จุลสารเอเชียศึกษา
JOURNAL OF ASIAN STUDIES
เอกสารทางวิชาการลำาดับที่
3/2550
Document Paper No. 3/2007 โดย
โครงการเอเชียศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Centre of Asian Studies
Faculty of Social Sciences Chiang Mai University
[email protected] คำานำ า
จุลสารเอเชียศึกษาแต่ละฉบับมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำ า เสนอบทความ ต่างๆ ที่เป็ น ความคิดเห็นของนั กวิชาการทัง้ ในสถาบันเดียวกันและต่างสถาบัน สำาหรับในฉบับนี้ได้ ให้ ค วามสำา คั ญ กั บ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ทัง้ เอเชีย ตะวันออกเฉี ยงเหนื อและ เอ เชี ย ต ะวั น ออ ก เ ฉี ยงใ ต้ ใน มิ ติ ท า ง ประวัติศาสตร์และ สถานการณ์เศรษฐกิจ-การเมืองในปั จจุบัน
หากท่ า นผู้ อ่ า นประสงค์ จ ะส่ ง บทความมาลงพิ ม พ์ ทางกอง บรรณาธิการยินดีเป็ นอย่างยิ่งที่จะพิจารณาจัดพิมพ์ให้ในจุลสารฉบับต่อ ไป ทัง้ นี้ ใคร่ขอเรียนให้ทราบว่าจุลสารเอเชียศึกษาได้จัดทำา และเผยแพร่ ผ่ า น ท า ง เ ว ป ไ ซ ด์ www.soc.cmu.ac.th ตั ้ ง แ ต่ ฉ บั บ ที่ 2/2550 เป็ นต้นมา โดยมิได้จัดพิมพ์เป็ นรูปเล่มและมอบให้มหาวิทยาลัยต่างๆ ดัง เช่นแต่ก่อน
สุมภ์ สายจันทร์ เอเชียศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
[email protected]
รองศาสตราจารย์ ดร.โก ป ร ะ ธ า น โ ค ร งก า ร ค ณ ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์
สารบาญ
Growth and Inequality in the Development of Mekong Region ชาตินิยมแบบกษั ตริย์เขมร ปั ญหาความยากจนในกัมพูชา
Growth and Inequality in the Development of Mekong Region* Associate Professor Dr. Kosum Saichan Asian Studies Center
Chiang Mai University
Historical Background The Mekong River is one of the most important
rivers in Southwest China and continental Southeast Asia, traversing the 6 riparian countries of the Greater
Mekong Sub-region or GMS (Vietnam, Cambodia, Laos PDR, Thailand, Myanmar and Yunnan province of China) and thus serving as the central thread and
common element for the sub-region. Its significance is further amplified by the fact that over 60 million inhabitants reside within the river basin boundaries. In
physical and ecological terms, the Mekong
River is the tenth largest river in the world, with a total
length of 4,200 kilometers, carrying 475,000 million cubic meters of water to the sea annually (Buapun 2004: 4).
The origin of the River is in the Tibetan
Himalayas, flowing southward through China, passing the north of Myanmar, its watershed encompassing almost all of Laos, northeast Thailand, most of Cambodia and the Mekong Delta of Vietnam.
In terms of institutions or common governance
bodies negotiating for countries interests and their
common attempts to protect the river comprises of three
institutions; these are the Mekong Committee, the Great Mekong Sub-region Program and the ASEAN.
Major plans of cooperation for the development of
the Mekong River for multi-purposes such hydropower, flood control, navigation and irrigation began as far back as half a century ago. In 1951 the then Economic
Commission for Asia and the Far East (ECAFE) conceived of a grand scheme for Mekong development which eventually led to
__________________________
* paper presented at the International Symposium on “The Regional Network in East Asia” on March 24, 2007 at Niigata University, Japan
the establishment in 1957 of the Mekong River Committee (MRC) to coordinate the investigations of the lower part of this important river basin.
The
members of this committee included Laos, Thailand, Cambodia and Vietnam.
and ideological conflicts
Due to many years of wars
among the riparian countries
from the 1960s to the 1980s, various plans, especially
those within the mainstream river section, were not able to be implemented.
Large-scale, region-wide schemes
were revived with the end of hostilities in the region
following the conclusion of the Cambodian peace
accords in the early 1990s which enabled economic growth, development, cooperation and integration to
take place more readily. The MRC was reincarnated in the 1990s when the four countries, namely Thailand,
Vietnam, Lao PDR and Cambodia signed the “Mekong Agreement” in 1995.
This agreement covers various
aspects of cooperation on the management of water
resources. It also established the Basin Development Plan (BDP) and criteria governing water utilization and environmental protection.
Mekong Region under GMS Program After the reform and the collapse of the Soviet
Union, international donors became increasingly present in the region, especially from the 1990s. Among these, the Asian Development Bank (ADB) has played a
crucial role. One important body invented by the ADB
is now known as the Greater Mekong Sub-region Program (GMS).
The GMS Program which already has a track
record of 15 years started off rather slowly but in recent years has increased in prominence leading up to
a summit meeting of all GMS leaders in November
2002.
Ministerial-level meetings have been held on a
yearly basis.
The thrust of the GMS Program has been
predominantly
focused
so
far
on
promoting
and
facilitating economic and infrastructure development by integrating the countries in the sub-region with a system
of transport and economic networks and corridors, energy grids and power interconnections, facilitation of cross-border movements of goods and people as well as telecommunications linkups.
However the recently
2004-2008
the
approved Regional Cooperation Strategy and Program, acknowledges Program
(RCSP)
potential
especially
environmental accordingly.
issues
under
risks
related and
to
GMS
associated
plans
equity, to
Program
with
social
address
the
and
these
Mekong Region under ASEAN Since its establishment in 1967 with its original
five member countries, namely, Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore and Thailand, the organization
has doubled its membership to now include the ten countries of Southeast Asia when Brunei Darussalam,
Cambodia,
Lao
PDR,
Myanmar
subsequently joined its ranks.
and
Vietnam
ASEAN holds summit
meetings of its leaders annually with regular meetings convened at the ministerial, senior officials and working levels correspondingly basically to its three broad areas of cooperation as follows:-
a) political/security, b)
economic, and c) socio-cultural or essentially the nonpolitical and non-economic areas.
The summit held in Bali, Indonesia in October
2003 agreed to establish an ASEAN Community by the
year 2020 in line with what was espoused in the ASEAN Vision 2020 adopted by the leaders back in 1997.
This ASEAN Community would rest on three
pillars, namely, an ASEAN Security Community, and
ASEAN Economic Community and an ASEAN SocioCultural Community. stipulations
is
for
Under the latter, one of the
the
Community
to
intensify
cooperation in addressing problems associated with ‘environmental degradation and transboundery pollution as well as disaster management in the region to enable
individual members to fully realize their development potentials and to enhance the mutual ASEAN spirit’. The organization has finalized its next six-year plan to realize the medium-term goals of ASEAN Vision 2020.
ASEAN had set up an ASEAN Mekong Basin
Development Cooperation (AMBDC) in June 1996 comprising all member states of ASEAN as well as China.
The purpose of this forum is to mainly foster
economically sound and sustainable development of the Mekong Basin through the establishment of economic
partnership and linkages between the riparian and nonriparian members of the forum.
China has been a
dialogue partner of ASEAN since 1996 and the Mekong River Basin features quite prominently as a priority area
in the various frameworks of cooperation between the two
sides,
otherwise.
be
it
political/security,
economic
or
ASEAN-China’s current close and cordial relations
offers
a
window
of
opportunity
for
constructive
engagement efforts to tackle the more sensitive issues pertaining to the Mekong Basin such as the upstreamdownstream
water
sharing
issues
including
a
comprehensive basin-wide assessment of the benefits
and costs of dam construction and operations and navigation channel modifications.
In this regard,
precedence has been set in another similar case in the
South China Sea where some lessons could perhaps be drawn. The South China Sea has, until very recently,
been a source of friction and confrontation revolving
primarily around sovereignty issues over territorial and marine resources.
In this connection, the Spratly Islands chain has
been a zone of dispute and contention over the past decades among half a dozen claimant parties bordering
the area, namely China, Taiwan, Philippines, Vietnam, Malaysia and Brunei Darussalam, the latter four of
which are member states of ASEAN. The South China Sea is of geo-strategic importance due to its location
straddling vital sea lanes for both commercial and military vessels. resources
and
It is also rich in marine natural
the
underlying
seabed
purportedly
contains deposits of hydrocarbons including oil and natural gas.
The Managing of Potential Conflicts in the South
China Sea project began in 1990. It comprises of a
series of annual workshop sessions cum research studies with the associated establishment of relevant technical working groups to address specific issues, and was led
by Indonesian and Canadian institutions with initial financial
support
from
the
Canadian
International
Development Agency (CIDA). The project held its 13 workshop in September 2003.
th
The fundamental
objective of this project is to reduce potential conflicts
among the parties concerned by undertaking joint or cooperative
initiatives
that
would
then
create
an
environment conducive to building trust and confidence
so as to enable them to resolve the conflicts or prevent them from occurring.
It was decided at the outset that the forum of
discussion should not be a formal or inter-governmental
one as that would more likely lead to deadlocks and stalemates.
The approach taken became known as the
Track 2 mechanism within ASEAN circles as opposed to the Track 1 process which is the traditional and official
forum
with
accredited
representatives
of
sovereign parties making known the official position on the issues concerned.
Track 2 or informal diplomacy
has no official standing and its decisions are therefore
non-binding among the state parties and the participants,
who can be government officials, academics, researchers and experts but become engaged in their personal and
individual capacities only. These features allow a freer flow of ideas and discussion on some of the contention
and sensitive matters with less concern and restriction of necessarily expressing an official stance or position on some of the issues.
Some of the potential disputes and conflicts that are likely to appear or intensify
within the Mekong Basin in the coming years include
upstream-downstream riparian issues and in particular
the distribution or allocation of water for multiple uses between countries, within a country or even between population groups as well as the possible environmental
and social impacts of various development schemes on the millions of people who depend on the Mekong River system for their livelihoods.
According to
Apichai (2004:9) it could now be a timely moment to
start putting in place some confidence building and cooperative measures as well as mediation and dispute
settlement mechanisms for the entire Mekong Basin. In this regard, the South China Sea case, especially its Track 2 process could serve as a model for developing
a similar framework for the transboundary cooperative management of freshwater and related resources among
the riparian countries. In fact, attempts are being made to explore the possibility of undertaking a South China Sea Track 2 approach to help resolve some of the water sharing and utilization issues in the Mekong Basin.
Growth and Poverty; Issues of Development in the Mekong Region
All economies of the Mekong Region have high
rates of performance in that they all sustain a relatively high rate of economic growth.
Even Thailand which
was hit badly by the crisis in 1997, recovered sooner than was forecasted by international agencies such as the IMF and World Bank.
The issue is whether such
growth can be translated into development, especially to reduce poverty.
This issue is particularly challenging
for the countries which have just stepped away from
their socialist regimes and entered into a new global market.
Whether growth can be translated in order to
reduce poverty is associated with three themes that will be discussed below (Buapun 2004: 13-14 ).
Hydropower, Water, Growth and Environmental
Impacts
Economic growth
Mekong
concern.
River is
in the countries
also
provoking
along the
environmental
These concerns are linked to the fact that
‘livelihoods’ of the poor are dependent on natural resources, therefore any changes in environmental
conditions will mean lasting impacts on their level of wellbeing.
This
issue
is
prominent
in
debates
concerning dam construction or the hydropower industry that has been growing in the region. From upstream to
downstream of the Mekong River, there are construction
and planned construction of dams. Along the Lancang River (Chinese name for Mekong River ) there are
currently 14 dam projects, some in the planning stages and others are under construction.
The construction of a dam in Lancang River will
not only cause negative impacts to downstream people,
but also to local people living in Yunnan. Farmland has been flooded and people were forced to move from their
homes
without
proper
consultation
or
compensation. Similar events have happened elsewhere including the construction of dams in tributaries of the
Mekong River in Lao PDR. Therefore it appears that the growth generated by hydropower from most dams in the region is at the expense of the poor, especially the marginal minority.
In the northeast of Thailand, dam construction is at present subjected to public protests. This is especially apparent in the cases of Pak Mun Dam and Rasri Salai Dam in the Mun and Chi Rivers, the largest tributaries of the Mekong River in the northeast. In the case of Pak Mun, the Electric Authority of Thailand proposed to build a multipurpose dam (for hydropower and irrigation) in Ubolratchathani Province. Villagers whose livelihoods are dependent on fishing in the river staged a long protest, demanding the state to compensate their loss of income from fishing. After very long negotiations with the state, the Thai government finally agreed to compensate for the loss of income from fishing. The dam gates are also open for 4 months a year during rainy season. The negative impact of dam construction does not
only adversely affect people in the construction site, but also people downstream.
The construction of dams
upstream causes irregularity of water levels in the Tonle Sap and the Mekong Delta.
More importantly, the
decrease in the amount of water flows in the Mekong
Delta causes the invasion of salty water that destroys rice and other plants growing in the Mekong Delta. Cross-border Mobility and Poverty
Amidst the economic growth, trans-border mobility
of the population in the Mekong Region has been increasingly evident.
This can be seen as the transfer
of poverty from one place to another.
In the case of
Thailand, it has been argued that the prime force driving of mobility of the population from the Northeast
of Thailand to Bangkok is its chronic poverty. For the past two decades migrants search for lucrative jobs overseas, such as Malaysia, Singapore, Taiwan, South Korea, etc.
Recently, there has been also migration
related with trans-national marriage. A great number of women seek to marry with foreign men, and the idea behind this is to escape from poverty.
Based on a report from the ADB, migration in the
Mekong
Region
economic growth.
has
been
increasing
along
with
In Vietnam it was reported that as
many as 700,000 people are unofficially reported to migrate from rural to urban centres (Ngugen 1998 cited
in Buapun 2004: 15) and most of them are heading for
Ho Chi Minh City and Hanoi. Migration across border from Lao PDR, Cambodia, Myanmar and Yunnan to
Thailand is prevalent, and many emigrants work illegally.
Over
30,000
young
people
from
Sawannakhet, a southern province of Lao PDR, may
have entered Thailand without official documentation
Nguen 1998 cited in Buapun 2004: 15) and most of them are heading for Ho Chi Minh City and Hanoi.
Migration from Cambodia into Thailand is also
evident.
745,000
Since 1979 Thailand has housed a total of
Cambodian
refugees,
of
whom
510,000
returned home and 235,000 resettled in third countries. Since the re-opening of
Poipet-Aranyaprathet crossing
point in 1992, it has drawn over 70,000 people to
migrate to this area, resulting in shanty towns swelling. In recent years there
were seven luxury casino
businesses open on the Cambodian side. A number of people
commute
across
the
border
to
work
in
Aranyaprathet, and in the opposite way, a number of labourers from Thailand are working in the luxury casinos. Many people from these countries immigrate to work in different industries and businesses.
Cross border migration of people in this region is
closely associated with human trafficking. The victims
of human trafficking are usually women and children, and the trafficking is usually destined for the sex industry, forced labour and begging.
Trafficking of
women for prostitution is particularly concentrated
around border provinces such as Poi Pet and Koh Kong.
Human trafficking is also domestic pervasiveness.
A
number of reports show that women and child sex
workers in these countries have been increasing along
with economic growth (UNICEF 1998, Le Bach 1999 cited in Buapun 2004:15). These reports also argue that
women are increasingly being tricked into migrating by
the traffickers, agents, friends or being kidnapped (IOM 1999).
Growth, Poverty and Inequality Economic growth of the countries in the Mekong
Region is relatively high.
The current records of
economic growth of Lao PDR, Cambodia, Vietnam,
Thailand, Myanmar and Yunnan are 5.9 % (2003), 5.5% (2002), 7.1% (2003), 5.2% (2002), 6% (2002), 6.5 %(2002) respectively. Growing alongside economic growth is socio-economic inequality. Thailand is widening.
Inequality in
For the past four decades
although income per capita and GDP per capita steadily
increased, gaps of income between the rich and the poor do not change in the same manner. Similar trends are
starting to emerge in other countries of the Mekong
Region. In Vietnam, for instance, inequality appears to
be rising sharply.
Regional disparity in China, i.e.
between inner land of Yunnan and the East designated a special economic zone is also evident.
The growing inequality manifested in terms of
differing levels of income is indeed the ‘outcomes’ of
many factors, especially those institutions embedded in unequal social structures.
New laws ensuring the
‘market mechanism’ have been promulgated.
The
socialist institutions of the past that were believed to
ensure equity distribution are being abandoned and dismantled. In Vietnam, for instance, decollectivization
has raised concern over its negative impacts on particular groups such as women, the elderly and children.
Conclusion At the intra-regional level, development programs
initiated by the Mekong River Committee and the Greater Mekong Sub-region still put emphasis on the
building of infrastructure, especially the promotion of the hydropower industry. development
is
mainly
Within the domestic sphere, associated
with
institution
building to draw and facilitate investment from outside.
Therefore central issues of concern in the Mekong Region
are
the
impact
of
development
on
the
environment, trans-border mobility and the growth of inequality.
All of these issues need to be adequately
addressed by policy makers and institutions to ensure
the successful development of the Mekong Region as a whole.
References
Apichai Sunchindah. 2004. “In Search of Paradigm for Durable Coexistence and Cooperation in relation to Sustainable and Equitable Management of a Transboundary River System and Its Natural Resources: The Case of the LancangMekong Basin”, paper presented at the International Symposium on “ The Changing Mekong: Pluralistic Societies Under Siege”, 28-29 July 2004, Khon Kaen, Thailand. Buapun Promphakping. 2004. “Development and Poverty in the Mekong Region”, paper presented at the International Symposium on “ The Changing Mekong: Pluralistic Societies Under Siege”, 28-29 July 2004, Khon Kaen, Thailand. International Organization of Migration (IOM) Report , 1999
Le Bach, Dong. 1999. Children in Prostitution in Northern Vietnam: Rapid Assessment Findings.
Nguyen, T.H. 1998. Population Redistribution Policy and Migration Trends in Future.
UNICEF.
1998.
Vietnam: Past Present and
Mobile
Populations
Vulnerability: Approaches to Applied Bangkok.
and
Research.
