Sound

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Sound as PDF for free.

More details

  • Words: 3,457
  • Pages: 174
ธรรมชาติของเสียง

สียงเกิดจากการสัน ่ ของแหล่งกำาเนิด ยง และถ่ายโอนพลังงานกลจาก รสัน ่ โดยอนุภาคของตัวกลางส่งผ่านก เร่ อ ื ยๆ แต่อนุภาคของตัวกลางไม่ได้ ล่ ือนท่ไี ปด้วย

ม่ ือคล่ ืนเสียงเคล่ ือนท่ีผา่ นอากาศจะ าให้อนุภาคของอากาศมีการสัน ่ ไปอัด ล้วสะท้อนจากกัน จึงเกิดบริเวณท นวนอนุภาคของอากาศมากกว่าปกต านวนอนุ ยกว่า ส่วนอัด และบริเวณท่ม ี อ ี นุภา อยกว่าปกติเรียกว่า ส่วนขยาย

อนุภาคของอากาศปกติ

ส่วนอัด ส่วนขยาย ส่วนอัด อนุภาคของอากาศเม่ ือคล่ น ื เสียงผ่าน

การกระจัด ความดัน

พิจารณากราฟ การกระจัดและกราฟ ความดัน จะเห็นว่า ส่วนอัด คือตำาแหน่งท่ีมค ี วามดันเพ่ม ิ ขึน ้ จากปกติมากท่ส ี ุด และมีการกระจ ป็ น ศูนย์

วนขยาย คือตำาแหน่งท่ม ี ค ี วามดันลด งจากปกติมากท่ส ี ุด และมีการกระจัด ป็ น ศูนย์ ตำาแหน่งมีการกระจัดมากท่ส ี ด ุ ทา วกหรือลบจะมีความดันปกติ

อัตราเร็วเสียงในอากาศ

อัตราเร็วเสียงในอากาศมีความสัมพัน กับอุณหภูมส ิ ม ั บูรณ์ของอากาศ คือ

v α T

เม่ ือ T คือ อุณหภูมส ิ ัมบูรณ์ ซ่งึ มี หน่วยเป็ น เคลวิน ( K ) v คือ อัตราเร็วเสียงในอากาศ o ถ้าให้ t เป็ นอุณหภูมิในหน่วย C

จะได้

T = t + 273 หน่วย

K

อัตราเร็วเสียงในอากาศท่ี 0 C มีค่า เท่ากับ 331 m/s ให้ T0 เป็ น อุณหภูมิของอากาศท่ี o

o 0 C หรือ 273 K

v0 เป็ น อัตราเร็วเสียงในอากาศ o

v เป็ น อัตราเร็วเสียงในอากาศท่ี อุณหภูมิ T ใดๆ จาก

v α T และ v0 α T0 จะได้

v = v0

T T0

v = v0

t + 273 = 331 t + 273 273 273

พิสจู น์หาค่าอัตราเร็วเสียงในอากาศท

อุณหภูมิ t ใด ๆ ในหน่วย C ได้จาก o

v = 331 + 0.6t

น่ อ ื งจากเสียงเป็ นคล่ ืนเม่ ือเกิดจากการ นของแหล่งกำาเนิดเสียงด้วย ความถ ป็ น f และมีความยาวคล่ น ื เป็ น  จะ าอัตราเร็วเสียงได้จาก

v = fλ

คำาถาม 1. ถ้าอุณหภูมข ิ องอากาศเพ่ม ิ จากเดิม 3 เท่า อัตราเร็วเสียงจะเป็ นเช่นไร 2. แหล่งกำาเนิดเสียงสัน ่ โดยมีความถ่ี 300 Hz ในอากาศท่ี 37 C จงหา ความยาวคล่ ืนของคล่ ืนเสียง o

การสะท้อนของเสียง

เม่ ือคล่ ืนเสียงเดินทางไปตกกระทบก งกีดขวางท่ม ี ข ี นาด เท่ากับ หรือ ให ว่าความยาวคล่ ืนเสียงจะทำาให้เสียงเก รสะท้อนได้ ซ่ึงจะเป็ นไปตามกฎการ ะท้อนของคล่ ืน

