมีการสลับคําถามหรือไม สลับคําตอบ : กําหนดใหแบบทดสอบมีการสลับคําตอบหรือไม จํานวนครั้งที่ใหตอบ : กําหนดใหเขาทําแบบทดสอบไดกค่ี รัง้ หรือไมจาํ กัด อนุญาตใหทําตอจากครั้งที่แลว :อนุญาตใหเขาทําแบบทดสอบตอจากครัง้ ทีแ่ ลวหรือไม โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

√ วิธีตัดเกรด : การตัดเกรดคิดจากคะแนนที่ไดสูงสุด คะแนนเฉลีย่ คะแนนครัง้ แรก หรือคะแนนสุดทาย √ ตองการใหแสดง feedback หลังตอบคําถามหรือไม : กําหนดใหแสดง feedback หลังตอบคําถามหรือไม √ ตองแสดงคําตอบ ใน feedback หรือเปลา : กําหนดใหแสดงคําตอบ ใน feedback หรือไม ถาแสดงจะเปน การเฉลยคําตอบในแตละขอ √ ใหดูแบบทดสอบไดหลังวันสุดทายที่ใหทําแบบทดสอบ : ใหนกั ศึกษาเขาดูแบบทดสอบทีต่ วั เองทําไดหลัง วันสุดทายทีใ่ หทาํ แบบทดสอบหรือไม √ คะแนนเต็ม : กําหนดคะแนนเต็มสําหรับแบบทดสอบ √ ตองใสรหัสผาน : กําหนดรหัสผานในการเขาทําแบบทดสอบ √ ตองมีที่อยูเน็ตเวิรก : กําหนดทีอ่ ยูข องเครือ่ งทีต่ อ งการใหนกั ศึกษาใชทาํ แบบทดสอบวาต องเปนเครื่องที่อยูใน วงของเครือขายที่กําหนดไวเทานั้น เชน 203.158 หมายถึง เครื่องที่ใชทําแบบทดสอบไดตองอยูในวงของเครือ ขายที่มี IP ขึ้นตนดวย 203.158 แตไมสามารถกําหนดเปนตัวหนังสือได เชน example.com เมือ่ ทําการตัง้ คาแบบทดสอบเรียบรอยแลว ทําการคลิกที่ ขัน้ ตอไป ก็จะไปทีห่ นาแบบฟอรมใหสรางคําถามเขาไปในแบบ ทดสอบ ซึ่งคาที่ไดกําหนดในแบบทดสอบกอนหนานี้จะยังไมเก็บคาจนกวาจะทําการคลิกที่ปุม บันทึกแบบทดสอบใน ตารางดานซาย

จะเห็นไดวา แบบทดสอบทีส่ รางขึน้ ยังไมมคี าํ ถามอยูเ ลย ดังนั้นผูสอนตองทําการสรางคําถามขึ้นมา ซึ่งสวนของการสราง คําถามจะอยูในตารางดานขวา สวนรูปแบบของคําถามมีใหเลือกไดหลากหลาย คือ แบบปรนัย ถูก/ผิด อัตนัย แบบโจทย ตัวเลข จับคู คําอธิบาย คําถามแบบสุม สุมสรางคําถามจับคูจากอัตนัย และเติมคําในชองวาง ครัง้ แรกทีเ่ ขามาขอแนะ นําใหสรางประเภทของคําถามกอนแลวจึงสรางคําถามเก็บไว เพือ่ งายตอการนําไปใชและเปนหมวดหมู ซึ่งคําถามที่สราง ขึ้นจะถูกเก็บไวเปนคลังคําถามที่สามารถเรียกนําไปใชไดกับแบบทดสอบอื่นไดดวย ทําการสรางประเภทโดยคลิกทีป่ มุ แกไขประเภท แลวกําหนดประเภทและขอมูลของประเภทแบบทดสอบ กําหนดใหคนอืน่ นําคําถามไปใชไดหรือไม

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

45

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

เมือ่ ทําการบันทึกประเภทแลว ก็สามารถเลือกประเภทที่ไดสรางขึ้นมาเพื่อเก็บคําถามได ทําการสรางคําถามใหมดังนี้

2.6.1 การสรางคําถามแบบปรนัย เลือกการสรางคําถามใหมแบบปรนัย ทําการกรอกชื่อคําถาม ใสคําถาม เลือกคําตอบที่ถูกตองคําตอบเดียวหรือ หลายคําตอบ ตัวเลือกจะมีให 10 ตัวเลือก ใหใสตวั เลือกตามจํานวนทีต่ อ งการ ใส Feedback เพือ่ ตอบกลับ แลวใส คะแนนในตัวเลือกที่ถูกตอง