HIV
ชาตินิยมแบบกษั ตริย์เขมร
สายจันทร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ . ดร . โกสุ ม ภ์ โ ค ร ง ก า ร เ อ เ ชี ย ศึ ก ษ า
หากการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ผ่านทางวรรณกรรมของประเทศหนึ่ งจะ ทำา ให้เ ราได้ รับ รู้ แ ละเข้ า ใจผู้ นำา และผู้ ค นของประเทศนั ้ น ๆ ได้ ม ากขึ้น การนำ า เสนอบทความในรูป แบบของการวิจารณ์ วิท ยานิ พนธ์ต่อ ไปนี้ ก็มีวัตถุป ระสงค์ เพื่อเรียนร้เู กี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างกัมพูชาถึงความเป็ น มาในอดีต วิสัยทัศน์ของกษั ตริย์กัมพูชาในสมัยพระนคร และสมัยหลังจากได้รับ เอกราชใหม่ๆ ซึ่งน่ าจะช่วยให้เข้าใจถึงบทบาทของพระประมุข และทวยราษฎร ชาวกั ม พู ช าในอดี ต ได้ ใ นระดั บ หนึ่ ง ผู้ เ ขี ย นจึ ง ขอนำ า เสนอบทความเรื่ อง “ชาตินิยมแบบเขมร” นี้ในลักษณะของการวิพากษ์วิทยานิ พนธ์ของนายธิบดี บัว คำาศรีเรื่อง “เอกสารมหาบุรุษเขมร : การศึกษางานเขียนประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ของกัมพูชา”
วิทยานิ พนธ์นี้เขียนขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2547 เพื่อรับปริญญาอักษรศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ความยาว 333 หน้ า เนื้ อหาของวิทยานิ พนธ์แบ่งออกเป็ น 7 บท บทแรกว่าด้วยวิธีการศึกษา วัตถุประสงค์ของการศึกษา สมมติฐาน และประโยชน์ท่ีจะได้รับ บทที่สอง กล่าวถึงสภาพของสังคมและอุดมการณ์ชาตินิยมของกัมพูชาใน
ช่วงทศวรรษที่ 1930-ค.ศ. 1955 โดยนำ าเสนอการจัดการศึกษาก่อนฝรั่งเศส เข้ามายึดครองเป็ นอาณานิ คม และภายหลังจากนั ้นว่าได้ส่งผลกระทบต่อผู้ท่ีได้ รับการศึกษาแบบใหม่อย่างไรบ้าง โดยเฉพาะในด้านความรู้สึกชาตินิยม ตามมา ด้วยการต่อสู้เพื่อเอกราชของนั กชาตินิยมเหล่านี้ในเวลาต่อมา บทที่ ส าม กล่า วถึ ง สั ง คมราษฎร์ นิ ย มของสมเด็ จ นโรดมสี ห นุ ใ นช่ ว งปี
1955-1969 ใ น แง่ ก าร ขย า ยตั ว ขอ งก า ร ศึ ก ษ า รู ป แบ บ ขอ งง า น เ ขี ยน
ประวั ติ ศ าสตร์ ส มั ย ใหม่ ท่ี มี ผ ลต่ อ งานเขี ย นประวั ติ ศ าสตร์ กั ม พู ช าในด้ า น รู ป ลักษณะของการเขียน เค้าโครงเรื่อง และเนื้ อความ บทที่ส่ี เป็ นการวิเคราะห์ลักษณะของเอกสารมหาบุรุษเขมรในแง่ผู้เรียบ เรียงชำาระ ประวัติการพิมพ์ ที่มาและลักษณะของเอกสาร บทที่ห้า เป็ นการศึกษาสาระของเอกสารมหาบุรุษเขมรที่กล่าวถึงเรื่องพระ มหากษั ตริย์กัมพูชา และประวัติความสัมพันธ์ของราชอาณาจักรกัมพูชาในอดีต กับสยามและเวียดนาม โดยได้กล่าวถึงการทำาสงครามกับพระนเรศวรของสยาม ด้วย บทที่ หก เป็ น การศึ กษาสาระของเอกสารมหาบุรุ ษ เขมรในส่ ว นที่ เ ป็ น เรื่องราวของขุนนาง สงฆ์ และชาวบ้านสามัญชนทัว่ ไป บทที่เจ็ด เป็ นบทสรุป ลักษณะและสาระของวิทยานิ พนธ์ เอกสารมหาบุรุษเขมร เขียนโดย เอง สด ได้ตีพิมพ์เผยแพร่เป็ นครัง้ แรก ในปี ค.ศ. 1969 ในลักษณะนิ ตยสารรวม 76 ตอน หลังจากนั ้ นในปี 1979 ก็มีการพิมพ์ซำา้ ในลักษณะพิมพ์เป็ นทัง้ หมด 2 เล่มจบ (volume) เอกสารนี้
จั บ ความตั ้ง แต่ แ ผ่ น ดิ น พระบาทพระองค์ เ จ็ ย (ครองราชย์ ค .ศ . 998-1048) จนถึงพระบาทนโรดม (ครองราชย์ ค.ศ. 1860-1904) รวมระยะเวลาทัง้ สิ้น ราว 907 ปี กล่าวถึงกษั ตริย์ 52 พระองค์ ความยาวทัง้ สิ้นราว 600 หน้ า นั บ
จนถึงปี 2004 มีการตีพิมพ์แล้ว 8 ครัง้ แต่ไม่ทราบจำานวนเล่มที่พิมพ์ แสดงว่า ได้รับความนิ ยมมาก ทัง้ ยังมีนัยว่ากัมพูชาขาดแคลนงานเขียนประวัติศาสตร์ยุค หลังพระนครระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 14-18
จึงเป็ นที่มาของวัตถุประสงค์
ในการศึกษาว่า สาระสำาคัญของเอกสารมหาบุรุษเขมรมีว่าอย่างไร มีความเกี่ยว โยงกับเอกสารอื่นหรือไม่ และผู้เรียบเรียงเรื่องนี้ มีลักษณะการนำ าเสนออย่างไร อะไรเป็ นสาเหตุของการเรียบเรียง และเรื่องนี้ ส่งอิทธิพลต่อความรับรู้อดีตของ ชาวเขมรอย่างไรบ้าง สมมติฐานของวิท ยานิ พนธ์เรี่ อ งนี้ ก็คือ เอกสารมหาบุรุษเขมรมีต้น เค้ า ของรูปแบบ และเนื้ อหามาจากงานเขียนประวัติศาสตร์แบบพงศาวดารในสมัย
จารีต (traditional) และสมัยอาณานิ คมของกัมพูชา แต่การเรียบเรียงและการ พิมพ์เ อกสารมหาบุรุษเขมรในสมัยที่กัมพูช าเป็ น เอกราชนั ้ น เป็ น ผลผลิตของ แนวคิดเรื่องชาติ ความเป็ นชาติ และชาตินิ ยม จึง เป็ น งานเขีย นประวัติ ศาสตร์ สมัยใหม่ของกัมพูชา ซึ่งแตกต่างจากงานเขียนประวัติศาสตร์แบบพงศาวดาร สั ง คมกั บ ความเคลื่ อนไหวทางความคิ ด ชาติ นิ ย มเขมรในทศวรรษที่ 1930-
1955
ธิบดีได้ให้ภาพการจัดการศึกษาของกัมพูชาในสมัยก่อนที่ฝรั่งเศสจะเข้า มา ซึ่ง มีวั ดเป็ น ศูน ย์กลางการศึ ก ษา และศิล ปวิท ยาการต่ า งๆ เช่ น เดี ย วกั บ รั ฐ พุทธเถรวาทอย่างไทยและลาว หลังจากฝรั่งเศสเข้ามาปกครองกัมพูชา ชาวกัมพูชาส่วนหนึ่ งจะได้รับการ สนั บ สนุ น ให้ ไ ด้ เ รี ย นภาษาฝรั่ ง เศสกั บ ชาวฝรั่ ง เศสโดยตรง บ้ า งก็ ไ ปเรี ย นที่ ไซ่ง่อน ต่อมาก็ได้ไปเรียนต่อที่ฝรัง่ เศส แต่จัดว่ามีโอกาสน้ อยกว่าชาวเวียดนาม โรงเรียนแบบฝรั่งเศสแห่งแรกในกัมพูชาเกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1873 ใน ระดั บ ประถมศึ ก ษา แต่ ฝ รั่ง เศสสนั บ สนุ น ให้ ช าวเวี ย ดนามเข้ า มาทำา งานเป็ น ข้าราชการ ภายใต้ระบบการปกครองอาณานิ คมในกัมพูชา มากกว่าจะผลิตชาว กัมพูชาเพื่อเข้ามาทำาหน้ าที่แทนชาวเวียดนาม
มีงานนำ าเสนอโดย Thomas Clayton ว่าที่เป็ นเช่นนี้ เพราะการต่อต้าน ฝรั่งเศสของชาวกัม พูช าที่นำา โดยสมเด็ จ พระนโรดม ซึ่ ง รวมไปถึ ง การต่ อ ต้ า น ภาษาฝรั่งเศสและโรงเรียนแบบฝรั่งเศส นอกจากนี้ ชาวกัมพูชายังไม่พอใจที่ลูก หลานของตนจะต้องเรียนร่วมกับชาวเวียดนาม จึงยังคงส่งลูกหลานไปเรียนที่วัด ชาวกั ม พู ช าจึ ง ขาดทั ก ษะด้ า นภาษาฝรั่ ง เศสซึ่ ง เป็ น คุ ณ สมบั ติ ท่ี จำา เป็ น ในการ ทำางานกับระบบการปกครองของฝรัง่ เศส กบฏต่อต้ า นฝรั่ง เศสเกิด ขึ้น ในหลายพื้ น ที่ หลั ง จากที่ ฝ รั่ง เศสบั ง คับ ให้ สมเด็จ พระนโรดมลงพระนามในสนธิ สั ญ ญา ค.ศ . 1884 เพื่ อ ให้ ฝรั่งเศสได้ สิทธิปกครองกัมพูชา ในเวลาต่อมา ฝรัง่ เศสต้องการล่ามเพื่อเป็ นตัวกลางระหว่างผู้ปกครองชาว
ฝรั่ ง เศสกั บ ข้ า ราชการชาวเขมร จึ ง ได้ มี ก ารตั ้ง วิ ท ยาลั ย ล่ า ม (College of
Interpreters) ขึ้นรวม 4 แห่งทัง้ ในกรุงพนมเป็ ญและเมืองอื่นๆ ตามมาด้วย
วิทยาลัยในอารักขา (College of Protectorate) เพื่ อ ฝี กคนออกมา ทำางานในระบบการปกครองท้องถิ่นของอาณานิ คม ฝรั่งเศสได้ขยายการจัดการด้านการศึกษามากขึ้นๆ เพื่อผลิตข้าราชการที่ จะดูแลด้า นการเก็บ ภาษี และการเกณฑ์แรงงานไปใช้ในกิจการต่า งๆ มิใ ช่การ จัดการศึกษาเพื่อปวงชน หรือเพื่อเปิ ดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมทางการ เมืองแต่อย่างใด อุดมการณ์ชาตินิยม ในช่ ว งแรกของการเป็ นรั ฐ อารั ก ขา ความสนใจของข้ า ราชการชาว ฝรั่งเศสที่มาปกครองจะอยู่ท่ีวงวัฒนธรรม จึงมีงานศึกษาด้านโบราณคดีคือการ สำา รวจโบราณสถาน การอ่านและตีความจารึก วรรณกรรม การแปลนิ ทานพื้ น บ้า น ประวัติ ศาสตร์ และกฎหมายฯลฯ ทำา ให้ มีช าวเขมรที่ ร่ วมงานกับ พวกคน กลุ่ ม นี้ ไ ด้ ถู กชั ก จู ง ให้ ม าร่ ว มงานด้ า นวั ฒ นธรรมด้ ว ย โดยช่ ว ยแปลเป็ น ภาษา ฝรัง่ เศสหรือตีพิมพ์งานของตนเองเป็ นภาษาฝรัง่ เศสและเขมร ในเวลาต่ อ มาเมื่ อกั ม พู ช าถู ก ปกครองในรู ป อาณานิ ค มในทศวรรษที่
1880 งานดังกล่าวก็ไม่ได้รับความสนใจอีกต่อไป และปล่อยให้เป็ นหน้ าที่ของ Ecole Francaise d’ Extreme-Orient—EFEO) ทำา ต่ อ ไปฝ่ ายเดี ย ว ส่งผลให้ชาวเขมรที่ทำา งานร่วมกับข้าราชการอาณานิ คมชาวฝรั่งเศสไม่ให้ความ สนใจกับการศึกษาวัฒนธรรมของตน
ปั ญญาชนชาวเขมรที่มีจำานวนน้ อยในช่วงทศวรรษที่ 1930 และ 1940 ไม่มีค วามขัดแย้งกับ ผู้ป กครองชาวฝรั่งเศส เพราะพวกเขาพูด และเขีย นภาษา เขมรก็แทบจะไม่ได้ ชาวเขมรส่วนใหญ่ยังคงไม่มีโอกาสเรียนรู้ในโรงเรียนแบบ ฝรัง่ เศส ชาตินิยมนครวัด
นครวัดในความรับรู้ของกษั ตริย์เขมรใน ค.ศ. 16-17 นั ้นเป็ นสถานที่
ศักดิส ์ ิทธิ ์ ต่างไปจากฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่19-20 ที่รับรู้นครวัดในฐานะ สถานที่สำาคัญทางประวัติศาสตร์ ในเวลาที่นครวัดดำา รงฐานะเป็ นสถานที่สำา คัญ สำาหรับเซ่นสรวงและจาริกแสวงบุญ ผู้ เ ขี ย นได้ เ ล่ า ถึ ง การเข้ า มาค้ น พบเมื อ งพระนครของชาวฝรั่ ง เศสตั ้ง แต่ กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็ นต้นมา นั บตัง้ แต่ บาทหลวง Bouillevaux ในปี
ค .ศ . 1850 Henri Mouhot ในตอนต้ น ปี 1860 จนถึ ง คณะสำา รวจทาง โบราณคดีแห่งอิน โดจีน ของฝรั่งเศส ซึ่งต่อมาได้เ ปลี่ ยนชื่ อเป็ น สำา นั ก ฝรั่งเศส แห่งปลายบุรพทิศ (Ecole francaise d’ Extreme- Orient--EFEO)
เขากล่าวว่า สนธิสัญญา ค.ศ. 1907 ซึ่งมีผลให้เสียมเรียบกลับมาอยู่ใน ความครอบครองของกัมพูชานั ้นเป็ นความต้องการของฝรั่งเศสมากกว่าชาวเขมร เพื่อครอบครองพระนครอีกครัง้ และได้ทำา การบูรณะโบราณสถานแห่งนี้ อ ย่า ง อุตสาหะมาก
John Tully ได้ ก ล่ า วว่ า “ ฝรั่ ง เศสไม่ ไ ด้ ค้ น พบเมื อ งพระนคร แต่
ฝรั่งเศสนำ าเมืองพระนครออกสู่สายตาของโลก และเหนี่ ยวรัง้ ความเสื่อมโทรมที่ จะนำ าไปสู่ความล่มสลายของเมืองพระนคร” มายาคติเรื่องพระนคร ธิบดีได้กล่าวถึงความสนใจในประวัติศาสตร์กัมพูชาว่า ค่อนข้างจำา กัดอยู่ แต่เ ฉพาะสมั ยโบราณโดยเฉพาะสมัย พระนคร ดูไ ด้ จ ากงานของ Lawrence
Palmer Briggs ซึ่งได้เสนอเค้าโครงของประวัติศาสตร์กัมพูชาว่าประกอบด้วย
5 ส มั ย คื อ Funan , Chenla, Kambuja or Angkor, Independent Cambodia และ French Protectorate โดยผู้ แ บ่ ง สนใจเฉพาะ 3 สมั ย
แรกจึงได้ตีพิมพ์หนั งสือชื่อ The Ancient Khmer Empire เมื่อปี 1950 ยุคกัมพูชาที่เป็ นเอกราชมักเป็ นที่รู้จักกันในชื่อว่า ยุคเสื่อม หรือยุคหลัง พระนคร เป็ นยุ ค มื ด ของประวั ติ ศ าสตร์ กั ม พู ช า และยุ ค มื ด ของงานเขี ย น ประวัติศาสตร์อีกด้วย ช่วง 1432-1864 นี้ แท้จริงก็เป็ น ช่วงที่ ถูกครอบครอง โดยสยามและเวียดนาม (อันนั ม) จึงไม่น่าจะใช่ยุคเอกราชอย่างแน่ นอน