ระนาบของ คล่ ืนตกกระทบ คล่ ืน สะท้อน และ เส้นแนวฉากจะอยูใ่ ระนาบเดียวกัน มุมตกกระทบ และ มุมสะท้อน ซ่ึง กระทำากับเส้นแนวฉาก และ ย่อม ค่าเท่ากัน

การสะท้อนกลับของเสียง ( echo

ม่ ือเราเปล่งเสียงไปยังส่งิ ท่ส ี ะท้อนเสีย ะได้ยินเสียงท่ส ี ะท้อนกลับมาตามหลัง สียงเดิมจากแหล่งกำาเนิดเสียง เรียกว สียงสะท้อนกลับหรือเสียงก้อง

การท่ีหข ู องคนเราจะสามารถได้ยิน สียงก้องได้ก็ตอ ่ เม่ ือช่วงของเวลาท่เี รา ปล่งเสียงออกไป กับ เสียงท่ส ี ะท้อน ลับมายังหูเราต่างกันอย่างน้อยท่ส ี ุด 1 วินาที

คำาถาม

เม่ ือเราเปล่งเสียงไปยังกำาแพง เร ะต้องยืนห่างกำาแพงอย่างน้อยท่ีสด ุ ท่าไร จึงจะทำาให้ได้ยินเสียงก้อง ถ้า ตราเร็วเสียงเท่ากับ 340 m/s

เคร่ ืองโซนาร์ ( SONAR ) (Sound Navigation Ranging )

ป็ นการส่งคล่ ืนเสียงลงไปในน้ำาให้ไป กระทบส่งิ ท่ีตอ ้ งการสำารวจในน้ำาแล้ว สะท้อนกลับมายังเคร่ อ ื งรับ ทำาให้เรา สามารถหาตำาแหน่งส่งิ นัน ้ ได้

ทย์คำานวณ รือลำาหน่งึ ปล่อยโซนาร์ลงไปยังก้น ทะเลนาน 0.4 s จึงรับเสียงสะท้อน ได้ เม่ อ ื อัตราเร็วเสียงในน้ำาเท่าก 1500 m/s จงหาความลึกของทะเล

ม่ ือเคาะท่อเหล็กท่ีปลายข้างหน่ึง ผ ฟั งอยูท ่ ่ป ี ลายอีกข้าง ได้ยน ิ เสียงสอ ครัง้หลังจากเคาะเหล็กเป็ นเวลา 0 O และ 3 s ถ้าอากาศมีอุณหภูมิ 20 C จงหา อัตราเร็วของเสียงในท่อเหล และความยาวของท่อเหล็ก

3. อัตราเร็วของเสียงในอากาศท่ี 20 C O เท่ากับ 344 m/s และท่ี 15 C จะมี อัตราเร็วเสียงเท่าไร O

ถ้าอัตราเร็วเสียงในอากาศท่ี 20 C O และ 35 C เป็ น 343 และ 352 m/s ตามลำาดับ อัตราเร็วเสียงของเสีย O ในอากาศท่ี 0 C เป็ นเท่าไร O

เรือลำาหน่ึงยาว 80 m ส่งสัญญานเสียง กหัวเรือไปยังเคร่ ืองรับท่ีท้ายเรือ โด ยงท่ีเดินทางในอากาศถึงก่อน เสียง นทางไปสะท้อนจากก้นทะเล 0.4 s าอัตราเร็วเสียงในอากาศและในน้ำาเป 3 m/s และ 1450 m/s ตามลำาดับ จงหา วามลึกของทะเล

ชายคนหน่ึงยืนอยู่หน้ากำาแพง เม่ ือ ปล่งเสียงออกไปจะได้ยินเสียงสะท้อน ลับเม่ อ ื เวลาผ่านไป 2.1 s เม่ ือเขาเดิน ข้าหากำาแพงอีก 50 m ทำาให้ได้ยินเสียง ะท้อนเม่ อ ื เวลาผ่านไป 1.8 s จงหาระะห่างกำาแพงครัง้แรกและอัตราเร็วขอ สียง