46

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

เมือ่ ทําการบันทึกการเปลีย่ นแปลงแลวจะคําถามแบบปรนัย 1 ขอ ซึง่ สามารถแกไขและลบคําถามทีส่ รางขึน้ ได 2.6.2 สรางคําถามแบบ ถูก / ผิด เลือกสรางคําถามแบบ ถูก / ผิด ทําการตั้งชื่อคําถาม ใสคําถาม แลวกําหนดคําตอบที่ถูกตองวาคําถามนี้ถูกตอง หรือไม ใส Feedback เพือ่ ตอบกลับ

เมือ่ ทําการบันทึกการเปลีย่ นแปลงแลวจะมีคาํ ถามแบบ ถูก / ผิด เพิ่มขึ้นมา 1 ขอ ทั้งหมดก็จะมีคําถามเปน 2 ขอ โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

47

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

2.6.3 สรางคําถามแบบอัตนัย เลือกสรางคําถามแบบอัตนัย ซึ่งคําถามแบบอัตนัยนั้นคําตอบตองเหมือนกับเฉลยทุกตัวอักษรจึงจะถูกตอง แต ระบบจะมีตวั เลือกทีเ่ ฉลยให 10 ตัวเลือกดังนั้นอาจจะเพิ่มคําตอบมากกวา 1 ตัวเลือก ใหเปนตัวเลือกที่คําตอบใกลเคียง เชนพิมพผิดบางอักษร อาจจะใหคะแนน 70 % ก็ได ถากําหนดตัวเลือกเดียวตองใหคะแนนตัวเลือกทีถ่ กู ตองเปน 100 % เทานั้น

เมือ่ ทําการบันทึกการเปลีย่ นแปลงแลวจะมีคาํ ถามแบบ อัตนัย เพิ่มขึ้นมา 1 ขอ ทั้งหมดก็จะมีคําถามเปน 3 ขอ 2.6.4 สรางคําถามแบบโจทยตวั เลข เลือกสรางคําถามแบบโจทยตัวเลข คําถามแบบนีเ้ หมาะสําหรับคําตอบทีเ่ ปนตัวเลข หรือตัวตัวเลขคําตอบที่ยอมรับ ใหถูกตองได เชนคําตอบที่ถูกตอง คือ 125 แตผูสอนอาจจะมีตัวเลือกความคาดเคลื่อนของคําตอบใหไดวา +/- เทาไร ตัว อยางเชน กําหนด +/- ไวท่ี 1 ดังนั้นคนที่ตอบ 124 กับ 126 ก็ถูกตองเชนกัน 48

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

เมือ่ ทําการบันทึกการเปลีย่ นแปลงแลวจะมีคาํ ถามแบบโจทยตวั เลข เพิ่มขึ้นมา 1 ขอ ทั้งหมดก็จะมีคําถามเปน 4 ขอ

2.6.5 สรางคําถามแบบจับคู เลือกสรางคําถามแบบจับคู กําหนดคาโดยตั้งชื่อคําถาม ใสคําถามซึ่งบอกรายละเอียดเกี่ยวกับคําถาม ในสวนของ คําคาม1 คําถาม2 จนถึง คําถาม10 ซึ่งเปนคําถามยอยนั้น ใหใสคําถามและจับคูกับคําตอบเปนคู ในคําถามจับคูชุดนี้ ตองใสคําถามยอยที่เปนคูอยางนอย 3 คู ระบบจึงจะยอมใหสรางคําถามแบบจับคู สวนคะแนนจะมีนาํ้ หนักเทากันทุกขอ เชน ในหนึ่งขอใหญมี 10 ขอยอย แตละขอยอยจะมีน้ําหนักเปน 10 % ของคะแนนขอใหญนั้น

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

49

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

เมือ่ ทําการบันทึกการเปลีย่ นแปลงแลวจะมีคาํ ถามแบบจับคู เพิ่มขึ้นมา 1 ขอ ทั้งหมดก็จะมีคําถามเปน 5 ขอ

50

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

2.6.6 สรางคําอธิบาย เลือกสรางคําอธิบาย คําอธิบายนี้ไมใชคําถาม แตเปนการเพิ่มบทความหรือเนื้อหาลงไป เพื่อใหนักศึกษาเขามา ศึกษาประกอบการทําแบบทดสอบ