ธิ บ ดี นำา เสนอว่ า สิ่ ง ที่ ข าดหายไปอั น นำ า ไปสู่ ก ารละเลย /ไม่ ส นใจเขี ย น ประวัติศาสตร์ยุคหลังพระนคร ไม่ใช่หลักฐานทางประวัติศาสตร์ แต่เป็ นทัศนะ วิพากษ์ เสียมากกว่า กล่าวคือ ทัง้ นั กวิชาการเขมรและต่า งชาติถูกครอบงำา โดย
พระนคร ทัง้ ในแง่ประเด็นศึกษา (subject) ตลอดจนความคิด ทัศนะมุมมอง ต่อประวัติศาสตร์กัมพูชา เรื่องของสองพระนคร การสนทนาแลกเปลี่ยนระหว่ า งฝรั่งเศสและกั มพู ช า เกี่ ย วกับ เรื่ อ งของ พระนครในวงกว้า งเกิดขึ้น เมื่อ มีก ารแปลงานของนั ก วิช าการชาวฝรั่งเศสเป็ น ภาษาเขมร เป็ น การทำา พระนครให้ เ ป็ น เขมร (khmerized Angkor) มี ก าร เขียนหนั งสือนำ า ชมเมืองพระนครเป็ น ภาษาเขมรโดยพุท ธศาสนบัณฑิตย์ใ นปี
1927 มีการออกวารสาร กัมพุชสุริยา อีก 1 ปี ต่อมา โดยได้มีการแปลและลง
พิ ม พ์ บ ทความ ของ Louis Finot ผู้ อำา นวยการสำา นั ก EFEO เรื่ อ ง กำา เนิ ด พระนคร (Origine d’ Angkor)
เป็ นภาษาเขมร ตามมาด้ ว ยงานของ
George Coedes เรื่อง ปราสาทโบราณในประเทศเขมร และ กษั ตริย์ผู้ย่ิงใหญ่
แห่งกัมพูชา :ชัยวรมันที่ 7 (Un grand roi du Cambodge: Jayavarman
VII) ตามลำาดับ
วารสารกัมพุชสุริยายังเป็ นเวทีสำา หรับ การตีพิมพ์ตำา นาน และนิ ท านพื้ น
บ้านเป็ นตอนๆ ส่วนที่เกี่ยวกับตำา นานเมืองและสถานที่ของเมืองพระนครมี 2 เล่ม ซึ่งได้มีบทบาทสำา คัญในการสร้างความรับรู้ และความทรงจำา ร่วมเกี่ยวกับ เมืองพระนครในหมู่ผู้อ่านชาวกัมพูชา ถึงแม้ว่านั กวิชาการจะปฏิเสธว่าไม่ใช่ข้อ เท็จจริงทางประวัติศาสตร์ก็ตาม
หลัง จากกั มพู ชาได้ รับ เอกราชในปี 1953 มีน วนิ ยายอิง ประวั ติ ศ าสตร์ ออกสู่ท้องตลาด จำานวนหนึ่ งเป็ นเรื่องประวัติศาสตร์ของกษั ตริย์และราชินีสมัย พระนคร ดังนั ้ น เรื่องของพระนครจึงเป็ น หัวข้อ สนทนาร่ว มกัน ของปั ญญาชน และชาวบ้าน แต่ในมุมมองและระดับที่แตกต่างกัน ผู้เขียนได้วิเคราะห์ว่าพระนครเมืองเดียวกันนี้ มีสองเรื่อง เรื่องหนึ่ งตาม แบบฝรัง่ เศสเป็ นที่นิยมในหมู่ผู้มก ี ารศึกษาที่ได้เถลิงอำานาจรัฐ เป็ นการกล่าวอ้าง ว่า กษั ต ริย์ เขมรคือ พระเจ้า ปทุม สุริย ะวงษ์ หรื อ พระบาทสุริย วรมั น ที่ 2 เป็ น ผู้ สร้างปราสาทนครวัด ส่วนอีกเรื่องหนึ่ งเป็ นเรื่องเล่าที่มาแต่เดิม ที่เชื่อกันว่าพระ พิษณุการเป็ นผู้สร้างปราสาทนครวัดในแผ่นดินพระเกตมาลา ซึ่งนำ าเสนอโดยผู้ มี ก ารศึ ก ษาที่ พ ยายามสร้ า งตั ว ตนขึ้ น และได้นำาเสนอเรื่องผ่านทางงานทาง อักษรศาสตร์ท่ีเกิดขึ้นใหม่ ไม่ว่าจะเป็ นแบบเรียน หรือนวนิ ยายประโลมโลก ซึ่ง ได้แพร่หลายกว่าพระนครแบบฝรัง่ เศส นั กชาตินิยมกัมพูชากับการต่อสู้เพื่อเอกราช
ในทศวรรษที่ 1940 ได้เกิดกลุ่มผู้ท่ีมีการศึกษาซึ่งมีความรู้สึกชาตินิยม พร้อมที่จะกำา จัดความอยุติธรรมอันเกิดขึ้นในระบบการปกครองอาณานิ คม ซึ่ง หมายถึ ง การที่ ช าวเขมรส่ ว นใหญ่ ยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ การฝึ กฝนให้ ทำา หน้ า ที่ ป กครอง ตนเอง ตำา แหน่ งหน้ า ที่ ใ นระดั บ สู ง และกลางยั ง คงเป็ น ของชาวฝรั่ ง เศสและ เวียดนาม ผู้ปกครองฝรัง่ เศสมีส่วนสำาคัญ ในการก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวทางการ เมืองของกลุ่มปั ญญาชน เมื่อมีการเดินขบวนในเดือนกรกฎาคม 1942 ในชื่อที่ รู้จักกันภายหลังว่า “สงครามร่ม” (Umbrella War) เพื่อประท้วงการจับกุม พระแฮม เจียว ในข้อหาวางแผนรัฐประหารโดยไม่ยอมให้ลาสิกขาก่อน ฝรั่งเศส
ตอบโต้ด้วยการใช้กองกำา ลังเข้ า สลายการเดิน ขบวนซึ่ งมี ผู้เ ข้า ร่ว มกว่า 1,000 คน และจับกุมแกนนำ าเอาไว้ได้ แต่ เซิง ง็อก ทัญ หลบหนี ไปลีภ ้ ัยอยู่ท่ีญ่ีป่น ุ ได้ เขาเป็ นผู้ร่วมก่อตัง้ หนั งสือพิมพ์รายสัปดาห์ “นครวัด” ในปี 1936 เป็ น หนั งสือพิมพ์ท่ีได้รับยกย่องว่า เป็ นหมุดหมายสำาคัญของการปลุกชาวเขมรให้พ้น จากภาวะกึ่งหลับกึ่งตื่น เขาและเพื่อนร่วมก่อตัง้ อีก 2 คน เป็ นสมาชิกของพุทธ ศาสนบัณฑิตย์ซ่ึงเป็ นแหล่งรวมและเผยแพร่ผลงานของผู้ท่ีมีบทบาทสำา คัญใน การเคลื่อนไหวทางภาษาและอักษรศาสตร์เขมร “นครวัด” กลายเป็ นสัญลักษณ์ ของชาติ ความรู้สึกชาตินิยมในทางการเมืองและนั กชาตินิยมการเมืองกัมพูชาได้ รับอิทธิพลส่วนหนึ่ งมาจากชาตินิยมทางวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นก่อนหน้ านั ้น ช่วงเวลาที่กัมพูชาประกาศเอกราชในวันที่ 13 มีนาคม 1945 โดยการ
สนั บสนุ น ของญี่ ปุ่ น ซึ่ งเข้ า มาปลดอาวุ ธ ฝรั่ ง เศสทั่ ว ทั ้ ง อิ น โดจี น ในวั น ที่ 9
มีน าคม 1945 นั ้ น แม้จะยังคงอยู่ใ นการควบคุมของกองทัพญี่ ปุ่น แต่ก็เป็ น ช่ ว งเวลาที่ค วามคิ ด ชาตินิ ย มและการเคลื่ อ นไหวทางการเมื อ งของชาวเขมรมี โอกาสได้เบ่งบานอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน เมื่อฝรั่ง เศสกลับ เข้า มาอีก ครั ้งหลัง จากญี่ ปุ่ น ยอมแพ้ ใ นเดื อ นตุ ล าคมปี เดี ย วกั น นั ้ น ฝรั่ ง เศสได้ สู ญ เสี ย สถานะเดิ ม ไปแล้ ว จึ ง ต้ อ งยอมผ่ อ นปรนให้ กัมพูชาได้รัฐธรรมนูญและสิทธิในการตัง้ พรรคการเมือง ในขณะที่ฝรั่งเศสยังคง ควบคุมดูแลด้านการทหาร การคลังและการต่างประเทศ ในปลายปี 1953 ฝรั่งเศสซึ่งกำาลังเพลี่ยงพลำา้ ในสงครามกับเวียดนามได้ ยอมสละอำา นาจในการควบคุมกิจการทางการเงิน การคลังและการทหารให้แก่ กัมพูชา เว้นไว้เรื่องทางเศรษฐกิจบางประการ
การได้รับ เอกราชในปี 1953 ไม่ใ ช่ผลงานของ“ วีร บุรุษ แห่ งชาติ ” และ “พระบิดาเอกราชชาติ ” อย่างพระบาทสมเด็จพระนโรดมสีหนุเท่านั ้น พระองค์ เป็ น ตัวประกอบที่ไ ด้บ ทเล่น ในละครที่ ฝรั่งเศสเป็ น ทั ง้ นายโรง คนเขี ยนบท ผู้ กำา กับ การแสดง คนคัดเลือกนั ก แสดง และนั ก แสดงนำ า พระองค์จึ งไม่ใ ช่นั ก ชาตินิยมแบบที่กัมพูชาเคยมีมาก่อนหน้ านั ้น แต่เป็ นชาตินิยมที่ไม่ได้เป็ นไปเพื่อ แสวงหาเอกราชบริบูรณ์ แต่เป็ นไปเพื่อขับเคลื่อนประเทศชาติและประชาชนไปสู่ ความเป็ นสมั ย ใหม่ ประการต่ อ มา ชาติ นิ ย มของพระองค์ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ชาตินิยมที่อิงอาศัยกับประดิษฐกรรมทางภาษา และอักษรศาสตร์อันมีจุดเน้ น อยู่ท่รี าษฎร กับชาตินิยมที่อิงอาศัยอย่ก ู ับพระนครอันมีจุดเน้ นอย่ท ู ่ีกษั ตริย์ สังคมราษฎร์นิยมและงานเขียนประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของกัมพูชา เมื่อสมเด็จพระนโรดมสีหนุทรงสละราชสมบัตถ ิ วายสมเด็จพระราชบิดาให้ ทรงครองราชย์
เป็ นพระมหากษั ตริยเ์ มื่อวันที่ 13 มีนาคม ปี 1955 นั ้น ทรงตัง้ พรรคการเมือง ชื่ อ สั ง คมราษฎร์ นิ ยม เพื่ อลงเลื อ กตั ้ง ในเดื อ นสิ ง หาคมปี เดี ย วกั น ทรงใช้ พระองค์เองและกลไกของรัฐสลายพรรคการเมืองคู่แข่งจนสิ้นกำา ลัง พรรคของ พระองค์ได้ท่ีนั่งทัง้ หมดในสภาแห่งชาติในปี นั้น (รวมทัง้ การเลือกตัง้ ในเวลาต่อ
มาในปี 1958, 1962, 1966 ด้ ว ย ) พระองค์ จ ะทรงดำา รงตำา แหน่ ง นายก รั ฐ มนตรี บ้ า ง ประมุ ข แห่ ง รั ฐ บ้ า ง แต่ ท่ี สำา คั ญ ที่ สุ ด คื อ ทรงเป็ น สมเด็ จ พ่ อ ของ ประชาชนชาวกัมพูชาทัง้ ปวง ราษฎรสามัญมีบทบาทอย่างสำาคัญใน “สังคม” ของพระองค์ในฐานะเป็ น ที่มาของสิทธิธรรมของพระองค์ ได้มีการอ้างตำานานเรื่องพระบาทตรอซกแผอม ซึ่งเป็ นสามัญชนที่ได้ครองราชย์เป็ นพระเจ้ากรุงกัมพูชา ในฐานะปฐมกษั ตริย์ท่ี ทรงครองราชย์ในกรุงกัมพูชา พร้อ มๆ กับนำ า เสนอความคิดแบบใหม่ท่ี ว่า พระ ราชอำา นาจมิได้ผูกขาดอยู่แต่ผู้ท่ี กำา เนิ ดอย่างเทพ แต่ยังสามารถมาจากราษฎร สามัญ ทัง้ นี้ เพื่อพิสูจน์ ว่าพระองค์มาจากสามัญชน และราชวงศ์เขมรใหม่นั้น เป็ นประชาธิปไตยและได้รับการยอมรับโดยทัว่ ไป แนวคิ ด อั น เป็ นที่ ม าของ “ สั ง คม ” สอดคล้ อ งกั น กั บ แกนหลั ก ของ อุดมการณ์ทางการเมือง ข อ ง ส ม เ ด็ จ สี ห นุ คื อ พุ ท ธิ ก สั ง ค ม นิ ย ม (Buddhist Socialism) ห รื อ สังคมนิ ยมเขมร (Khmer Socialism) อาจอธิบายได้ว่า ผู้คนตามแนวอธิบาย แบบพุทธิกสังคมนิ ยมมีความเสมอภาคกัน จะต่างกันก็ด้วยคุณธรรมและการก ระทำาของคนผู้นั้น อย่างไรก็ตาม คนเหล่านั ้นก็ต้องมีกษั ตริยเ์ ป็ นเครื่องนำ าทาง ธิ บ ดี ไ ด้ อ้ า งงานของ David P. Chandler เรื่ อง The Land and
People of Cambodia (1991) ที่ ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ไ ว้ ว่ า พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง ใ ช้
ประวั ติ ศ าสตร์ เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการสร้ า งพุ ท ธิ ก สั ง คมนิ ย ม โดยทรงมองไปที่ พระนครและตี ค วามออกมาในทางที่ ว่ า พระนครเป็ น การแสดงถึ ง ความสอด บรรสานและความร่วมมือระหว่างผู้ปกครองและผู้อยู่ใต้ปกครอง (พระเจ้าชัยว รมันที่ 7 กับประชาชน) เป็ นต้นแบบของความสัมพันธ์สมเด็จพ่อสีหนุกับลูกๆ
ของพระองค์ (ประชาชน ) ในความสั ม พั น ธ์ แ บบนี้ แต่ ล ะคนในสั ง คมจะมี ที่ทางและหน้ าที่ของตนเป็ นการเฉพาะ ผู้ท่ีปฏิเสธแนวทางของพระองค์จะถูก พิจารณาว่า “ไม่ใช่เขมร” และ อาจจะถูกขังคุกในที่สุด การเชื่อมโยงกัมพูชาในปั จจุบันเข้ากับกัมพูชาในสมัยพระนคร โดยเฉพาะ อย่างยิ่งใน รัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เป็ นประเด็นที่ฝรัง่ เศสเน้ นอย่างมากในช่วงระหว่าง
ปี 1940-1945 ต่ อ มาสมเด็ จ พระนโรดมสี ห นุ ก็ เ ข้ า สวมแทนตำา แหน่ งของ ฝรั่งเศสในกัมพูชาหลังจากได้รับเอกราช และทรงจัดตัง้ พรรคสังคมราษฎร์นิยม
ขึ้น ทรงเปรียบพระองค์เองดังเช่นพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่ทรงพระปรีชาสามารถที่ จะนำ าประเทศชาติไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองเยี่ยงในอดีต การพัฒ นากัม พู ช าในสมั ย สั ง คมราษฎร์ นิ ย มจึ ง มี พ ระนครเป็ น ต้ น แบบ เป็ นตัวเปรียบเทียบ ภาพการใช้แรงงานเพื่อสร้างสาธารณูปการจึงเป็ นภาพที่ชิน ตาในสมัยนี้ และสมัยเขมรแดงปกครองหรือ สมัยกัมพูช าประชาธิป ไตย (ค.ศ.