SONAR จากเรือลำาหน่งึ ปล่อยคล่ ืน วามถ่ี 5 kHz ไปยังฝูงปลาท่รี วมกัน

พ้ืนท่ี 0.3x0.3 m2 และสะท้อนคล่ ืน ด้พอดี ถ้าเคล่ ือนสะท้อนถึงเคร่ อ ื งร ลังจากท่ส ี ่งออกไปแล้ว 2.4 s ฝูงปลา ยู่ห่างจากเรือเท่าไร

เรือกำาลังแล่นเข้าหาหน้าผาด้วยอัตรา เร็วคงท่ี 20 m/s เม่ ือเปิ ดหวูดแล้วอีก 3 s ต่อมาจึงได้ยินเสียงสะท้อน ขณะ ท่ีเรือเปิ ดหวูดเรืออยูห ่ ่างฝั่ งเท่าไร ถ อัตราเร็วเสียงในอากาศเป็ น 340 m/s

การหักเหของเสียง สียงจะมีการหักเหเม่ ือเคล่ ือนท่ผ ี ่าน ตัวกลางต่างกันหรือตัวกลางเดียวกัน แต่มอ ี ุณหภูมต ิ ่างกัน และเป็ นไปตาม กฎของสเนลล์ คือ

sinθ 1 = sinθ 2

λ1 λ2

= v1 v2

1 = มุมตกกระทบ

2 = มุมหักเห

1 = อัตราเร็วเสียงในตัวกลางท่ี 1

2 = อัตราเร็วเสียงในตัวกลางท่ี 2

λ 1 = ความยาวคล่ ืนเสียงในตัวกลางท่ี

เสียงเดินทางในอากาศจากบริเวณท่ีม ณหภูมส ิ ูงไปยังบริเวณท่ม ี อ ี ุณหภูมต ิ N ตัวกลาง 2

ตัวกลาง 1

θ2 θ1

T2 ( ต่ำา )

T1 ( สูง )

เม่ ือ

T2

< T1 จาก sinθ 1 = v1 ดังนัน ้ v < v2 2 sinθ 2

v ดังนัน ้ 1 2 < θ 1 แสดงว่าเป็ นการหักเห เข้าหาเส้นแนวฉาก( N )

เสียงเดินทางในอากาศจากบริเวณท ณหภูมิต่ำาไปยังบริเวณท่ม ี ีอุณหภูมส ิ งู N ตัวกลาง 2

ตัวกลาง 1

θ2 θ1

T2 ( สูง ) T1 ( ต่ำา )

เม่ ือ

T2 > T1

ดังนัน ้ จาก

ดังนัน ้

v2 > v1 sinθ 1 = v1

sinθ 2

v2

> θ แสดงว่ า เป็ น การหั ก เห 2 1 ออกจากเส้นแนวฉาก( N )

คำาถาม การหักเหของเสียงในอากาศในตอน กลางวันและกลางคืนต่างกันอย่างไ เพราะเหตุใด ในบางครัง้ท่เี รามอง เห็นฟ้ าแลบแต่ไม่ได้ยน ิ เสียงฟ้ าร้อง เพราะเหตุใด ในตอนกลางคืนจะได้ ยินเสียงได้ไกลกว่ากลางวัน

จทย์คำานวณ เสียงเคล่ ือนท่จี ากอากาศท่ม ี ีอุณหภูม

ึ ต่ำากว่าโดยมุม 1 ไปยังอุณหภูมิ T2 ซ่ ง

ตกกระทบ 1 มุมหักเห 2 จงหาอัตรา

ส่วนของค่า sinθ 1 ต่อ sinθ 2

เสียงเดินทางจากอากาศท่ม ี ีอุณหภูมิ o o 0 C เข้าสูบ ่ ริเวณท่ีมอ ี ุณหภูมิ 15 C จงหา อัตราส่วนของความยาวคล่ ืนใ o บริเวณทัง้สอง ถ้าอากาศท่ี 0 C เสีย มีอัตราเร็ว 330 m/s