เมื่อทําการบันทึกการเปลี่ยนแปลงแลวจะมีขอที่เปนคําอธิบายเพิ่มมา 1 ขอ ทั้งหมดก็จะมีคําถามเปน 6 ขอ 2.6.7 สรางคําถามแบบสุม การเลือกคําถามแบบสุมนี้ ใหเลือกคําถามที่มีอยูแลวในประเภทใดก็ได ระบบจะทําการเลือกคําถามในประเภททีไ่ ด เลือกมา 1 คําถาม ซึ่งสามารถใชคําถามแบบสุมรวมกับคําถามทั่วไปได

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

51

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

เมื่อทําการบันทึกการเปลี่ยนแปลงแลวจะมีคําถามแบบสุมเพิ่มมา 1 ขอ ทั้งหมดก็จะมีคําถามเปน 7 ขอ 2.6.8 สรางคําถามแบบสุม สรางคําถามจับคูจ ากอัตนัย ในการสรางคําถามรูปแบบนีจ้ ะตองมีคาํ ถามแบบอัตนัยในประเภททีเ่ ลือกอยางนอย 2 ขอ ระบบจะทําการสุม คําถาม จกคําถามอัตนัยทั้งหมดตามจํานวนที่ระบุเอาไว แลวนํามาสรางเปนคําถามจับคู 2.6.9 สรางคําถามแบบเติมคําในชองวาง คําถามแบบเติมคําในชองวางนี้ตองอาศัยโคดพิเศษในการเขียนเพื่อใหมีตัวเลือกเปนดรอปดาวนเมนูหรือเปนชอง วางใหเติม เมื่อสรางคําถามไดตามที่ตองการแลว ตอไปเปนการนําคําถามเขาไปในแบบทดสอบทีไ่ ดสรางไวตง้ั แตตอนตน ซึ่ง แบบทดสอบยังไมมีคําถามอยูเลย

52

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

การนําคําถามเพิม่ เขาไปไนแบบทดสอบทําได โดยเลือกคําถามที่ตองการนําเขาไป หรือจะเลือกทัง้ หมดก็ได เมื่อทําการ เลือกขอทีต่ อ งการนําเขาไปในแบบทดสอบแลวจากนัน้ คลิกทีป่ มุ << เพิม่ คําถามทีเ่ ลือกไวลงแบบทดสอบ คําถามทั้งหมด ทีเ่ ลือกก็จะไปบรรจุในแบบทดสอบ

จากนัน้ ยังทําการจัดการกับคําถามในแบบทดสอบได คือ ลบ แกไข เรียงลําดับขอใหม และใหน้ําหนักคะแนนกับคําถาม แตละขอ เมือ่ ใหคะแนนแตละขอแลวตองทําการบันทึกคะแนนดวย เมือ่ ทําการจัดการกับแบบทดสอบเรียบรอยแลว ก็ทํา การคลิกที่ปุม บันทึกแบบทดสอบ ก็จะไดแบบทดสอบ พรอมทีจ่ ะใหนกั ศึกษาเขามาทําแบบทดสอบได

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

53

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

อรรคเดช โสสองชั้น

นักศึกษาสามารถเขาทําแบบทดสอบได โดยคลิกทีล่ งิ กหวั ขอทีผ่ สู อนสรางขึน้ ใหเปนแบบทดสอบ เมื่อเขามาจะเห็นชื่อ แบบทดสอบและคําอธิบายการทําแบบทดสอบ

เขาทําแบบทดสอบโดยการคลิกทีป่ มุ ทําแบบทดสอบตอนนี้

เมื่อนักศึกษาทําแบบทดสอบแลว ก็บนั ทึกคําตอบ เพือ่ สงแบบทดสอบ ระบบก็จะทําการตรวจแบบทดสอบให และ แสดง คะแนน พรอมกับ Feedback ตางๆ ถามีการตั้งคาไว

54

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อรรคเดช โสสองชั้น

คูมือการใชงาน Moodle (เวอรชัน 1.4.2): สําหรับผูสอน

แสดงคะแนนแบบทดสอบสําหรับผูส อน

โครงการการศึกษาไรพรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

55

Related Documents

Sutmoodle Manual
December 2019 4
Manual
May 2020 27
Manual
June 2020 26
Manual
November 2019 59
Manual
May 2020 40
Manual
October 2019 62

More Documents from ""