1975-1979) ด้วย
การสร้างงานสาธารณูปการซึ่งเป็ นกรณี ยกิจสำาคัญของพระเจ้าชัยวรมันที่
7 จึงได้รับการสืบทอดจากสมเด็จพระนโรดมสีหนุ มีการสร้างถนน ทางรถไฟ
โรงเรียน โรงพยาบาล อ่างเก็บนำ ้ า ฯลฯ จำานวนมาก ความสำาคัญของพระนครยังสะท้อนผ่านทางภาพที่เป็ นวัตถุธรรมในสมัย นี้ ที่สำาคัญคืองานสถาปั ตยกรรม ช่วงเวลาหลังการได้เอกราชถูกมองว่าเป็ นช่วง เวลาของการสร้ า งชาติ ใ นทุ ก ๆ ด้ า น ภายใต้ ก ารนำ า ของพระองค์ อาทิ เ ช่ น วิมานเอกราช ซึ่งทรงโปรดให้สร้างขึ้นในปี 1956 เพื่อเป็ น อนุสรณ์ ในการเฉลิมฉลองในวันประกาศเอกราช โดยต้อ งมีลัก ษณะต้อ งตาม ปราสาทหินสมัยพระนคร พระองค์เป็ น ผู้รักชาติ ชาตินิ ยมของพระองค์นั้ น มีพระนครและราษฎร เป็ นองค์ประกอบอยู่ด้วย แต่พระองค์เองเป็ นภาพที่เด่นกว่าพระนคร และจะข่ม เอาราษฎรให้อยู่ภายใต้พระบารมี บทเพลงชาติช่ ือ “นครราช” ที่ทรงโปรดให้แต่ง ขึ้นจึงแบ่งออกเป็ น 3 บท บทที่ 1 สรรเสริญพระบารมีพระมหากษั ตริย์เขมร บท
ที่ 2 สรรเสริญการรจนาปราสาทเขมรโบราณ และบทที่ 3 สรรเสริญคุณของ เขมรซึ่งนั บถือพระพุทธศาสนา เอกสารมหาบุรุษเขมรซึ่งมีช่ ือรองว่า “พระราชพงศาวดารจากศาสตราใบ ลาน จริงแท้ไม่แกล้งกลาย” ถูกจัดโดยผู้เขียนวิทยานิ พนธ์ว่าเป็ นพงศาวดารฉบับ หนึ่ ง แต่เป็ นพงศาวดารของราษฎร์ (Private Chronicle) ไม่ใ ช่พงศาวดาร
ของหลวง (Royal Chronicle) โดยพิจารณาจากเนื้ อความที่มิได้กล่าวถึงแต่ กษั ตริย์เป็ น หลัก แต่มีเรื่องของผู้น้ อยคือ ขุนนาง พระสงฆ์ และราษฎรสามัญ คละเคล้ากันไป เอกสารมหาบุรุษเขมรได้เปิ ดช่องให้สามัญชนได้นับญาติกับกษั ตริย์ของ
พวกเขาได้ อย่างน้ อยก็ 2 พระองค์จากทัง้ หมด 4 พระองค์ท่ีได้นำา มาเรียบเรียง ไว้ในเล่มนี้ อย่างไรก็ตาม คติความเชื่อแบบของผู้น้อยก็ยังถูกควบคุมพื้นที่โดย มีคติความเชื่อแบบผู้ใหญ่กำากับอยู่ แม้จะมีบุคลิกของความเป็ นมนุษย์ แต่สิทธิ ธรรมของกษั ตริย์ก็อยู่ท่ีการบำาเพ็ญพระองค์ให้ต้องตามโบราณราชประเพณี ตัง้ อยู่ในทศพิศราชธรรม และทำานุบำารุงพุทธศาสนา ฯลฯ
สัมพันธไมตรีกบ ั ราชอาณาจักรเพื่อนบ้าน ได้มีการกล่าวถึงการทำาสงครามกับสยามไว้ด้วย แต่ก็เพียงแต่บอกว่าเป็ น หัวเมืองเขมรเดิมซึ่งไม่สามารถตีเอาชัยชนะได้ ได้แต่กวาดต้อนผู้คนกลับมา จึง ต่างจากพงศาวดารฉบับอื่นๆ ซึ่งเทิดทูนพระบรมเดชานุภาพของกษั ตริย์กัมพูชา ว่าสามารถปราบอริราชศัตรูได้อย่างราบคาบ สำา หรับ พระราชอาณาเขตของกัมพูช าตั ง้ แต่สมัยเริ่ มแรกไปจนถึง คริส ต์ ศตวรรษที่ 17 นั ้ น เอกสารมหาบุรุ ษเขมรให้ค วามสำา คั ญกล่ า วถึ ง ไว้ ม ากกว่ า พงศาวดารฉบับ อื่น ๆ โดยกล่า วถึง ประเทศเสี ย มหรื อ สยามสมั ย พระร่ ว งหรื อ พญาโรงเป็ น เอกราช แต่สิ้นสมัยแล้วสุโขทัยก็ต้อ งนำ า ส่วยสาอากรดอกไม้เ งิน ดอกไม้ทองมาถวายกรุงกัมพูชา สุโขทัยจึงไม่เคยมีเอกราชบริบูรณ์ เรื่ อ งพระร่ ว งนั ้ นสั มพั น ธ์ กั บ เรื่ อ งของดิ น แดน ก ล่ า วคื อ ดิ น แดน ประเทศไทยเกือบทัง้ หมดหรือทัง้ หมดนั ้นเป็ นดินแดนที่กษั ตริย์กัมพูชาทรงมอบ แก่พระร่วง ซึ่งเป็ นพระเชษฐาของพระองค์ สายสัมพันธ์ของความเป็ นพระญาติ วงศ์ของกษั ตริย์เขมร-เสียมขาดตอนไป เมื่อกษั ตริย์ลาวจากเชียงรายและสามัญ
ชน (ท้าวแสนปม) ได้แย่งชิงและครอบครองนครเสียมต่อจากวงศ์พระร่วง แต่ เขมรก็ไม่เคยคิดจะเอาดินแดนซึ่งเคยเป็ นเมืองขึ้นของตนกลับคืน มีแต่สยามที่มี แต่จะรุกรานกัมพูชา การกล่าวถึงการตัง้ รับการรุกรานของสยามนี้ มีอยู่หลายตอนในเอกสารฉบับนี้ ซึ่งล้วนแต่มีสาเหตุมาจากการที่สยามประสงค์จะได้ดินแดนของตนคืน นอกจากนี้ ยังมีการกล่าวถึงการที่ กษั ตริย์ไทยคือ พระนเรศวรทรงใช้ใ ห้ คนเข้ามาทำาคุณไสยและทำาลายสิ่งศักดิส ์ ิทธิป ์ ระจำาพระนคร มีการติดต่อครัง้ แรกระหว่างกัมพูชากับสยามในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าตากสินในปี 1768 ทัง้ ยังได้การกล่าวถึงพระเจ้าตากว่าทรงวิปลาสเสียจริตตามอย่างพงศาวดารไทย ในเอกสารมหาบุ รุ ษ เขมรยั ง ได้ พู ด ถึ ง ดิ น แดนและความสั ม พั น ธ์ กั บ เวียดนาม แบ่งออกเป็ น 2 แบบคือ แบบที่ญวณต้องพึ่งเขมร คือดินแดนที่ญวณ
ยืมไป และแบบที่เขมรต้องพึ่ง ญวณ โดยในปี ค.ศ. 1605 กษั ตริย์กัมพูช าคือ สมเด็จพระศรีสุริโยพรรณ ประสงค์จะผูก สัมพัน ธ์กับพระเจ้า กรุงเว้ จึงทรงขอ พระราชธิดาของพระเจ้ากรุงเว้มาเสกสมรสกับพระราชบุตรหัวปี ของพระองค์คือ พระชัยเชฏฐา เพื่อไว้คานอำานาจการคุกคามของเสียมหรือสยามซึ่งเข้ามายำ่ายีอยู่ บ่อยครัง้ จากนั ้นพระเจ้ากรุงเว้ก็แต่งราชทูตมาขอยืมดินแดนกัมพูชาไว้สำา หรับ ฝึ กทหารญวน 500 นายเป็ นเวลา 5 ปี เพราะในขณะนั ้ น ทรงมี ปั ญหากั บ พระเจ้ากรุงจีน ซึ่งทางกษั ตริย์กัมพูชาก็ทรงยินยอมด้วยความเชื่อที่ว่า “ถ้าเสียม ข่มเหงเรา เราจะได้ญวนเป็ นที่พ่ึง” ในตอนท้ายของบทได้กล่าวถึงสัมพันธภาพที่ เสื่อมทรามลงระหว่างเวียดนามกับกัมพูช าจนถึงขั น ้ ทำา สงครามกันในช่วงเวลา ใกล้เคียงกันนี้ แต่ต่างรัชกาลกัน โดยไม่ได้กล่าวถึงดินแดนที่เวียดนามยืมไปอีก
รูปแบบของงานเขียนประวัติศาสตร์สมัยใหม่ มีลักษณะสำาคัญคือ การแสวงหาและอธิบายสาเหตุของเหตุการณ์ โดยชี้ ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ในเชิงเหตุและผลของเหตุการณ์ ท่ีเกิดขึ้นในอดีต เน้ น ความสำา คัญของการอ้างอิงอย่างละเอียด และพิสูจน์ ข้อ เท็จจริงด้วยการอ้า งอิง และวิเคราะห์หลักฐาน
รูป แบบของงานเขี ยนประวั ติ ศ าสตร์ ส มั ย ใหม่ ท่ี สำา คั ญ ของกั ม พู ช ามี 4 แบบคือ
1. แบบเรียนประวัติศาสตร์
2. หนั งสือและบทความประวัติศาสตร์
3. เรื่องประโลมโลกประวัติศาสตร์หรือนวนิ ยาย 4. เรื่องเพรงหรือตำานาน
ถ้าจำาแนกโดยใช้ความรู้สึกชาตินิยมผู้ใหญ่-ผู้น้อย แบบเรียน ประวัติศาสตร์ และหนั งสือ และบทความประวัติศาสตร์กเ็ ป็ นงานเขียนประวัติศาสตร์แบบผู้ใหญ่ ส่วนเรื่องประโลมโลกประวัติศาสตร์และเรื่องเพรงก็เป็ นประวัติศาสตร์แบบผู้ น้ อย ผู้เขียนจำาแนกประเภทงานออกเป็ น 2 ประเภทคือ งานเขียน ประวัติศาสตร์ฉบับปั ญญาชน
(intellectuals ’history) (popular history)
และงานเขียนประวัติศาสตร์ฉบับประชาชน
โดยแบบ เรียนประวัติศาสตร์ รวมทัง้ หนั งสือและบทความประวัติศาสตร์เป็ นแบบแรก ที่ เหลือเป็ นแบบที่สอง พงศาวดารของกัมพูชาดำา เนิ นเรื่องตามอย่างงานเขียนประวัติศาสตร์ของ นั ก วิชาการฝรั่งเศส การแบ่งยุค สมัยก็เ หมือ นกันคื อ ก่อ นพระนคร พระนคร และหลังพระนคร โดยยุค หลังพระนครจะอิงกับพระราชพงศาวดารซึ่งเป็ น งาน เขียนประวัติศาสตร์แบบจารีตเป็ นหลัก จึงสันนิ ษฐานว่าคงเป็ นเพราะไม่มีจารึก ให้ทำาการศึกษาเหมือนสมัยพระนคร พงศาวดารจึงเป็ นหลักฐานสำาคัญ แม้จะมี หลักฐานของชาวตะวันตกเช่น นั กเดินทาง พ่อค้า หมอสอนศาสนา แต่มีความ สนใจที่ จ ะบั น ทึ ก ที่ จำา กั ด แม้ จ ะเชื่ อ ถื อ พงศาวดารไม่ ไ ด้ แ ต่ ฝ รั่ ง เศสก็ ม องว่ า เอกสารทัง้ หลายของเขมรเป็ นแหล่งข้อมูลที่สำา คัญยิ่ง เพราะพงศาวดารท้องถิ่น จะให้รายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์ได้อย่างต่อเนื่ องและประมวลเหตุการณ์นั้น ไว้ กล่าวได้ว่าพงศาวดารเป็ นรากเหง้าของงานเขียนประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เรื่อ งสมัยหลังพระนคร แต่ก็จะพบว่านั กวิชาการเขมรจะอ้างงานเขียนของนั ก
วิชาการฝรั่งเศสเสียมากกว่าจะไปอ่านต้นฉบับของพงศาวดารในภาษาเขมร งาน เขียนเหล่านั ้นเป็ นงานที่เขียนขึ้นใหม่ทัง้ หมด เป็ นการเขียนแบบนำ าเรื่องเดิมที่มี อยู่มาเล่าใหม่ และอ้างอิงงานของนั กวิชาการฝรั่งเศสอย่างมาก ยกเว้นเอกสาร มหาบุรุษเขมร เรื่องประโลมโลกประวัติศาสตร์ มีบทบาทอย่า งสำา คัญในการสร้างความ รู้สึกชาตินิยมให้เกิดขึ้นและถูกใช้เพื่อจุดมุ่งหมายทางการเมือง โดยเรื่องประโลม
โลกประวัติศาสตร์แบ่งเป็ น 5 ประเภทตามแกนเรื่องแบบชาตินิยมคือ ต่อต้าน ไทย ต่อต้านเวียดนาม ต่อต้านฝรัง่ เศส ต่อต้านสาธารณรัฐ และต่อต้านกษั ตริย์ ประวัติศาสตร์สำา หรับสมเด็จนโรดมสีหนุ คือบทเรียนที่ชีใ้ ห้เห็นถึงความ ผิดพลาดในอดีต และให้ข้อเตือนใจสำาหรับการดำาเนิ นไปสู่อนาคต รวมถึงใช้หยิบ มาประณามศัตรูของพระองค์คือไทย และเวียดนามอีกด้วย ผู้เขียนได้นำา พงศาวดารของประเทศกัม พูช าฉบับ กระทรวงศึก ษาธิก าร พิมพ์ปี 1952 กับพระราชพงศาวดารของประเทศกัมพูชา แต่งโดย โร โกวิท มา เปรียบเทียบว่าต่างก็ได้รับอิทธิพลจากงานเขียนของนั กวิชาการฝรัง่ เศส พงศาวดารของประเทศกัมพูชากล่าวถึงมูลฐานคือ ศิลาจารึก โรบากสัตร และบั น ทึ ก ของชาวต่ า งชาติ เป็ น การเล่ า เรื่ อ งตามลำา ดั บ กษั ต ริ ย์ โดยกล่ า วถึ ง กรณี ยกิจ พระราชพิธีต่างๆ และการณ์อ่ ืนใดที่เกี่ยวกับกษั ตริย์ เทวราชา บารครู และการสร้างวัด เอกสารหลักที่ใช้ในการเรียบเรียงหนั งสือเป็ นฝรั่งเศสทัง้ หมด โดยนั กวิชาการฝรั่งเศส ศักราช และศิล าจารึก ไม่มีหัวข้อ แยกอธิบายต่างหาก อย่างพงศาวดารของกระทรวงศึกษาธิการ หัวข้อจะแบ่งตามกษั ตริย์ท่ีครองราชย์ กรณี ยกิจ และเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น ในรัชสมัยนั ้นๆ ท้ายเล่มเป็ นตารางรายพระนามกษั ตริย์ รัชกาล และราชวงศ์ เอกสารมหาบุ รุ ษ เขมรของ เอง สด จะแบ่ ง ออกเป็ น 3 ยุ ค สมั ย ในช่ ว ง
2000 ปี ที่ ผ่ า นมา ได้ แ ก่ สมั ย ก่ อ นพระนครอั น สะท้ อ นความเก่ า แก่ ท าง
ประวัติศาสตร์อันยาวนาน สมัยพระนคร สะท้อนความเจริญรุ่งเรืองและความยิ่ง ใหญ่ และสมัยหลังพระนครซึ่งสะท้อนความวุ่นวาย สงคราม และความรักชาติ บ้านเมือง งานเขี ย นของ เอง สด พิ เ ศษตรงที่ มี รู ป แบบผั ง งานเขี ย นจารี ต แบบ พงศาวดาร เนื้ อหาคล้า ยกับ งานเขียนประวัติศาสตร์สมัยใหม่ คือ เกิดขึ้น ด้วย ความรู้สึกชาตินิยม และเขียนขึ้นใหม่ทัง้ หมด โดยเขียนแนะนำ า เรื่องเดิมมาเล่า ใหม่โดยอ้างอิงงานของนั กวิชาการฝรัง่ เศส เป็ นงานเขี ย นประเภทเรื่ อง ประโลมโลก และเรื่องเพรง เป็ นเรื่องผู้น้อยแทรกอยู่ในพื้นที่ของผู้ใหญ่ หรืออยู่ ในชาติเดียวกัน
บทส่งท้าย
เอง สด ใช้พงศาวดารฉบับวัดก็อมปงตรอฬาจเป็ นหลัก แล้วใช้พงศาวดาร
ฉบับ จวนและอื่น ๆ เสริมความใน 2 ลัก ษณะคื อ เสริ มความเรื่ อ งเดี ยวกัน แต่ ใจความของเรื่ อ งต่ า งกั น และเสริ มในส่ ว นที่ ฉ บั บ ซึ่ ง ใช้ เ ป็ น หลัก ไม่ มี ก ล่ า วถึ ง โดยได้ นำา ความจากพงศาวดารที่ ป รากฏในคั ม ภี ร์ใ บลานต่ า งๆ พร้ อ มทั ้ง มี ก าร ตีความด้วย ได้แก่ ศาสตราวัดก็อมปงตรอฬาจ ศาสตราวัดสิตฆู ศาสตราวัดเตรี ยลหรือโรบากสัตร ศาสตราวัดโกกกาก ศาสตราซึ่งมีเก็บรักษาอยู่ในพระราชบร รณาลัย และหนั งสือของท่านตาฑุจท่านยายพิน โดยสันนิ ษฐานว่าน่ า จะได้เริ่ ม รวบรวมศาสตราพงศาวดารฉบับต่างๆ เหล่านี้มาตัง้ แต่ปี 1960 แล้ว เหตุผ ลที่เ ลือกหรือไม่เ ลือ กที่ จ ะใช้พ งศาวดารฉบั บ ใดนั ้ น เอง สดได้ รั บ อิทธิพลของช่วงเวลาที่ตนกำา ลังเรียบเรียงซึ่งเป็ นสมัยสังคมราษฎร์นิยม สมเด็จ สีหนุทรงพยายามแสวงหาความสนั บสนุนจากประชาชนโดยตรง วิธีการหนึ่ งคือ การเผยแพร่ตำา นานเรื่องพระบาทตรอซ็อ กแผอมหรือ พระบาทองค์เ จ็ยซึ่งเป็ น สามัญชนที่ได้ทรงราชย์เป็ นพระเจ้ากรุงกัมพูชา และเป็ นต้นราชวงศ์กษั ตริย์ใน กรุงกัมพูชา เพื่อเชื่อมโยงพระองค์เองซึ่งสืบราชสันตติวงศ์มาจากพระบาทองค์ เจ็ยเข้ากับประชาชน อาจกล่าวได้ว่า เอง สด เลือกที่จะใช้พงศาวดารฉบับที่ก่อให้เกิดความรู้สึก ชาตินิยม และให้ผู้อ่านได้รถ ู้ ึงชาติกำาเนิ ดของประเทศตน ตลอดจนเพื่อให้สมเด็จ สีหนุทรงพอพระทัย เป็ นองค์ประกอบที่ไม่มีในงานเขียนแบบดัง้ เดิมของกัมพูชา แต่เป็ นองค์ประกอบที่สำาคัญในงานเขียนประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ผู้เขียนวิท ยานิ พนธ์ได้สรุปว่า เอกสารมหาบุรษเขมรเป็ นงานเขียนแบบ จารีตที่ถูกนำ ามาเล่าใหม่ โดยมีการเลือกเรื่องที่จะนำ ามาเล่า โดยมีชาติเป็ นผู้กำากับ โดยมีทัง้ ชาติท่ีเป็ นเจ้านาย และสามัญชน (ผู้น้อย) เรื่องที่นำามาจึงคละเคล้ากัน ไป มี ทั ้ง ประชานิ ย มพอๆ กั บ ทางการหรื อ ระดั บ พงศาวดาร โดยในช่ ว งคริ ส ต์
ศตวรรษที่ 14-17 มีสัดส่วนของเรื่ องราชพงศาวดารมากกว่า และกษั ตริย์ใ น ราชพงศาวดารมีค วามเป็ น มนุษย์มากกว่ากษั ตริย์ในราชพงศาวดาร และงาน เขียนประวัติศาสตร์อ่ ืนๆ สำาหรับผู้น้อยที่นำาเสนอก็มี 2 รูปแบบคือ พวกที่สนั บสนุนความยิ่งใหญ่ ของกษั ตริย์ กับอีกพวกหนึ่ งซึ่งเป็ นตัวแสดงนำ าเสียเอง ซึ่งมีจำานวนมากกว่าพวก แรก และมีความหลากหลายมากกว่าคือ มีทัง้ ขุนนาง พระสงฆ์ และสามัญชน ธิบดีเห็นว่าเรื่องนี้ เป็ นประวัติศาสตร์ท่ีเขียนโดยผู้น้อยหรือสามัญชน แต่ โครงเรื่องก็จะเป็ นแบบเดียวกับหนั งสือประวัติศาสตร์อ่ ืนๆ โดยเป็ นโครงเรื่องซึ่ง ฝรัง่ เศสเป็ นผู้วางไว้ แล้วผู้ใหญ่หรือกษั ตริย์ และผู้น้อยสามัญชนได้หยิบยืมมาใช้ เล่าเรื่องในเวลาต่อมา โดยไม่สนใจเรื่องจารึกหรืออักขระอย่างนั กวิชาการฝรัง่ เศส แต่ผู้น้อยจะเขียนประวัติศาสตร์ของตนในลักษณะที่เป็ นเรื่องที่สนุกสนานเร้าใจ ด่ า ว่ า ประเทศเพื่ อนบ้ า นที่ รุ ก รานกั ม พู ช ามาหลายร้ อ ยปี ก่ อ นอย่ า งไทยและ เวียดนามเสียมากกว่า เอกสารมหาบุรุษเขมรได้ช่ ือนี้ เพราะเนื้ อความเป็ นเรื่องเกี่ยวกับพระมหา กษั ตริย์ ขุนนางข้าราชการ และเสนาทหารที่มีความชอบในแผ่นดิน และเพื่อให้ ประชาชนร่วมชาติของเขาได้อ่านกัน ประชาชนอ่านแล้วจะได้รู้สึกว่า ตนเป็ นส่วน
หนึ่ งของเรื่องเล่าแบบชีวิตชาวบ้านที่เขียนไว้ในเอกสารมหาบุรุษเขมรด้วย มิใช่มี แต่เรื่องของเจ้านายแต่ฝ่ายเดียว มีข้อสังเกตว่า กษั ตริย์หรือผู้ใหญ่ในหนั งสือเล่มนี้ มีทัง้ ที่เป็ นกษั ตริย์ใน อุดมคติ เป็ นสถาบันประมุขของชาติ ในขณะเดียวกันก็มีก ษั ตริย์ท่ี มีความเป็ น มนุษย์มากกว่า อันเป็ นลักษณะที่พบได้ในสาวดารหรือเรื่องของผู้น้อย จึงทำาให้ หนั งสือเล่มนี้ต่างไปจากพงศาวดารฉบับอื่นๆ ในภาพรวม จั ด ได้ ว่ า เป็ น งานวิ ท ยานิ พ นธ์ท่ี มี คุ ณ ค่ า หากมี ก ารเผยแพร่ เพราะให้ข้อมูลเกี่ยวกับประเภทของพงศาวดารของกัมพูชา ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ได้มีก ารเก็บ ข้อมู ลอย่ า งลึก ซึ้ง พร้ อ มทั ้งวิ เ คราะห์ ด้ว ยความคิด ของตนเองโดย อาศัยทฤษฎีประกอบ สำา หรับผู้วิจารณ์ ซ่ึงไม่ใช่นักอักษรศาสตร์หรือนั กประวัติศาสตร์ แต่เห็น คุณค่าของงานวิทยานิ พนธ์นี้ในเชิงรัฐศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ตรงที่มีการนำ า เสนอรายละเอียดเกี่ยวกับกัมพูชาในยุคก่อนได้รับเอกราช อันจัด ว่ า เป็ น โอกาสอั น ดี แ ละมี น้ อ ยมากสำา หรั บ ชาวต่ า งชาติ ท่ี จ ะได้ รั บ รู้ บ ทบาทของ ปั ญญาชนในยุคเอกราช และบทบาทของสมเด็จนโรดมสีหนุกับสังคมชาตินิยม การนำ าเสนอข้อมูลด้านความสัมพันธ์ระหว่างไทย-กัมพูชา และเวียดนามกัมพูชาในอดีต หากได้รับการเปิ ดเผยอาจทำาให้คนไทยและคนเวียดนามไม่พอใจ นั ก ด้วยมีหลักฐานเขียนไว้แจ้งชัดว่ากัมพูชาเคยปกครองไทย และไทยตลอดจน เวียดนามเคยรุกรานกัมพูชาอยู่หลายครัง้ แต่ผู้วิจารณ์เห็นว่าเป็ นงานศึกษาที่ สมควรได้ รั บ การเผยแพร่ โดยลดทอนรายละเอี ย ดลงและใช้ สำา นวนภาษา ไทยธรรมดาที่อ่านง่ายกว่านี้ ทัง้ นี้เพื่อให้มก ี ารถกเถียงหาความจริงพร้อมทัง้ ทำาใจ กว้างในการยอมรับเอกสารทางประวัติศาสตร์ของประเทศเพื่อนบ้าน
เอกสารอ้างอิง ธิบดี บัวคำาศรี. เอกสารมหาบุรุษเขมร: การศึกษางานเขียนประวัติศาสตร์สมัย ใหม่ของกัมพูชา.