การแทรกสอดของเสียง

คล่ ืนเสียงจากแหล่งกำาเนิดท่ีเป็ นคล าพันธ์ เม่ ือฟั งเสียงตามแนวขนานกับ นวระหว่างแหล่งกำาเนิดทัง้สอง จะทำา ห้ได้ยินเสียงดังท่ีสด ุ และค่อยท่ีสด ุ ณ าแหน่งใด ๆ และเป็ นตำาแหน่งอยู่กับ

ตำาแหน่งเสียงดังกว่าปกติ เกิดจาก การแทรกสอดแบบเสริมของคล่ น ื ทัง้ สอง เรียกว่า ตำาแหน่งปฏิบัพ ( A ) ตำาแหน่งท่ีเสียงดังค่อยกว่าปกติ เก ากการแทรกสอดแบบหักล้างกันของ ล่ ืน เรียกว่า ตำาแหน่งบัพ ( N )

กรณีแหล่งกำาเนิดคล่ ืนอาพันธ์ท่ีมเี ฟส ตรงกัน จะได้สมการของผลต่างระยะ ทางจากแหล่งกำาเนิดเสียงทัง้สองไปยัง ตำาแหน่งแทรกสอด คือ S1P - S2P = nλ เม่ ือจุด P เป็ นตำาแหน่งปฏิบัพ

คือ ความยาวคล่ ืนเสียง

n คือ ลำาดับการแทรกสอดจากแนว ตรงกลาง ซ่ึง n = 0 , 1 , 2 , . . . โดยแนวตรงกลางระหว่างแหล่งกำา นิดเป็ นแนวแทรกสอดแบบเสริมซ่ึง n=0

A0 แนวตรงกลาง

X

P Y

O

dsinθ θ θ S1 d

S2

จากรูป เราสามารถพิสจู น์ได้

dsinθ = nλ x d y = nλ

d คือ ระยะห่างระหว่างแหล่งกำาเนิด คล่ ืนเสียง

เป็ น มุมท่ีตำาแหน่งแทรกสอดเบน ไปจากแนวตรงกลาง X เป็ นระยะทางท่ีตำาแหน่งแทรกสอด เบนไปจากแนวตรง Y เป็ นระยะทางท่ีตำาแหน่งแทรกสอด ห่างจากแนวของแหล่งกำาเนิดเสียง

ในกรณีจด ุ P เป็ นตำาแหน่งแทรกสอด บบหักล้างซ่งึ มีเสียงค่อยท่ส ี ุดจะได้ 1 ( n - 2 )λ S1P - S2P = 1 dsinθ = ( n - 2 )λ 1 x d y = ( n - 2 )λ

ากการแทรกสอดแบบหักล้างของคล าพันธ์ท่เี ฟสตรงกันจะได้ n = 1,2,3,... จะเห็นว่าไม่มี n = 0 เน่ อ ื งจากแนว รงกลางเป็ นแนวแทรกสอดแบบเสริม ท่านัน ้

โจทย์คำานวณ 1. S1 54 m

P 30 m Q

S2 แหล่งกำาเนิดเสียง S1 และ S2 อยู่ห่างกัน m ให้เสียงมีความถ่ี 510 Hz เท่ากัน

ถ้าคล่ น ื เสียงมีเฟสตรงกัน ผู้ฟังอยู่ท ด P ได้ยินเสียงดังท่ส ี ุด เม่ ือเขาเดิน มายังจุด Q ซ่ึงอยูแ ่ นวตรงกลางของ แหล่งกำาเนิดเสียง เขาจะได้ยินเสียง บาท่ส ี ุดก่ค ี รัง้ ถ้าอัตราเร็วเสียงเท่า กับ 340 m/s

ลำาโพง A และ B อยู่หา่ งกัน 2 m ผู้ ฟั งอยู่หา่ ง A 4 m และห่าง B 3 m เสียงท่ม ี ีความถ่ต ี ่ำาท่ส ี ด ุ ท่ท ี ำาให้ผู้ฟัง ได้ยินเสียงเบาท่ีสด ุ เบาท่ส ี ุดเป็ นเท่า ไร ถ้าอัตราเร็วเสียงในอากาศเท่าก 40 m/s