วิทยานิ พนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547.
ปั ญหาความยากจนในกัมพูชา*
รศ.ดร.อุดม เกิดพิบูลย์ หลักสูตรภูมิภาคศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภูมิหลังของปั ญหาความยากจน กัมพูชาต้องผ่านพ้นช่วงเวลาของความทุกข์ยากและวิกฤตที่มีผลตกทอด มาถึงการพัฒนาเศรษฐกิจและสวัสดิภาพของกัมพูชาทางเศรษฐกิจและสังคม คือ
(1)
การปกครองและการปฏิรป ู สังคมอย่างรุนแรงของกลุ่มเขมรแดงใน
ระหว่างปี 1975 -1979 ที่มีการทำา ลายล้างเผ่าพันธ์ุ ในขนาดที่ไม่เคยเกิดขึ้น มาก่อนในเอเชียอาคเนย์ การทำาลายล้างเผ่าพันธ์ุติดตามมาด้วยการทำาลายระบบ เศรษฐกิจ สังคมและทรัพยากรมนุษย์ เศรษฐกิจล่มสลาย ค่านิ ยมทางสังคมถูก ทำาลาย ทรัพยากรมนุษย์พินาศสิน ้ ประชากรในวันทำางานโดยเฉพาะที่เป็ นชายใน กลุ่มอายุ 40 – 44 มีเหลือเพียง 66 คน ต่อประชากรหญิง 100 คน บุคคลที่ มีการศึกษา นั กวิชาการ ครู อาจารย์ หรือแม้แต่บุคคลที่สวมแว่นตาก็ถูกกล่าวหา ว่าเป็ นปั ญญาชนก็กลายเป็ นเป้ าหมายของการทำาลายชีวิตด้วย
(2)
ความสับ สนและความไม่ ส งบทางการเมื อ งในช่ ว งเวลา 30 ปี ที่ ผ่านมา กัมพูชาต้องตกอยู่ในสภาพของเวทีของการต่อสู้และความขัดแย้งระหว่าง กลุ่มที่แสวงหาอำานาจทางการเมือง มีการใช้อำานาจบังคับให้ประชาชนย้ายถิ่นด้วย
เหตุผลทางด้านความมั่นคง เป็ นที่ประมาณว่า 100,000 คน กลายเป็ นผู้ไร้ท่ี อยู่อาศัย ประชากรไม่น้อยต้องกลายเป็ นคนทุพลภาพจากการต่อสู้และกับระเบิด
ประมาณว่ามีจำา นวนถึง 30 คน ต่อประชากร 1,000 คน การสูญเสียชีวิตของ ประชากรที่ เ ป็ นชายทำา ให้ เ กิ ด ครั ว เรื อ นที่ มี หั ว หน้ า ครอบครั ว เป็ นผู้ ห ญิ ง ใน
อัตราส่วนถึงร้อยละ 25 ของจำานวนครัวเรือนทัง้ หมด อดีตอันไม่สงบมีผลกระทบต่อการพัฒนาของกัมพูชาเป็ นอันมาก ทำา ให้ กัมพูชาเป็ นประเทศที่ยากจนที่สุดประเทศหนึ่ งของโลก นั บแต่ปี 1993 รัฐบาล เริ่มใช้มาตรการฟื้ นฟูและรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ในแผน
พั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมฉบั บ แรกสำา หรั บ ช่ ว งเวลา 1966 – 2000 เป้ า หมายที่ได้รบ ั ความสำาคัญในอันดับสูงก็คือการลดปั ญหาความยากจน ในช่วงเวลา ภายใต้ แ ผนพั ฒ นาฯ ฉบั บ นี้ ไ ด้ มี ก ารสำา รวจข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ความยากจนและ
กำาหนดรายได้ระดับยากจน (Poverty line) ที่อาศัยรายจ่ายที่เพียงพอดำารงชีพ ขัน ้ ตำ่า ที่มีระดับต่างกันสำาหรับประชากรที่อยู่ในกรุงพนมเปญ ประชากรที่อยู่ใน เขตเมืองของจังหวัดอื่นและประชากรในชนบท และด้วยเกณฑ์เช่นนี้จึงปรากฏว่า ในปี 1997 กรุงพนมเปญมีคนจน 9.9 % เขตเมือ งในจังหวัด อื่ น ๆ 10.7%
และเขตชนบท 79.4% ของประชากร และโดยเฉลี่ ย ทั ้ง ประเทศกั ม พู ช ามี ประชากรในข่ายยากจนอยู่ 39% ของประชากร ตัวเลขดังกล่าวแสดงว่าคนจน ของกัมพูชาส่วนมากอย่ใู นชนบท
* บทความนี้ เ ป็ นส่ ว นหนึ่ งของงานวิ จั ย เรื่ อง “ การเปลี่ ย นแปลงทาง
เศรษฐกิจ สังคม-วัฒนธรรมและการเมืองของกัมพูชาในปั จจุบัน” โดยได้รับการ สนั บสนุนด้านการเงินจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กลุ่มคนยากจนในกัมพูชาและแนวโน้ ม
คณะผู้ วิ จั ย ของสถาบั น CDRI ได้ สำา รวจต่ อ ไปเพื่ อ ทราบว่ า คนจนใน กัมพูชาประกอบด้วยกลุ่มชนประเภทใดบ้าง ผลการสำารวจมีดังนี้ (1) ชาวชนบทและเกษตรกรเป็ นกลุ่ ม ที่ ย ากจนที่ สุ ด ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด และ ประชากรส่วนใหญ่ของกัมพูชาอาศัยอยู่ในชนบท อย่างไรก็ตามแม้แต่ในเมืองก็ ยังมีคนจนและเป็ นที่คาดหมายว่า จำานวนคนจนในเมืองจะเพิ่มขึ้น เมื่อคนจนใน ชนบทอพยพเข้ามาหางานอาชีพในเมือง (2) คนไร้ ก ารศึ ก ษา ปรากฏว่ า ประชากรที่ มิ ไ ด้ รั บ การศึ ก ษามี สั ด ส่ ว น คนจนสูงที่สุด คือในปี 1996 มีคนในกลุ่มนี้ มีคนจนร้อยละ 41.7 เมื่อเปรียบ เทียบตัวเลขร้อยละของคนจนในระหว่างกลุ่มชนที่ได้รับการศึกษาในระดับต่างๆ
ก็ปรากฏว่า คนที่ได้รับการศึกษาในระดับประถมมีคนจนอยู่ร้อยละ 39.7 กลุ่ม มัธยมต้น ร้อยละ 23.8 และกลุ่มมัธยมปลายร้อยละ 12.4
(3)
ผู้ ห ญิ ง ผลของสงครามและความรุ น แรงทางการเมื อ งทำา ให้ ประชากรที่เป็ นชายต้องเสียชีวิตเป็ นจำา นวนมาก เหลือแต่ผู้หญิงที่ต้องประกอบ อาชีพหาเลีย ้ งครอบครัวและอยู่ในสภาพยากจน สำาหรับแนวโน้ มของปั ญหาความยากจน ได้มีการสำารวจอีกครัง้ หนึ่ ง หลัง ปี 1997 มีปรากฏว่าอัตราส่วนประชากรยากจนลดลงจาก 39 เป็ น 36% และ ในบริเวณเขตนอกเมืองของพนมเปญ คนจนลดลงจาก 37 เป็ น 30% และลด
ลงเล็กน้ อยในเขตชนบท แต่คณะผู้วิจัยของ CDRI ยังไม่สามารถให้ความเห็น ได้ว่าความยากจนได้ลดลงจริงหรือไม่ เพราะข้อมูลมีความคลาดเคลื่อนมาก และ มีบริเวณหลายแห่งที่มิได้รวมไว้ในกลุ่มตัวอย่าง เนื่ องจากเหตุผลทางด้านความ
มั่นคง อีกประการหนึ่ งความเชื่อมโยงระหว่างการเติบโตของ GDP กับการลด ลงของความยากจน มิใช่เป็ น สิ่งที่เ กิดขึ้นเองด้วยกลไกในระบบ ส่วนประกอบ ข อ ง ภา ค ก า ร ผลิ ต ที่ เ ติ บ โ ต แล ะลั ก ษณ ะข อ ง ก า ร เ ติ บ โ ต ก็ มี ผล ต่ อ ค ว า ม เปลี่ ยนแปลงของความยากจน การเติบโตทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในกัมพูชาใน ช่วงเวลานี้ ส่วนมากเป็ นภาค อุตสาหกรรมและภาคบริการที่มีการจ้างงานเพียง
ส่วนน้ อยของประชากรทัง้ หมด อัตราการเติบโตของการผลิตในภาคเกษตรยังไม่
เป็ นที่น่าพอใจ การเติบโตของ GDP ที่เกิดขึ้นอาจกล่าวได้ว่าเป็ นผลจากการจ้าง คนงานเข้ามามากขึ้นเท่านั ้น แต่ผลิตภาพ (Productivity) ของคนงานมิได้เพิ่ม ขึ้น และผลิตภาพของคนงานในภาคเกษตรกลับลดลงอีกด้วย ต้นเหตุของความยากจนในกัมพูชา
คณะผู้วิจัยของ CDRI ได้วิเคราะห์ถึงปั จจัยต้นเหตุของความยากจนใน
กัมพูชาและสรุปไว้ดังนี้ (CDRI 1999: 44 – 55)
(1) (2) (3) (4)
ความกดดันทางด้านประชากรต่อทรัพยากรธรรมชาติ ความขาดแคลนทรัพย์สินที่เป็ นปั จจัยการผลิต ความขาดแคลนการศึกษา ความขาดแคลนบริการรักษาสุขภาพอนามัย
(5)
ความไม่มั่นคงในชีวิตและทรัพย์สินที่เป็ นผลมาจากการไร้ กฎหมายและความเป็ นธรรม ความกดดันทางด้านประชากร นอกเหนื อจากอัตราการเพิ่มของประชากรที่ยังไม่ลดลงแล้วโครงสร้างทาง ด้ า นอายุ ของประชากรก็มี ผลต่อ การพัฒ นาเศรษฐกิ จ และปั ญหาความยากจน กล่าวคือ ประชากรกัมพูชาในกลุ่มอายุท่ี อ ยู่ในวัยทำา งานและมีส่วนร่วมในการ ผลิตของชาติ คือกลุ่มที่เกิดก่อนปี 1980 มีอยู่เป็ นจำานวนน้ อยเมื่อเปรียบเทียบ
กับกลุ่มที่เกิดหลังปี 1980 ที่เป็ นคนวัยร่น ุ ยังไม่เข้าสู่ตลาดแรงงานและเป็ นกลุ่ม ที่ยังต้องได้รับการเลีย ้ งดูจากคนกลุ่มแรก ต้นเหตุท่ีทำา ให้คนในกลุ่มที่อยู่ในวัน ทำา งานมีจำา นวนน้ อยก็คือ เหตุการณ์ ความรุนแรงในยุคเขมรแดงที่ทำา ให้คนใน กลุ่ ม อายุ นี้ เ สี ย ชี วิ ต ไปเป็ น จำา นวนมาก โครงสร้ า งของประชากรในลั ก ษณะนี้ ทำาให้อัตราส่วนของประชากรที่ต้องได้รับการเลีย ้ งดู (Dependency Ratio) มี ค่าถึงร้อยละ 45 ของประชากรทัง้ หมด (1995) ที่จัดว่าสูงมาก จากข้อมูลการก ระจายของความยากจนระหว่างครัวเรือนขนาดต่างๆ ปรากฏว่าครอบครัวยากจน ส่วนมากมีสมาชิกหลายคน และมากจนถึง 10 คน การมีประชากรเพิ่มและอัตราส่วนที่ต้องเลีย ้ งดูเป็ นตัวเลขสูงเช่นนี้ มีผลไปถึงความสำาเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจต่อไปข้างหน้ าหลายประการ คือ
(1) การมี ป ระชากรในกลุ่ ม อายุ น้ อยเป็ นอั ต ราส่ ว นที่ สู ง เป็ น
สัญญาณบ่งชีว้ ่าเกิดความกดดันต่อทรัพยากรการเกษตรในอนาคตที่จะต้องผลิต อาหารให้มากขึ้นให้เพียงพอกับความต้องการ เมื่อที่ดินที่มีอยู่ถูกใช้หมดไปแล้ว จะต้องนำ าที่ดินที่คุณภาพตำ่าลงไปมาทำา การเพาะปลูก และเป็ นที่ปรากฏว่า อัตรา ผลผลิตข้าวต่อพื้นที่เพาะปลูกของกัมพูชามิได้เพิ่มขึ้น และในบางพื้นที่ยังปรากฏ ว่าลดลงเสียอีก (2) อัตราเพิ่มของประชากรในกลุ่มอายุน้อย จะทำาให้จำานวนคนเข้า สู่ตลาดแรงงานเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล้ ซึ่งจะมีปัญหาว่าระบบเศรษฐกิจของ ชาติจะเติบโตและสร้างตำาแหน่ งงานในอัตราที่เพียงพอจะดูดซับคนงานเหล่านี้ ได้ หรือไม่ ในเรื่องนี้มีทางเป็ นไปได้ 2 ทาง คือ
(1) ถ้ า ระบบเศรษฐกิ จ ของชาติ ไม่ ส ามารถก่ อ ให้ เ กิ ด
โอกาสการมีงานทำาได้อย่างเพียงพอ การเพิ่มของจำานวนคนงานจะทำาให้ผลิตภาพ ของคนงานลดลงไปอีกซึ่งจะปรากฏให้เห็นในลักษณะของการทำา งานไม่เต็มที่ และการว่างงานแอบแฝงในภาคเกษตรและการอพยพเข้าเมือง ภายใต้ข้อสมมุติ นี้ เป็ นที่คาดหมายว่ารายได้เฉลี่ยต่อบุคคลจะตกตำ่าและอัตราส่วนคนยากจนจะ
เพิ่มขึ้น แม้ว่าโดยภาพรวม GDP จะเพิ่มขึ้น ก็ตาม ประชากรในภาคเกษตรจะ ไม่มีเ งิน ออม การลงทุ น จะลดลงและในขั น ้ ต่อ ไปจะแพร่ ขยายไปสู่ภ าคการผลิ ตอื่นๆ ด้วย ผลิตภาพของคนงานจะลดลงอีก และเศรษฐกิจของชาติจะติดอยู่ใน วงจรความยากจนที่ยากจะหลุดพ้น
(2)
ถ้า สมมุติ ว่า รั ฐบาลและระบบเศรษฐกิ จ ของชาติ ส ามารถทำา ให้ เ กิ ด การจ้ า งงานที่ เ พี ย งพอ คื อ ไม่ ทำา ให้ ผ ลิ ต ภาพของ แรงงานลดลงเมื่อประชากรในกลุ่มอายุน้อยนี้ได้รบ ั การดูดซับเข้าระบบเศรษฐกิจ รายได้ต่อบุคคลจะเพิ่มขึ้นและความยากจนลดลง กระบวนการเช่นนี้ เกิดขึ้นมา แล้วในประเทศไทยจีนและอินโดนี เซีย อย่างไรก็ดีกระบวนการนี้ มิใช่จะเกิดขึ้น เองโดยอัตโนมัติ แต่ต้องการมาตรการสนั บสนุนจากรัฐบาล
(3)
ความสำา คั ญ ของการพั ฒ นาภาคเกษตร เป็ น ที่ คาดหมายกันว่ากัมพูชาจะประสบผลสำา เร็จในการก่อให้เกิดการจ้างงานหรือไม่ นั ้ น ขึ้นอยู่กับการพัฒนาภาคเกษตร โดยที่ ร้อ ยละ 75 ถึง 80 ของประชากรมี อาชีพอยู่ในภาคเกษตร แหล่งจ้างงานใหญ่ท่ีสุดก็คือภาคเกษตร การผลิตในภาค เกษตรจะต้องเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ องในอัตราที่ทัดเทียมกับการเพิ่มของประชากร ในวันทำา งานในอัตรา 4- 5 % ต่อปี อย่างไรก็ดีเศรษฐกิจชนบทในส่วนที่มิใช่ การเกษตรจะต้องเติบโตด้วย โดยความเป็ นจริงแล้วเศรษฐกิจชนบทจะต้องมีการ ขยายฐานแตกสาขา (Diversify) มีการผลิตสินค้าที่มิใช่พืชผลและปศุสัตว์ และ
การผลิตในภาคเกษตรจะต้องมีค วามก้าวหน้ าเชิงพลวัตร (Dynamic) คือทำา เป็ นธุ ร กิ จ ผลิ ต เพื่ อตอบสนองความต้ อ งการของตลาดและตอบสนองภาค
อุตสาหกรรม มิใช่ผลิตเพื่อการบริโภคแต่อ ย่างเดียว อย่างไรก็ตาม คณะผู้วิจัย
ของ CDRI ให้ค วามเห็น ว่า การเปลี่ ยนแปลงในภาคเกษตรของกัม พูช ายั งไม่ ปรากฎแนวโน้ ม ที่สร้ า งความหวัง ได้ มากนั ก สำา หรับ การผลิ ตพื ช หลัก คือ ข้า ว การเกษตรของกัมพูชาก็ยังสามารถปรังปรุงได้อีกมาก เช่นปลูกข้าวพันธ์ใุ หม่ท่ีให้ ผลผลิตสูงกว่าเดิมและการใช้ปุย การขาดแคลนทรัพย์สิน ที่เป็ นปั จจัยการผลิต ทรัพย์สินที่สำาคัญใน กรณี ของเศรษฐกิจกัมพูชาก็คือ ที่ดิน เงินทุนและเครื่องมือการผลิต
1. ที่ ดิ น คณะผู้วิจัยของ CDRI ได้ สำา รวจสถานการณ์ เ กี่ ย วกั บ
ที่ดินและสรุปไว้ดังนี้
(1) แม้ว่ากัมพูชาจะมีความหนาแน่ นของประชากรค่อนข้างน้ อยแต่ท่ีดินส่วน มากไม่เหมาะกับการเกษตรจึงไม่สามารถใช้วิธก ี ารผลิตที่หวังผลจากที่ดินจำานวน
น้ อย (Intensive Farming) ที่ดินจำานวนหนึ่ งอยู่ในสภาพรกร้างว่างเปล่าที่ยัง
มิได้ได้รับการพัฒนา (2) ประชากรในชนบทเพิ่มในอัตราสูง ขนาดการถือครอง
ที่ ดิน ต่อครัวเรือนที่น้ อยอยู่แล้ว จะยิ่ งน้ อ ยลงไปอีก (3) มีค วามเหลื่ อ มลำ้ากั น มากในการถือครองที่ดิ น ภายหลั งปฏิรูป ระบบการปกครองรั ฐบาลมี น โยบาย จัดสรรที่ดินให้เกษตรกรให้เท่าเทียมกัน แต่โครงการนี้ ล่าช้าและยังไม่ปรากฏผล เป็ นรูปธรรมและมีความแตกต่างกันในระหว่างภูมิภาคต่างๆ ครัวเรือนที่มีผู้หญิง เป็ นหัวหน้ าได้รบ ั ที่ดินจัดสรรน้ อยกว่าครัวเรือนที่มีหัวหน้ าเป็ นชาย (4) การเพิ่ม ของสมาชิกในครัวเรือนเกษตรกรทำา ให้มีก ารแบ่งแยกที่ ดิน เป็ น แปลงย่อ ยที่ มี ขนาดเล็กลงไปอีก ไม่เหมาะสมกับการใช้เครื่องทุนแรง (5) การมีหนี้ สินทำา ให้ จำาเป็ นต้องขายที่ดิน กลายเป็ นคนไร้ท่ีทำา กิน ปั ญหานี้ กำา ลังเกิดขึ้นและเป็ นที่น่า วิตก ในช่วงเวลาของการสำารวจ คณะผู้วิจัยของ CDRI พบว่าที่ดินมีการเปลี่ยน
มือ 10 – 13 % และตกเป็ นกรรมสิทธิข์ องผู้มัง่ คัง่ ปั ญหาเรื่องโอกาสของการเป็ นเจ้าของที่ดินยังมีอีกประการหนึ่ ง ที่ เป็ น ปรากฏการณ์ ของกัมพูชาโดยเฉพาะ คือ ผู้ลี้ภัยจากเขมรแดงที่ ก ลับ คืน ถิ่ น ต้องเป็ นฝ่ ายเสียเปรียบ เพราะกว่าที่จะกลับมาและรวบรวมหลักฐานกรรมสิทธิท ์ ่ี มีอยู่เ ดิมได้ ที่ดินก็ถูกจัดสรรให้บุคคลอื่ น ไปแล้ว ตามความเห็น ของผู้วิจัยของ
CDRI ความไม่เสมอภาคในการเป็ นเจ้าของที่ดินและการเปลี่ยนสถานภาพไป เป็ นผู้ไร้ท่ท ี ำากินเป็ นปั ญหาที่หนั กมาก 2. เ งิ น ทุ น แล ะเ ค รื่ อ ง มื อ ก า ร ผ ลิ ต กัมพูชา
ขาดแคลนทั ้ง โครงสร้ า งพื้ น ฐาน (Infrastructure) ที่ จั ด ว่ า เป็ น “ ทุ น ” ของ
สังคม (Social Capital) และทุนส่วนตัวของภาคเอกชน (Private Capital)
คือระบบชลประทานของกัมพูชาให้ประโยชน์ ได้เพียงร้อยละ 16 ของพื้นที่เพื่อ การเกษตรทัง้ หมด ทางด้านผู้ผลิตภาคเอกชน เช่น ในภาคเกษตร พลังงานที่ใช้ก็ เป็ นแรงงานสัตว์เกษตรกรเพียงร้อยละ 1 – 2 เท่านั ้น ที่มีรถไถ แหล่งสิน ้ เชื่อ มีน้อย ต้องอาศัยองค์กรพัฒนาภาคเอกชน (NGO) และเงินช่วยเหลือจากต่าง
ประเทศเข้ามาสมทบเกษตรกรยากจนร้อยละ 63 – 92 ต้องกู้ยืมจากเจ้าของ เงินทุนท้องถิ่นที่คิดดอกเบีย ้ ในอัตราที่สูงถึงร้อยละ 170 ในบางท้องถิ่น
3. การขาดแคลนการศึกษา ระบบการศึกษาของกัมพูชาถูกทำาลาย
โดยสิ้น เชิง ในระหว่ า งการปกครองของเขมรแดงและหยุด ชะงั ก ลง ไม่ มี ค รู ท่ี มี คุณวุฒิเหลืออยู่ โรงเรียนส่วนใหญ่ถูกทำาลาย แต่ภายหลังได้รับการฟื้ นฟูและฟื้ น ตัวค่อนข้างเร็ว ในขณะนี้ ร้อยละ 68 ของประชากรที่อายุตำ่ากว่า 10 ปี สามารถ
อ่ า นออกเขี ยนได้ และ 2 ใน 3 ของประชากรที่ เ ป็ น ผู้ ใ หญ่ จั ด ว่ า รู้ ห นั ง สื อ แต่ ความรู้ท่ีได้รับยังเป็ นที่น่า สงสัย จากการสำา รวจในปี 1997 (CDRI 1997 :
50) ปรากฎว่าสัดส่วนของกัมพูชาที่ได้รับการศึกษาในระดับต่างๆ มีดังนี้ ไม่ได้รับการศึกษา 37.5 % ประถมศึกษา มัธยมปลาย อาชีวศึกษา มหาวิทยาลัย ไม่ทราบ
14.7 %
4.8 % 0.3 % 0.9 %
1.3 %
ตัวเลขเช่น นี้ แ สดงว่ า ประชากรร้ อ ยละ 78 (82 ในชนบท ) ได้ รับ
การศึ ก ษาในระดั บ ประถมศึ ก ษาหรื อ ตำ่ า กว่ า และน้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 6 ที่ มี ก าร ศึกษาระดับมัธยมต้น ซึ่งเราจัดว่าเป็ นคุณวุฒิขัน ้ ตำ่าสุดสำาหรับการเรียนรู้วิชาชีพที่ จะเข้าสู่ภาคเศรษฐกิจสมัยใหม่ นอกจากนี้ ยังมีการเลิกเรียนเกิดขึ้นในอัตราสูง คือ ร้อยละ 30 – 40 ที่ไม่สามารถเลื่อนขัน ้ ต่อไปได้ จากมุมมองของทรัพยากร
มนุ ษ ย์ ท างด้ า นเศรษฐกิ จ การที่ มีค นสนใจเรี ย นอาชี ว ศึ ก ษากั น น้ อ ย (0.3%)
เป็ นสัญญาณบ่งชีว้ ่า อนาคตของการพัฒนาเศรษฐกิจที่จะต้องอาศัยการเพิ่มผลิต ภาพของคนงานนั ้นยังอยู่ห่างไกลมาก 4. การเข้ า ถึ ง บริ ก ารสุ ข ภาพอนามั ย สุขภาพมีส่วนเกี่ยวข้องกับ
ความยากจนที่เป็ นทัง้ เหตุและผลของกัน และกัน ในกัมพูชาอัตราการเสียชีวิต ของเด็กแรกเกิดมีระดับสูงที่สุดในภูมิภาค คือ ประมาณ 90 – 115 ราย ต่อ
การเกิ ด ที่ มี ชี วิ ต 1,000 ราย และช่ ว งอายุ ขั ย ของประชากรก็ ตำ่ า ที่ สุ ด ด้ ว ย คื อ แต่ล ะคนคาดหมายได้ว่ า จะมี ชีวิ ตถึ งอายุ เ พี ยง 54.4 ปี ค่า ใช้ จ่า ยในการรัก ษา พยาบาลในโรงพยาบาลชุมชนเฉลี่ย 16 ดอลลาร์ (640 บาท) ถ้าเป็ นคนไข้ท่ี
ต้องรักษาตัวในโรงพยาบาลค่าใช้จ่ายจะสูงกว่านี้ 3 – 4 เท่าตัว และปรากฏว่า ค่าใช้จ่ายในการรับการรักษาพยาบาลแต่ละครัง้ มีมูลค่าถึงครัง้ หนึ่ งของรายจ่าย ทัง้ หมดต่อปี สำาหรับรายการอื่นๆ ที่มิใช่อาหารและถ้าต้องนอนพักที่โรงพยาบาล
ค่าใช้จ่ายจะเพิ่มขึ้นจนเทียบเท่ากับค่าใช้จ่ายสำาหรับการรักษาพยาบาลรวมกัน 6 ปี ด้วยข้อมูลเช่นนี้ จะเห็นว่า คนจนไม่สามารถรับการรักษาพยาบาลจากคลินิก ชุมชนได้ ผู้ท่ีได้รับประโยชน์จากบริการนี้ ก็มีแต่คนรายได้สูง ซึ่งคนในกลุ่มนี้ บาง ส่วนยังได้รับการยกเว้นหรือเบิกจากหน่ วยงานได้ 5. ความไม่มั่นคงในชีวิตและทรัพย์สิน การที่กัมพูชาเพิ่งจะฟื้ นตัว
จากความล่ ม สลายทางการเมื อ งการปกครอง ทำา ให้ เ ป็ นประเทศที่ เ กื อ บจะ ปราศจากกฎหมายและระเบียบแบบแผน ตลอดจนการบังคับใช้กฎหมายในส่วน ที่เกี่ ยวกับความยากจนก็คือ กฎหมายที่ กำา หนดขึ้น เพื่ อ คุ้มครองทรัพย์สิน ของ บุคคลที่มุ่งหมายเพื่อประโยชน์ของคนจน เพราะคนมัง่ มีสามารถอยู่ได้โดยไม่ต้อง อาศัยกลไกของรัฐแต่กลับกลายเป็ นว่าคนจนไม่มีโอกาสได้รับผลประโยชน์ คณะ
ผู้ วิ จั ย ของ CDRI (CDRI 1999 : 55) เล่ า ถึ ง กรณี ตั ว อย่ า งที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน ระหว่างการยกเลิกระบอบสังคมนิ ยม และรัฐบาลเอาที่ดินที่ถก ู ยึดไปในสมัยเขมร แดงมาจัดสรรให้เกษตรกร ปรากฏว่ามีคดีขัดแย้งเกี่ยวกับกรรมสิทธิท ์ ่ีดินเกิดขึ้น มาก เช่ น ใครจะมี สิ ท ธิ ถ ์ ื อ ครองบ้ า นเรื อ นและที่ ดิ น และข้ อ เรี ย กร้ อ งที่ ดิ น คื น ปั ญหาส่วนใหญ่อยู่ท่ีเอกสารแสดงกรรมสิทธิ ์ เกษตรกรส่วนมากไม่มีเอกสาร กรรมสิทธิม ์ ีแต่เพียงใบอนุญาตให้ใช้ท่ีดินแปลงนั ้นเป็ นที่ทำากิน แต่กลุ่มอิทธิพล ท้ อ งถิ่ น ใช้ อำา นาจเข้ า มาจั บ จองและยื่ น คำา ร้ อ งขอเอกสารกรรมสิ ท ธิ ไ์ ด้ การใช้ อิทธิพลเข้ายึดครองทรัพย์สินของส่วนรวมขยายขอบเขตไปสู่แหล่งประมง ป่ าไม้ ที่รกร้างว่างเปล่าที่ใช้เลี้ยงสัตว์ ผู้มีอิทธิพลจะเรียกร้องค่าบริการจากชาวบ้านที่ เข้าไปใช้ประโยชน์ คนยากจนที่ไม่มีทำากินต้องอาศัยการจับปลาเป็ นอาชีพ ทำาให้ เกิดการจับปลาเกินขีดความสามารถรองรับของธรรมชาติ ปลาสูญพันธ์ุ การตัด ไม้ทำาลายป่ ามักกระทำาโดยทหารที่ได้เงินเดือนน้ อยไม่พอดำารงชีพ นอกจากนี้ยังมี โจรผู้ ร้ า ยและเจ้ า หน้ าที่ ท้ อ งถิ่ น ใช้ อิ ท ธิ พ ลเก็ บ ภาษี นอกระบบแต่ ตำา รวจไม่ ต้องการเข้ามารับผิดชอบ
สรุปปั ญหาความยากจนในกัมพูชาในบริบทของแบบจำาลองทางเศรษฐศาสตร์ ตามที่บรรยายสรุปการค้นพบของ CDRI ที่กล่าวมาแล้ว เรากล่าวได้ว่า ปรากฏการณ์ความยากจนในกัมพูชาเป็ นไปตามคำา อธิบายทางทฤษฎีของแบบ
จำาลองเศรษฐกิจที่มีโครงสร้างต่างระดับ (Dual economy Model) ประกอบ กับต้นเหตุปัจจัยทางการเมืองที่เป็ นลักษณะเฉพาะของกัมพูชาเอง ในบริบทของ แบบจำาลองนี้ เราสามารถกล่าวสรุปได้ดังนี้ (1)เศรษฐกิ จ ของประเทศกั ม พู ช ายั ง อยู่ ใ นขั ้น ตอนที่ โ ครงสร้ า งยั ง ไม่ ประสานกัน คือ ประกอบด้วยภาคการผลิตที่ มีผลิตภาพ และลักษณะทางด้าน เทคโนโลยีการผลิตและการจัดการตลอดจนศักยภาพในการเติบโตทัดเทียมกับ ประเทศที่ พั ฒ นาในระดั บ สู ง กว่ า ไปแล้ ว กั บ ภาคการผลิ ต ที่ มี ผ ลิ ต ภาพตำ่ า ใช้ เทคโนโลยีการผลิตและการจัดการในรูปแบบดัง้ เดิม ผลิตเพื่อดำา รงชีพเป็ นส่วน ใหญ่ ภาคการผลิตทัง้ 2 ยังไม่มีการเชื่อมโยงกันทางด้านการค้าและกระบวนการ
ผลิ ต ทำา ให้ ผ ลประโยชน์ ข้ า งเคี ย ง (Economic Externalities) ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน ภาคทันสมัยไม่ตกทอดไปถึงภาคการผลิตดัง้ เดิม (2)ในภาคการผลิตดัง้ เดิมมีประชากรอาศัยอยู่เป็ น จำา นวนมากที่ทำา ให้มี ประชากรจำา นวนหนึ่ งเกิ น ความต้ อ งการในกระบวนการผลิ ต แต่ อ ยู่ ร่ ว มและ บริโภคผลผลิตด้วย ทำาให้ไม่มีผลผลิตเหลืออย่ท ู ่ีจะเปลี่ยนสภาพเป็ นเงินออมที่จะ ใช้ลงทุนต่อไป ผลิตภาพของคนงานจึงมีระดับตำ่า ประชากรที่เกินความต้องการนี้ กลายเป็ นจุดเริ่มต้นของความยากจน ปรากฏการณ์นี้สอดคล้องกับผลการศึกษา ของ CDRI ที่พบว่าคนยากจนส่วนมากอยู่ในชนบท
(3) การที่ โ ครงสร้ า งเศรษฐกิ จ ไม่ ป ระสานกั น และภาคการผลิ ต ดั ้ง เดิ ม
เป็ นการผลิตเพื่อดำารงชีพ ฐานภาษี ของรัฐบาลจึงมีแหล่งเดียว คือ ภาคทันสมัยที่ ยังมีขนาดเล็กทำา ให้รัฐบาลเก็บภาษี ได้เพียงเล็กน้ อยในขณะที่ค วามจำา เป็ น ทาง ด้ า นการจั ด หาบริ ก ารทางสั ง คม และการก่ อ สร้ า งโครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ ยั ง ขาดแคลน เงินงบประมาณส่วนที่ใช้ไปในการจัดหาบริการสาธารณสุข การศึกษา สาธารณูปโภค ฯลฯ จึงจัดสรรได้เพียงเล็กน้ อยและไม่ตกทอดไปถึงคนจนที่อยู่ใน ที่ห่างไกลในชนบท ก่อให้เกิดปั ญหาความยากจนทางสังคม
(4)
คำาแนะนำ าของ CDRI ให้เร่งพัฒนาภาคเกษตรเป็ นคำาแนะนำ า ที่ ถูก ต้อ งในบริบ ทของแบบจำา ลองนี้ คื อ เป็ น การเร่ ง รั ด วงจรของกระบวนการ พัฒนาให้เกิดขึ้นเร็วด้วยการนำ า เอา “ความเป็ นสมัยใหม่” (Modernization) เข้าไปสู่ภาคการผลิตดัง้ เดิม ด้วยมาตรการสนั บสนุนวิธีต่างๆ
(5) ความไร้สมรรถภาพของการรักษากฎหมาย ความบกพร่องและความ
ทุจริตของเจ้าหน้ าที่รัฐบาล เป็ นผลมาจากความยากจนของรัฐบาลที่ไม่สามารถ จ่ายเงินเดือนให้อย่างเพียงพอต่อการดำารงชีพ ซึ่งความยากจนของรัฐบาลเป็ นผล มาจากโครงสร้างเศรษฐกิจที่มีฐานภาษี แคบ นั ้นคือ จนกว่าภาคการผลิตดัง้ เดิม จะประสานเข้ า เป็ นเนื้ อเดี ย วกั น กั บ ภาคสมั ย ใหม่ ฐานภาษี ข องรั ฐ บาลก็ ยั ง มี ขอบเขตจำากัด และการแสวงหาผลประโยชน์จากอำานาจหน้ าที่จะยังคงมีต่อไป
การแก้ปัญหาความยากจนของรัฐบาลกัมพูชา ความตระหนั กในปั ญหาความยากจน ในเอกสารแถลงแนวนโยบายของรั ฐ บาลฮุ น เซน ที่ เ ผยแพร่ โ ดยคณะ
กรรมการพัฒนาสังคมแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาเมื่อปี 2002 (Kingdom of
Cambodia Council for Social Development, 2002 : ii – x)
รั ฐ บาลกั ม พู ช าได้ ป ระกาศใช้ ก ลยุ ท ธ์ ส ามเหลี่ ย มของการพั ฒ นา (Triangle
Strategy) ในปี 1998 ที่ ป ระกอบด้ วยการสร้ า งสั น ติ ภ าพ เสถี ย รภาพ และ ความมั่ น คง การเข้ า สู่ ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ภายนอกในระดั บ ภู มิ ภ าคและระดั บ
ระหว่างประเทศ และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในบรรดาเป้ าหมายทั ง้ 3 ประการนี้ได้กำาหนดให้การลดความยากจนเป็ นประเด็นที่ได้รับความสำาคัญสูงสุด ด้วยวิสัยทัศน์ว่ากัมพูชาจะเป็ นประเทศที่มีความเป็ นปึ กแผ่นทางสังคม ประชากร ที่มีการศึกษา มีวัฒนธรรมที่ก้าวหน้ าและเป็ นประเทศที่ปราศจากความยากจน ความไม่รู้หนั งสือ ความอดอยาก และมีสุขภาพดี เพื่อที่จะบรรลุถึงเป้ าหมายตาม วิสัยทัศน์ เช่นนี้ รัฐบาลได้กำา หนดแนวทางกลยุทธ์แห่งชาติเพื่อลดความยากจน
(National Poverty Reduction Strategy : NPRS) ที่ จ ะบรรจุ ไ ว้ เ ป็ น ส่วนหนึ่ งของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสำาหรับช่วงเวลาระหว่างปี
2005 เป็ นต้นไป
การร่ า งเอกสารสำา หรั บ กลยุ ท ธ์ ฯ เริ่ ม ขึ้ น เมื่ อ เดื อ นพฤษภาคม 2000