ลำาโพงสองอันมีความถ่ี 510 Hz ห่าง กัน 30 m วางอยู่รม ิ สนามโดยหันไป ยังริมสนามด้านตรงข้าม ถ้าผู้ฟังย อยู่รม ิ สนามตรงข้ามท่ห ี า่ งลำาโพงทัง้ สอง 200 m

าผูฟ ้ ั งเดินตามขอบสนามจากตำาแหน่ง นวตรงกลางระหว่างลำาโพงทัง้สองไป งตำาแหน่งตรงข้ามลำาโพงข้างหน่ีง จะ ด้ยินเสียงค่อยท่ีสด ุ ก่ีครัง้ ถ้าอัตราเร องเสียงเท่ากับ 340 m/s

บีตส์ ( Beat )

บีตส์ เกิดจากคล่ น ื เสียงท่ีมค ี วามถ่ต ี า่ กันเล็กน้อยมารวมกันทำาให้เป็ นเสียงท มีความถ่ต ี ่างไป โดยมีเสียงดังและค่อย สลับกันเป็ นจังหวะสม่ำาเสมอ

f1 f2 f1 + f2 ดัง ดัง ดัง ค่อย ค่อย ค่อย ค่อย

านวนครัง้ท่เี สียงดังในหน่ึงหน่วยเวล

รียกว่า ความถ่ีบีตส์ ( fB ) ซ่งึ มีค่าเท่า กับผลต่างของความถ่ข ี องคล่ ืนเสียงทัง้ สอง คือ

fB = f1 - f 2

เสียงท่ีได้ยินจะมีความถ่ีตา่ งไปจาก ความถ่ข ี องคล่ ืนเสียงทัง้สอง โดย ความถ่เี สียงของเสียงบีตส์ มีค่าเท่า กับความถ่เี ฉล่ียของความถ่ีทงั้ สอง

f + f 1 f = 22

โจทย์คำานวณ

คล่ ืนเสียงมีความถ่ี 256 Hz และ 252 Hz เคล่ ือนท่ม ี าพบกัน จงหา ความถ่ข ี องเสียงท่ไี ด้ยน ิ และจังหวะ ของเสียงท่ีดัง

คล่ ืนเสียงความถ่ี 100 Hz รวมกับ คล่ ืนเสียงอีกคล่ ืนหน่ึงแล้วทำาให้เก เสียงดังเป็ นจังหวะ 10 ครัง้ต่อวินาท คล่ ืนเสียงคล่ ืนหลังมีความถ่ีเท่าไร

แหล่งกำาเนิดเสียงสองแหล่งปล่อย เสียงออกมาพร้อมกันทำาให้ผู้ฟังได ยินเสียงดังเป็ นจังหวะ 8 Hz เสียง ท่ไี ด้ยน ิ มีความถ่ี 200 Hz แหล่ง กำาเนิดคล่ ืนทัง้สองปล่อยเสียงด้วย ความถ่เี ท่าไร

A N A N A N A N A

คล่ ืนน่ิงของเสียง

คล่ ืนเสียงเคล่ ือนท่จี าก แหล่งกำาเนิดไปตกกระ λทบตัง้ฉากกับวัตถุแล้ว 2 สะท้อนกลับในทิศทาง เดิมจึงการซ้อนทับกัน

เม่ ือคล่ ืนเสียงมีความถ่พ ี อเหมาะจ ทำาให้ตำาแหน่งระหว่างแหล่งกำาเนิดกับ ตถุมเี สียงดัง( A ) และค่อย( N ) สลับ กัน ซ่งึ เกิดจากการแทรกสอดของคล่ น ื ระยะห่างระหว่างตำาแหน่งเสียงค่อย ท่ีถัดกันจะห่างกัน /2 เรียกว่า 1 loop

การสัน ่ พ้องของเสียง

วามถ่ธ ี รรมชาติ (Natural frequency) ม่ ือให้วต ั ถุสน ่ั หรือแกว่งโดยอิสระ วัต ะสัน ่ ด้วยความถ่เี ฉพาะค่าหน่ึง เรีย า ความถ่ีธรรมชาติของวัตถุนัน ้

การสัน ่ พ้อง ( resonance ) เป็ นปรากฏ ารท่ีวต ั ถุสน ่ั ด้วยความถ่ต ี รงกับความถ รรมชาติของวัตถุนัน ้ ซ่งึ จะมีผลทำาให กิดการสัน ่ อย่างรุนแรงมากขึน ้ กว่าปก รือมีอัมพลิจูดของการสั่นมากขึน ้

เม่ ือนำาแหล่งกำาเนิดเสียงมาวาง ใกล้ปลายท่อกลวงตรง และปรับ ความถ่เี สียงให้พอเหมาะจะทำาให เกิดเสียงดังมากกว่าปกติแสดงว่า เกิดการสัน ่ พ้องของเสียง

การสัน ่ พ้องของเสียงในหลอดกลวง กิดจากอนุภาคของอากาศในหลอดสัน ่ ความถ่ี เท่ากับ ความถ่ธ ี รรมชาติของ าอากาศในหลอดนัน ้ พอดี ในหลอดกลวงหน่ึงจะเกิดการสัน ่ พ้อ ด้หลายความถ่ี โดยมีความถ่ต ี ่ำาสุดค น่ึงเรียกว่า ความถ่ม ี ล ู ฐาน

ความถ่ี ความถ่ี ความถ่ี ความถ่ี ลำาดับท่ีลำ1าดับท่ี ลำ2าดับท่ีลำ3าดับท่ี 4

ความถ่ี ความถ่ี ความถ่ี ลำาดับท่ี 1 ลำาดับท่ี 2 ลำาดับท่ี 3

จะเห็นว่า ณ ตำาแหน่งปลายเปิ ดเป็ น าแหน่งปฏิบัพ จึงทำาให้เกิดเสียงดัง ากท่ีสด ุ ให้ L เป็ น ความยาวของหลอด v เป็ น อัตราเร็วของเสียง เป็ น ความยาวคล่ น ื เสียง

ม่ ือ fn เป็ นความถ่เี สียงท่ีทำาให้เกิดกา นพ้องของลำาดับท่ใี ด ๆ หาได้จาก กรณีของหลอดปลายปิ ดข้างหน่ึง ( 2n - 1 ) v fn = 4L กรณีของหลอดปลายเปิ ดทัง้สองข้าง nv fn = 2L

กรณีความถ่ีเสียงคงท่แ ี ต่ความยาว ท่อเปล่ย ี น ลำาดับท่ี 1

ลำาดับท่ี2 ลำาดับท่ี 3

โจทย์คำานวณ มหลอดกลวงสม่ำาเสมอลงในน้ำาเม่ ือ ให้เสียงความถ่ีค่าหน่ึงท่ีปากหลอดจะ เกิดเสียงดังมาก เม่ อ ื ปากหลอดอย จากผิวน้ำา 15 , 45 , 75 cm ถ้าเสียงนัน ้ มีความถ่4ี 50 Hz จงหาอัตราเร็วเสียง

หลอดแก้วยาว 1 m จะต้องใส่น้ำาให้ มีระดับต่ำากว่าปากหลอดเท่าไร จึง จะทำาให้เกิดเสียงดังท่ส ี ุดกับเสียงท มีความถ่ี 450 Hz และ อัตราเร็ว ของเสียงในอากาศเป็ น 330 m/s

. ในการทดลองคล่ ืนน่ิงของเสียงท่ีมี ความถ่ี 800 Hz ตำาแหน่งท่ไี ด้ยน ิ เสียงดังท่ส ี ด ุ สองครัง้ถัดกันมีระยะ ห่างกัน 21.5 cm จงหาอัตราเร็ว ของเสียง