พร้อมกับการร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2 เอกสาร ฉบับนี้ เป็ นฉบับชั่วคราวและเป็ นผลงานร่วมกันระหว่างกระทรวงเศรษฐกิจและ
ก า ร เ งิ น (Ministry of Economy and Finance) กั บ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร
วางแผนแห่งชาติ (Ministry of Planning) ภาระหน้ าที่ ในการนำ า กลยุท ธ์ฯ ออกปฏิ บั ติ ใ ห้ เ กิ ด ผลเป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการเพื่ อ การพั ฒ นา สั ง ค ม (Council for Social Development) ซึ่ ง เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ร่ ว ม มื อ ระหว่างกระทรวงที่เกี่ยวข้องและมีรัฐมนตรีกระทรวงการวางแผนเป็ นประธาน แนวนโยบายและมาตรการแก้ปัญหาความยากจน แนวความคิ ด เชิ ง วิ ช าการของนโยบายแก้ ปั ญหาความยากจน ในการ กำา หนดแนวทางและมาตรการทางการปฏิบัติ รัฐบาลของประเทศกัมพูชาอาศัย แ น ว คิ ด เ ชิ ง ท ฤ ษ ฎี ข อ ง ธ น า ค า ร เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า แ ห่ ง เ อ เ ซี ย (Asian
Development Bank : ADB) ซึ่งเป็ นแหล่งเงินกู้ท่ีสำาคัญของกัมพูชาเป็ น
หลั ก เกณฑ์ ป ระกอบกั บ ข้ อ พิ จ ารณาจากสภาพความเป็ น จริ ง ของกั ม พู ช า และ ลำา ดับความสำา คัญของปั ญหาจากมุมมองของรัฐบาลกัมพูชามาประกอบกัน ดัง นั ้ น ในที่นี้ จ ะนำ า เสนอทั ้ง แนวคิ ด ของรั ฐ บาลกั ม พู ช า และของธนาคารเพื่ อ การ พัฒนาแห่งเอเชีย
1. แนวคิดของรัฐบาลกัมพูชา แนวนโยบายของรัฐบาลกัมพูชาใน
การแก้ ปั ญหาความยากจนจะสะท้ อ นถึ ง การยอมรั บ แนวคิ ด ทางทฤษฎี ข อง เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ที่นำา มาประยุกต์กับปั ญหาความยากจน โดยกำา หนด เป้ าหมายและลำาดับความสำาคัญของการลดความยากจนไว้ดังนี้
(1) ความยากจนจะหมดสิน ้ ไปอย่างแท้จริงก็ต่อเมื่อเศรษฐกิจมี
การเติบโต พัฒนา และมี
เสถียรภาพ
(2) การผลิตในภาคเกษตรจะต้องมีผลิตภาพสูงขึ้น
(3) จะต้องสร้างโอกาสการจ้างงานให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
(4) ทรัพยากรมนุษย์จะต้องมีทักษะและคุณภาพสูงขึ้น
(5) รัฐบาลจะต้องทำาให้เกิดมีการปกครองที่ดีและซื่อสัตย์สุจริต
(6) รั ฐ บาลจะจั ด หาบริ ก ารสวั ส ดิ ก ารทางสั ง คมสำา หรั บ ผู้ ท่ี ถู ก
กระทบกระเทือนที่ไม่
สามารถช่วยตัวเองได้
(8)
(7) ส่งเสริมให้มคี วามเสมอภาคระหว่างหญิงและชาย
มีการวางแผนประชากรเพื่ อ ให้มี อัตราเพิ่ มที่ เ หมาะสมกับ ทรัพยากรของประเทศ
รายละเอียดเกี่ยวกับเป้ าหมายที่มค ี วามสำาคัญในอันดับสูงมีดังนี้ การเติบโตพัฒนาและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เป้ าหมาย
ของการเติ บ โตและพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ได้ กำา หนดไว้ ใ นแผนพั ฒ นาฯ ฉบั บ ที่ 2 ส่วนทางด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจรัฐบาลจะต้องรักษาวินัยทางการเงินโดย จะไม่ เ พิ่ ม ปริ ม าณเงิ น เพื่ อ ชดเชยการขาดดุ ล งบประมาณ และปรั บ ปรุ ง สภาพ แวดล้อมทางสถาบันเพื่อส่งเสริมให้มีการลงทุนในภาคเอกชน การขยายโอกาสการจ้า งงาน มาตรการในส่วนนี้ประกอบ ด้วยการอำานวยความสะดวกให้ภาคเอกชนพัฒนาธุรกิจ ส่งเสริมการส่งออกและ การท่องเที่ยว การเพิ่ ม ทั ก ษะทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ จัดให้มีการศึกษาภาค
บังคับ 9 ปี เพิ่มโอกาสให้คนยากจนและชนกลุ่มน้ อยได้รับการศึกษา ทางด้าน สุขภาพอนามัยจะจัดหาบริการรักษาพยาบาลให้อย่างกว้างขวางให้บุคคลทุกกลุ่ม ในสังคมสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์อย่างเสมอภาค การเสริมสร้างประสิทธิภาพทางสถาบันและการปกครองที่ ดี มาตรการก็คือจัดให้มีการปฏิรูปสถาบันทางกฎหมาย และการรักษาความ ยุติธรรม กระจายอำานาจการปกครอง ปฏิรูประบบการคลังของรัฐบาล ปราบปราม การทุ จ ริ ต ในหน้ า ที่ ปฏิ รู ป กองทั พ และลดจำา นวนทหารประจำา การและปฏิ รู ป ระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
2. แนวคิดของธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย ธนาคารแห่งนี้
ในฐานะผู้จัดหาสินเชื่อเพื่อการพัฒนาให้รัฐบาลกัมพูชาได้มีบทบาทอันสำาคัญใน การกำาหนดแนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจ เพื่อช่วยให้กัมพูชาปรับตัวและก้าวล่วงพ้น วิกฤตเข้าสู่แนวทางของการจัดการระบบเศรษฐกิจ ตามแนวทางของเศรษฐกิจ
กระแสหลักของภูมิภาค ในกรณี ของกัมพูชาธนาคาร ADB ยอมรับความเป็ น จริงของความยากจนในกัมพูชาว่ามีต้นเหตุทัง้ ปั จจัยทางเศรษฐกิจ การเมืองและ สังคม ต้นเหตุทางด้านสังคมและการเมืองต้อ งการมาตรการระยะสัน ้ ที่ มุ่งไปที่ แต่ล ะปั ญหาโดยเฉพาะ และการนำ า เอาหลั ก การทางด้ า นประชาสั ง คม (Civil
Society) มาใช้ แต่ ADB มุ่งไปที่ต้นเหตุทางเศรษฐกิจที่เป็ นมาตรการระยะ ยาวและระยะปานกลางเพื่อให้เกิดการเติบโตและพัฒนาที่จะส่งผลตกทอดไปถึง
คนจน (Pro-poor growth) และส่ง เสริม การขยายตั วของธุร กิ จภาคเอกชน
นั่ นคื อ การสนั บสนุ น ของ ADB จะมุ่ ง ไปที่ ก ารลงทุ น ในโครงการก่ อ สร้ า ง
โครงสร้างพื้นฐานและการผลักดันให้มีการปฏิรูปนโยบาย ทัง้ นี้ โดยมีเหตุผลที่ ว่าการลงทุนขนาดใหญ่เพื่อก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานจะช่วยให้เกิดการเติบโต ทางเศรษฐกิจ ที่จะส่งผลไปถึงการแก้ปัญหาความยากจนโดยตรง การมีนโยบาย และสภาพแวดล้ อ มทางสถาบั น ที่ ดี จ ะช่ ว ยลดปั ญหาความยากจนในมิ ติ สั ง คม
(ADB 1999 : 8 – 9)
ด้ ว ยแนวคิ ด เช่ น นี้ ข้ อ เสนอสำา หรั บ แก้ ปั ญหาความยากจนของ
ADB จึงประกอบด้วยมาตรการ 3 ส่วน คือ (1)
มาตรการเพื่ อ การเติ บ โตที่ ยั่ ง ยื น และส่ ง ผลประโยชน์ ถึ ง คนจน
(2) (3)
การพัฒนาสังคม
การปกครองที่ดี (Good Governance)
(1) มาตรการเพื่อการเติบโตที่ยั่งยืน จะก่อให้เกิดความต้องการ
คนงาน คือ มีการขยายตั วของโอกาสการมีง านทำา การมีผ ลิต ภาพที่ สู ง ขึ้ น และ ค่าแรงงานสูงขึ้น การเติบโตทางเศรษฐกิจยังก่อให้เกิดภาษี รายได้เพื่อรัฐบาลจะ ได้นำาไปใช้จ่ายจัดหาบริการการศึกษา สาธารณสุข และการก่อสร้างโครงสร้างพื้น ฐาน การเติบโตทางเศรษฐกิจที่อาศัยกลยุทธ์การผลิตเพื่อส่งออกตามแบบฉบับ ของเอเชียตะวันออก คือ อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็ นปั จจัยสำาคัญของการผลิต จะก่อให้เกิดความต้องการใช้คนงานเป็ น จำา นวนมากที่เ ปิ ดโอกาสการมีงานทำา ของคนจนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้หญิง ในการนำ ามาตรการนี้ มาใช้ให้เกิดผลจำาเป็ น จะต้องทบทวนและปฏิรป ู นโยบายที่มีผลเป็ นการบิดเบือนราคา และเป็ นอุปสรรค ต่อการส่งออก รวมทัง้ ยกเลิกรัฐวิสาหกิจที่ไร้ประสิทธิภาพ และจัดให้มีบริการสิน
เชื่อสำาหรับธุรกิจขนาดเล็ก (Micro finance) เพราะเป็ นแหล่งจ้างงานที่สำาคัญ สำาหรับคนจนและผู้หญิง ธุรกิจขนาดเล็กยังมีศักยภาพที่จะเป็ นผู้จัดหาบริการพื้น ฐานที่ยังไม่เพียงพอสำา หรับคนจน มาตรการในกลุ่มนี้ อีกประการหนึ่ งก็คือการ เข้าร่วมระบบเศรษฐกิจกับต่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มความร่วมมือระดับ ภูมิภาค การเข้า ถึงตลาดที่กว้า งขวางยิ่ งขึ้ น เกิด ผลประโยชน์ จากการผลิต เป็ น ธุรกิจขนาดใหญ่และเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร
(2) มาตรการพัฒนาสังคม การเติบโตทางเศรษฐกิจจะนำ าไปสู่การ
มีรายได้และลดความยากจนทางเศรษฐกิจ แต่เพื่อให้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ แปรสภาพไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและตกทอดไปถึงคนจนเราจำาเป็ นต้องมี
การพัฒนาสังคมควบคู่กันไปด้วยซึ่งประกอบด้วยมาตรการต่อไปนี้ (1) มีการ จัดสรรงบประมาณให้กับการพัฒนา “ทุนมนุษย์” ให้มากขึ้น ซึ่งหมายถึงทักษะ ของประชากร
(2) จัดหาบริการสวัสดิการสังคมที่มุ่งไปที่คนจน (3) ขจัดความ
ไม่เสมอภาคระหว่างหญิงและชาย (4) มีนโยบายประชากรที่เหมาะสม และ (5) จัดให้มีบริการปกป้ องและคุ้มครองสวัสดิภาพของประชาชน
(3) การปกครองที่ดี คุณภาพของการบริหารงานการเมืองและ
การปกครองจะอำานวยความสะดวกให้มาตรการเพื่อการเติบโตทางเศรษฐกิจซึ่ง จะมีผลตกทอดไปถึงคนจน ประสบผลสำาเร็จสูงขึ้น การปกครองที่ดีจะต้องมีหลัก ประกันความโปร่งใสในการใช้เงินของรัฐ สนั บสนุนให้ภาคเอกชนเติบโตและใน ระดับเศรษฐกิจมหภาค การปกครองที่ดีจะอำานวยให้เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ ความสำาเร็จและข้อจำากัดของนโยบายแก้ปัญหาความยากจน จากการประเมินของธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB 2005 :
1 – 5) สำาหรับเป้ าหมายการเติบโตทางเศรษฐกิจปรากฏว่ากัมพูชามีอัตราการ เติบโตเฉลี่ยสำาหรับช่วงเวลา 1996 – 2002 มีค่า 6.5 % ต่อปี ซึ่งสูงกว่าใน
ช่ ว ง 1995 – 1998 ที่ มี อั ต ราเฉลี่ ย 5.6 % ต่ อ ปี ตั ว เลขเช่ น นี้ แ สดงว่ า กัมพูชาเริ่มเติบโตในอัตราที่น่าพอใจยิ่งขึ้น ทัง้ นี้ เป็ นผลมาจากการช่วยเหลือจาก
ต่า งประเทศ การทำา สั ญญาการค้า ทวิภ าคีกับ สหรั ฐอเมริ ก าในปี 1996 ที่ เ ปิ ด โอกาสให้อุตสาหกรรมเสื้อผ้าของกัมพูชาได้รับสิทธิประโยชน์ในการเข้าถึงตลาด ของสหรัฐ เราอาจกล่าวได้ว่าอุตสาหกรรมเสื้อผ้าของกัมพูชาได้เป็ นพลังผลักดัน ที่สำาคัญของการเติบโตทางเศรษฐกิจในช่วงเวลา 10 ปี ที่ผ่านมาและการส่งออก ของผลผลิ ต จากอุ ต สาหกรรมนี้ มี บ ทบาทสำา คั ญ ที่ สุ ด ในการนำ า เงิ น ตราต่ า ง ประเทศเข้ากัมพูชาและการจ้างงานคนงานจากชนบท อย่างไรก็ดีในภาคเกษตร การเติบโตยังล่าช้าและมีอัตราตำ่ากว่าการเพิ่มของประชากร ทางด้านเสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจกัมพูชาสามารถควบคุมเงินเฟ้ อได้เป็ นที่น่าพอใจที่เป็ นผลมาจาก การใช้เงินดอลลาร์แทนเงินเรียลในการซื้อขายแลกเปลี่ยนที่มีมูลค่ามากเพราะ เงินดอลลาร์มีคา่ ที่มัน ่ คงกว่าเงินเรียล และเป็ นผลมาจากการใช้มาตรการทางด้าน เศรษฐกิจมหภาคที่เคร่งครัด
อย่างไรก็ตาม ADB มีความเห็นว่ากัมพูชาจะต้องแก้ปัญหาบางประการที่ เป็ นตัวจำา กัดการเติบโตของเศรษฐกิจ ปั ญหาสำา คัญก็คือ การเติบโตที่เป็ นอยู่ใน ขณะนี้ ตัง้ อยู่บนฐานทางเศรษฐกิจที่แคบมาก คือ อุตสาหกรรมเสื้อผ้าและการ ท่องเที่ยว ซึ่งเป็ นภาคการผลิตที่อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก และนโยบายของต่างประเทศ กัมพูชาจะต้องแสวงหาและพัฒนาแหล่งใหม่ของ ฐานเศรษฐกิจเพื่อรองรับประชากรในวัยทำางานจำานวน 250,000 คน ที่จะเข้าสู่
ตลาดแรงงานในอนาคตอั น ใกล้ และโดยเหตุ ท่ี ร้ อ ยละ 90 ของคนจนอยู่ ใ น
ชนบท การส่งเสริมให้ภาคเกษตรเติบโตจะเป็ น ลู่ทางที่เ หมาะสมที่ สุดเพื่ อ ให้มี ผลิตภาพและโอกาสประกอบอาชีพที่กว้างขวางยิ่งขึ้น ที่จะเป็ นแหล่งรองรับคน งานที่จะอพยพเข้าสู่ตลอดแรงงานในเมือง การขยายฐานของการเติบโตให้กว้างขวางและหลากหลาย จำาเป็ นจะต้องมี การลงทุ น ทั ้ง ในด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐานและเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ แต่ รั ฐ บาลไม่ สามารถลงทุนได้มากนั กเนื่ องจากมีรายรับน้ อย ส่วนทางด้านเอกชนมักประสบ ปั ญหาความขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐาน และสาธารณูปโภค โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พลังงานไฟฟ้ า การขนส่ง ตลอดจนระบบการเงินการธนาคารที่ยังไม่สามารถให้ บริการอย่างเพียงพอ การขาดแคลนคนงานที่มีทักษะและการบริหารงานที่ไม่มี ประสิทธิภาพของภาครัฐ กฎระเบียบที่ไม่เอื้ออำา นวย การจัดหาบริการของรัฐที่ ไม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและความทุ จ ริ ต ในหน้ าที่ ฯลฯ ความขั ด ข้ อ งเหล่ า นี้ มี ผ ล เป็ น การเพิ่ม ต้น ทุน การผลิตให้ภ าคเอกชนและเพิ่ ม ความเสี่ ย ง การปฏิรูป การ บริหารงานแผ่นดินยังไม่ก้าวหน้ าไปตามที่ควร เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมถึงความสำาเร็จของการแก้ปัญหาความยากจนใน มิติเศรษฐกิจ ADB ให้ความเห็นว่ายังไม่เป็ นที่น่าพอใจ แต่ยอมรับว่ากัมพูชายัง เผชิญกับอุปสรรคหลายประการ คือ