การได้ยิน

คล่ ืนเสียงเกิดจากการสัน ่ ของแหล่ง าเนิดเสียง ดังนัน ้ ถ้าแหล่งกำาเนิด สียงได้รบ ั พลังงานมากจะทำาให้คล่ น ื สียงมีอัมพลิจูดมากตามไปด้วย

กำาลังเสียง หมายถึงอัตราการถ่ายโอน ลังงานเสียงจากแหล่งกำาเนิดเสียงหร ริมาณพลังงานเสียงท่ีสง่ ออกมาจาก หล่งกำาเนิดเสียงในหน่ึงหน่วยเวลา หน่วยของกำาลังเสียงเป็ น จูลต่อวินา /s ) หรือ วัตต์ ( watt )

ความเข้มเสียง ( sound intensive ) วามเข้มเสียง( I ) หมายถึงกำาลังเสียง ท่ีแหล่งกำาเนิดเสียงส่งออกมา ต่อ หน หน่วยพ้ืนท่ี หรือปริมาณพลังงานเสีย ท่ีตกกระทบพ้ืนท่ห ี น่ึงตารางหน่วยใน หน่ึงหน่วยเวลา

ม่ ือ P คือ กำาลังเสียงของแหล่งกำาเน เสียง A คือ พ้ืนท่ท ี ่เี สียงตกกระทบ จะได้

P I = A

2 W/m

กรณีแหล่งกำาเนิดเสียงมีขนาดเล็ก R1

S

R2

ให้ S เป็ นแหล่งกำาเนิดเสียงขนาดเล งถือว่าเป็ นจุด และปล่อยออกไปท ศทาง จึงมีลักษณะเป็ นทรงกลม โดย นท่ท ี ่ีรองรับพลังงานเสียง คือ พ้ืนท่ี วของทรงกลมนัน ่ เอง

ม่ ือ P เป็ นกำาลังเสียงของแหล่งกำาเนิด ะยะทางท่ีหา่ งแหล่งกำาเนิดเป็ น R ก อรัศมีของทรงกลม ซ่ึงพ้ืนท่ผ ี ิวทรง

2 กลมเป็ น 4π R จึงหาความเข้มเสียง

I ) หาได้จาก

P I = 2 4π R

ถ้าแหล่งกำาเนิดเสียงมีกำาลังเสียง ( P ) มีค่าคงตัว เราสามารถสรุปได้วา่ 1 I α 2 R ความเข้มเสียงมีค่าแปรผกผันกับระยะ ห่างจากแหล่งกำาเนิดยกกำาลังสอง

สียงท่ีค่อยท่ส ี ด ุ ท่ม ี นุษย์สามารถได้ยน ิ -12 2 มีความเข้มเสียงเท่ากับ 10 watt/m และมีแอมพลิจด ู ของความดันประมาณ -12 x 10 พาสคัล และ ความเข้มเสียง สูงสุดท่ม ี นุษย์สามารถทนฟั งได้โดยไม 2 มีอันตรายต่อหูมีค่า 1 watt/m

โจทย์คำานวณ 1. ชายคนหน่ึงยืนห่างแหล่งกำาเนิด เสียงเป็ น R จะได้ยินเสียงมีความ

เข้ม เขาจะต้องยืน ห่างแหล่งกำาเนิดเสียงเท่าไรจึงจะ ได้ยินเสียงเบาท่ีสด ุ -8 2 10 watt/m

ตำาแหน่งท่ีหา่ งจากหวูดของโรงงาน เป็ นระยะทาง 10 m จะมีความเข้ม

ของเสียงเป็ น จงหา ความเข้มของเสียงหวูด ณ ตำาแหน ห่างจากหวูด 20 m -5 10

2 w/m

แมลงตัวหน่ึงบินเป็ นแนวเสันตรง ด้วยอัตราเร็วคงท่ี 0.1 m/s ออก จากชายคนหน่ึง เขาจะได้ยินเสียง ของแมลงนานเท่าไร ถ้ากำาลังเสียงท่ีแมลงปล่อยออกม เป็ น