(1)
ความแคบของฐานการเติบโตทางเศรษฐกิจและความเติบโต ที่เกิดขึ้นในภาคทันสมัย คือ ภาคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวเกือบจะไม่มีผล เชื่อมโยง (Backward Linkage effects) ไปสู่ภาคการผลิตอื่นๆ
(2)
การอยู่โดดเดี่ยวและถูกทอดทิ้งจากระบบเศรษฐกิจกระแส หลักของคนจน (3) ความด้อยคุณภาพ และการเข้า ถึงบริก ารทางสังคมที่ จำา เป็ น สำา หรับ
การประกอบอาชีพของคนจน (4) ค ว า ม ไ ม่ เ ส ม อ ภ า ค ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง แ ล ะ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก
ทรัพยากรธรรมชาติของคนจนในกรณี ท่ีดิน ป่ าไม้และแหล่งประมง (5) ความด้อ ยโอกาสของคนจนและชนกลุ่ มน้ อ ย ในกระบวนการเลื อ ก โครงการพัฒนาที่จะเป็ นประโยชน์ต่อคนจน นอกเหนื อจากความยากไร้และความขาดแคลนแล้ว ความยากจนในมิติ เศรษฐกิ จ ยั ง เชื่ อมโยงกั บ ความเสมอภาคทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม จากการ
ประเมิ น ผลนโยบายความยากจนของรั ฐ บาลกั ม พู ช า (ADB 2005 : 3) ปรากฏว่าความเหลื่อมลำา้ ของรายได้ระหว่างบุคคลได้ขยายของเขตกว้างขวางยิ่ง ขึ้ น การเติบ โตที่ล่ า ช้า ของภาคเกษตรและการมีผ ลิต ภาพตำ่ า มี ส่ ว นทำา ให้ ค วาม เหลื่อมลำา้ นี้เกิดขึ้น ความเหลื่อมลำา้ ของรายได้ยังปรากฏขึ้นระหว่างกลุ่มชนที่เป็ น ประชากรส่ ว นใหญ่ กั บ ชนกลุ่ มน้ อ ยที่ ต้ อ งอพยพหนี ภั ย ระหว่ า งสงครามและ ความขัดแย้งภายในประเทศและระหว่างชายกับหญิง
สรุปและวิจารณ์ผล ปรากฏการณ์ ค วามยากจนในกั ม พู ช าเป็ น กรณี ตั ว อย่ า งของความด้ อ ย พั ฒ นาของประเทศ และเป็ น กรณี ท่ี ส ามารถอธิ บ ายได้ ด้ ว ยทฤษฎี ก ารพั ฒ นา เศรษฐกิจ ในแบบจำา ลองเศรษฐกิจที่มีโครงสร้างต่างระดับในขัน ้ ตอนที่ภาคการ ผลิตที่ทันสมัยยังไม่มีส่วนเชื่อมโยงกับภาคการผลิตดัง้ เดิม ที่ทำาให้ผลประโยชน์ ข้างเคียงจากภาคทันสมัยไม่ตกทอดไปถึงภาคการผลิตดัง้ เดิม ถ้ากระบวนการ พัฒนามิได้ดำาเนิ นไปอย่างราบรื่นจะปรากฏความยากจนขึ้นในภาคดัง้ เดิม โดยเหตุท่ีความยากจนมีมิติทัง้ ทางเศรษฐกิจและสังคม มาตรการสำา หรับ การแก้ ปั ญหาจึ ง ต้ อ งประกอบด้ ว ยมาตรการทางเศรษฐกิ จ และมาตรการทาง สังคมควบคู่กันไป มาตรการทางเศรษฐกิจจะมุ่งไปที่การทำาให้เศรษฐกิจของชาติ ทัง้ ระบบเติบโตและแตกสาขาเป็ นหลายภาคการผลิต เพื่อก่อให้เกิดความต้องการ คนงานที่จะเป็ นโอกาสของคนจนได้ก้าวออกจากสังคมดัง้ เดิมเข้าสู่สังคมใหม่และ ระบบเศรษฐกิจกระแสหลักที่จะพาให้หลุดพ้นจากความยากจน ส่วนมาตรการ ทางสังคมมุ่งหมายที่จะเติมเต็มความขาดแคลนทางสังคมและความสามารถใน การเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจกระแสหลัก อย่างไรก็ตาม จากมุมมองทางด้านเศรษฐกิจ การแก้ปัญหาความยากจน ในมิติเศรษฐกิจเป็ นสิ่งที่มีความสำาคัญในอันดับสูงกว่า นั กเศรษฐศาสตร์มีความ เชื่อว่าวิธีแก้ปัญหาความยากจนที่จะได้ผลและขจัดความยากจนได้อย่างถาวรจะ ต้องทำาให้เศรษฐกิจเติบโตเสียก่อน เพื่อให้คนจนได้มีโอกาสประกอบอาชีพใหม่ท่ี หลากหลายและช่ ว ยตั ว เองได้ ต ลอดไป ส่ ว นมาตรการทางด้ า นสั ง คมเป็ น มาตรการเสริมที่อำา นวยให้คนจนได้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจกระแสหลักได้สะดวก ขึ้น มาตรการทางสังคมโดยลำา พังไม่สามารถทำาให้คนจนพ้นจากความยากจนได้ แต่อ าจดำา รงอยู่ไ ด้จ ากการใช้ จ่า ยเงิน งบประมาณของรั ฐ จั ด หาบริ ก ารต่ า งๆ ให้ ตลอดจนเงินอุดหนุน (Subsidies) ที่เสริมมูลค่าผลผลิตของคนจนให้สูงกว่า ความเป็ นจริ ง มาตรการเหล่ า นี้ มิ ไ ด้ ช่ ว ยให้ ค นจนพึ่ ง ตั ว เองได้ ถ้ า รั ฐ บาลไม่ สามารถจั ด สรรงบประมาณมาให้กั บ โครงการเหล่ า นี้ คนกลุ่ ม นี้ ก็ จ ะกลั บ ไปสู่ ความยากจนอย่างเดิม ในบริบทของแนวความคิดเห็นนี้ รัฐบาลกัมพูชานั บว่าได้เลือกแนวทางที่ เหมาะสมแล้ว แต่ความล่าช้าในการประสบผลสำาเร็จเป็ นผลสืบเนื่ องมาจากความ รุนแรงและขนาดของปั ญหา คือภาคการผลิตทันสมัยยังมีขนาดเล็กมากไม่เพียง พอที่จะผลักดันเศรษฐกิจให้เติบโตในอัตราที่เพียงพอ หรือแตกสาขาอย่างกว้าง ขวาง ภาคการผลิตทัน สมัยยังตั ง้ อยู่ บ นฐานที่ แคบและไม่ มั่น คง ส่ วนภาคการ ผลิตดัง้ เดิมยังไม่เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ทำาให้เกิดผลิตภาพสูงขึ้น และยังได้ รับความกดดันจากการเพิ่มของประชากร อย่างไรก็ดียังมี ทางเลือกอีกทางหนึ่ งที่ยังมิได้รับความสนใจจากรัฐบาล คือ การพัฒนาภาคเศรษฐกิจนอกระบบ (Informal Sector) โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งภาคเศรษฐกิจนอกระบบที่อยู่ในเมืองซึ่งทำา หน้ าที่เสมือนเป็ นจุดรองรับเบื้อง ต้น และเป็ นสะพานเชื่อมโยงระหว่างภาคการผลิตดัง้ เดิมกับภาคการผลิตสมัย ใหม่ แม้ว่าสภาพความเป็ นอยู่และรายได้อาจจะไม่ดีไปกว่าความเป็ นอยู่ในชนบท มากนั ก แต่งานอาชีพประเภทนี้ มีส่วนเชื่อมโยงและเป็ นลู่ทางสำา หรับคนงานไร้ ฝี มื อ จากชนบทจะเข้ า สู่ ต ลอดแรงงานในภาคสมั ย ใหม่ จ ากการฝึ กงานและ ประสบการณ์ ท่ีได้จากการทำา อาชีพเช่นนี้ ในเมือง อาชีพในกลุ่มนี้ ได้แก่ การค้า ปลีกรายย่อยที่อาจจะเริ่มต้น ด้วยการเป็ นลูกจ้าง การขายอาหาร การทำา งานใน อุตสาหกรรมขนาดเล็กที่ใช้แรงงานเป็ นปั จจัยหลัก งานอาชีพบริการต่างๆ การรับ ช่วงงานผลิต (Subcontracting) ให้กับ หน่ วยธุร กิจในภาคการผลิตในระบบ
(Formal Sector) อุ ต สาหกรรมในกลุ่ ม นี้ มี ห ลากหลายตั ้งแต่ เ สื้ อ ผ้ า จนถึ ง
เครื่ อ งจั ก รกล งานอาชี พ เหล่า นี้ ใ นโอกาสคนงานได้ เ รี ย นรู้ ทั ก ษะใหม่ ๆ นอก เหนื อจากการมีรายได้และผลิตภาพสูงขึ้น การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ นอกระบบเพื่ อ เป็ น ลู่ ท างแก้ ปั ญหาความยากจน กำา ลังได้รับความสนใจมากขึ้นในปั จจุบัน และเป็ น กระแสต่อ ต้านแนวความคิด เดิมที่ว่าการแก้ปัญหาความยากจนจะต้องแก้ท่ีภาคเกษตรเพราะเป็ นแหล่งคนจน และความเชื่อที่ว่า เกษตรกร(และคนจน) ควรอยู่ในชนบทต่อไป การอพยพเข้า
เมืองเป็ นสิ่งที่ไม่ดี แนวความคิดเช่นนี้ ตกทอดมาถึง ADB และรัฐบาลกัมพูชา ด้วย แนวความคิดเช่นนี้ แม้จะไม่มีความบกพร่องหรือเสียหาย แต่ประสบการณ์ ของหลายประเทศพบว่าเป็ นกระบวนการที่ใช้เวลามาก สิน ้ เปลืองงบประมาณต่อ เนื่ อง สูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ และมักจะต้องอาศัยมาตรการแทรกแซงกลไก ตลาดด้วยโครงการพยุงราคาและเงินอุดหนุนซึ่งมาตรการเหล่านี้เป็ นอุปสรรคต่อ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจในระยะยาว แนวความคิดใหม่นี้ได้รบ ั การยอมรับจากองค์การสหประชาชาติว่าเป็ นทาง เลือกใหม่ท่ีดี กว่ า และองค์ก าร U.N.Habitat ได้เ ผยแพร่ค วามคิด นี้ เ ป็ น ครั ้ง
แรกในรายงาน World Development Report 1999/2000 ที่ มี ข้ อ มู ล ยื น ยั น ว่ า เศรษฐกิ จ นอกระบบสามารถจ้ า งคนงานได้ ถึ ง ครึ่ ง หนึ่ งของคนงาน
ทัง้ หมดในเมือง (Todaro 2003 : 330) เรามีเหตุผลหลายประการในเชิง วิช าการที่ ส นั บ สนุน ความคิ ดที่ ว่า ภาค เศรษฐกิจนอกระบบในเมืองมีบทบาทอันสำา คัญในการแก้ปัญหาความยากจน และช่วยให้เศรษฐกิจของชาติเติบโตได้ เหตุผลมีดังนี้
(1)
ภาคเศรษฐกิ จ นอกระบบสามารถก่ อ ให้ เ กิ ด มู ล ค่ า ส่ ว นเกิ น
(Surplus) ที่จะแปรสภาพเป็ นเงินออม และลงทุนต่อไปได้เมื่อเปรียบเทียบกับ ภาคเกษตรในชนบทที่ไม่สามารถก่อให้เกิดเงินออม
(2)การผลิตในภาคเศรษฐกิจนอกระบบใช้เครื่ อ งจัก รอุป กรณ์ เ ป็ น ส่วน
น้ อ ย เมื่อเปรียบเทียบกับ เศรษฐกิจในระบบสำา หรับ การก่อ ให้เ กิ ดการจ้ า งงาน เท่าๆ กัน จึงเป็ นแหล่งดูดซับคนงานที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า (3) ภาคเศรษฐกิ จนอกระบบอำา นวยให้ค นงานเข้า ถึ ง แหล่ ง เรี ย นรู้ และ ฝึ กหัดทักษะใหม่ท่ีมต ี ้นทุนตำ่าในขณะที่ทำางานประกอบอาชีพไปด้วยพร้อมๆ กัน คนงานที่ได้รับการฝึ กและเรียนรู้แล้วเหล่านี้จะเข้าสู่เศรษฐกิจในระบบได้ง่าย
(4)
ภาคเศรษฐกิ จ นอกระบบต้ อ งการคนงานที่ มี ทั ก ษะเบื้ อ งต้ น
(Basic Skills) และคนงานที่ยังไม่มีทักษะเป็ นส่วนมากที่กำา ลังมีจำา นวนเพิ่ม
ขึ้นจากการเพิ่มของประชากรและการอพยพเข้าเมือง ส่วนภาคเศรษฐกิจในระบบ มักต้องการคนงานที่ผ่านการฝึ กหรือเรียนรู้มาแล้ว (5)ภาคเศรษฐกิจนอกระบบใช้เทคโนโลยีท่ี เหมาะสมกับทรัพยากรของ ท้องถิ่น
(Appropriate
Technology) ทำาให้การใช้ทรัพยากรของชาติเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(6) ภาคเศรษฐกิ จ นอกระบบบางสาขามี บ ทบาทอั น สำา คั ญ ในการใช้
ประโยชน์ จ ากวัส ดุ ท่ีใ ช้ แ ล้ ว โดยนำ า มาใช้ อี ก ครั ้ง หนึ่ ง (Recycling) หรือ แปร สภาพให้เป็ นวัสดุท่ีมป ี ระโยชน์ ด้วยเหตุผลดังกล่าวมานี้ เศรษฐกิจนอกระบบจึงมีศักยภาพสูงในการกระ จายผลของการพัฒนาให้ตกทอดไปถึงคนจนที่ส่วนมากดำารงชีพอยู่ในเศรษฐกิจ นอกระบบ ตามที่วิเคราะห์และสรุป มานี้ ชี้ให้เ ห็นว่า การแก้ปัญหาความยากจนของ กัมพูชาโดยทัว่ ไปแล้วมีหลักเกณฑ์ทางวิชาการที่ถูกต้อง ความล่าช้าของผลสำาเร็จ เป็ นผลของปั จจัยภายนอกที่ตกทอดมาจากอดีต อย่างไรก็ดี ถ้ามีการทบทวนและ ประเมิน ผลมาตรการที่ใ ช้ อ ยู่ ใ นปั จจุ บั น และพิ จ ารณาเศรษฐกิ จ นอกระบบใน ฐานะเป็ นทางเลือกใหม่และเป็ นมาตรการเสริมนโยบายที่ดำาเนิ นอยู่แล้ว ก็เป็ นที่ น่ าคาดหมายได้ว่ากัมพูชาจะผ่านพ้นความยากจนไปได้อย่างรวดเร็วขึ้น
เอกสารอ้างอิง
ADB 1999 : Fighting Poverty in Asia and the Pacific : the Poverty Reduction Strategy.
Asian Development Bank, Manila.
ADB 2005 :
Country Strategy and
2009 : Kingdom of Cambodia. CDRI
Programs 2005 –
Asian Development Bank, Manila.
2002.
Cambodia
Annual
2002.Cambodian Development Resource Institute, Phnom Penh. CDRI 1999.
Economic
Review
Cambodia : The Challenge of Productive
Employment Creation .Working Paper
No. 8. Cambodian Development Resource
Institute, Phnom Penh.
CSD Cambodia 2002. National Poverty Reduction Strategy 2003 – 2005.Council for Social Penh.
Development Kingdom of Cambodia, Phnom
Lewis, W.A. 1954. “Economic Development with Unlimited Supply of Labor”, Manchester Studies. Manchester.
School of Economics and Social
Todaro, Michael P. and Stephen C. Smith.2003. Economic Development. Eight Edition.
Pearson Education Limited, Essex.
Rostow , W.W.1990.
The Stages of Economic Growth : A
Non – Communist Manifests.
Third Edition, Cambridge University Press.