-12 4π x 10 watt

ระดับความเข้มเสียง

เน่ อ ื งจากอัตราส่วนระหว่างความเข้ม สียงต่ำาสุดและสูงสุดท่ม ี นุษย์รับฟั งได 12 มีค่าถึง 10 ในทางปฏิบัตจิ ึงนิยมใช้ การบอกความดังของเสียงด้วย ระดับ ความเข้มเสียง มีหน่วยเป็ น เบล ( bel )

ระดับความเข้มเสียงต่ำาสุดท่ีหค ู นปกต บรู้ได้คือ 0 เบล จากการทดลองพบว่า ตำาแหน่งใด ๆ ถ้าเพ่ม ิ ความเข้มเส 2 3 , 10 , 10 , . . . เท่า จะมีระดับความ มเสียงเพ่ม ิ ขึน ้ เป็ น 1 , 2 , 3 , . . . เท่า ามลำาดับ

ะดับความเข้มเสียงท่ีมนุษย์ได้ยินได้ อยู่ในช่วง 0 - 12 เบล ในทางปฏิบัติ ช้หน่วยเป็ น เดซิเบล ( dB ) โดย 1 B = 10 dB ระดับความเข้มเสียงท่ีได้ยินได้ คือ - 120 dB

สามารถกำาหนดได้ว่า ระดับความเข้มเสียง คือ ค่า log ของความเข้มเสียงใด ๆ ต่อ ความ เข้มเสียงต่ำาสุดท่ีมนุษย์ได้ยิน

ให้ เป็ น ระดับความเข้มเสียง I เป็ น ความเข้มเสียงใด ๆ Io เป็ น ความเข้มเสียงต่ำาสุด

I dB β = 10 log Io -12 2 ซ่ึง Io = 10 w/m

ความรู้พ้ืนฐานเก่ย ี วกับ log x คื อ log ของค่ า x ฐาน a a  log แสดงว่า เป็ น log ฐาน 10  log 

ถ้า

logax = y จะได้



ถ้า

logx = y จะได้ x=

  

y 10

c logx = clogx

logx + logy = log(xy) x y logx - logy = log( )

จทย์คำานวณ . สีไวโอลินหน่ึงตัวมีระดับความเข้ม เสียง 10 dB ถ้าสีพร้อมกัน 10 ตัว จะมีระดับความเข้มเสียงเป็ นเท่าไร เม่ ือฟั งเสียงท่ีตำาแหน่งเดิม

. หน้าต่างมีพ้ืนท่ี 0.9 m2 ถ้าเสียงท่ี ผ่านหน้าต่างมีระดับความเข้มเสีย 90 dB กำาลังเสียงท่ีผา่ นหน้าต่างนี้ เป็ นเท่าไร

ระดับความเข้มเสียงของแหล่งกำาเนิด ท่ต ี ำาแหน่งห่าง 10 m เป็ น 60 dB ถ้าเล่ ือนเข้าหาแหล่งกำาเนิดเสียงมาอ m จะมีระดับความเข้มเสียงเท่าไร

. ถ้าลำาโพงถูกเปล่ย ี นจาก 10 w เป็ น 20 w ท่ีตำาแหน่งห่างลำาโพงเท่ากัน ระดับความเข้มเสียงจะเพ่ิมขึน ้ จาก เดิมเท่าไร

5. ท่ีตำาแหน่งห่างจากแหล่งกำาเนิด เสียงเป็ นระยะทาง 100 m มี ระดับความเข้มเสียง 80 dB แหล่งกำาเนิดเสียงมีกำาลังเท่าไร

แหล่งกำาเนิดเสียงส่งเสียงออกไปทุก ทิศทาง ณ ตำาแหน่งท่ห ี ่างออกไ 10 m มีระดับความเข้มเสียงเป็ น 70 dB จงหาระดับความเข้มเสียง ณ ตำาแหน่งท่ีหา่ ง 100 m

มลภาวะของเสียง

มลภาวะของเสียง หมายถึงเสียงท ะดับความเข้มสูง และ เสียงประเภทท อให้เกิดความรำาคาญแก่ผู้ฟัง

ผู้ท่ฟ ี ั งเสียงระดับความเข้มสูงติดต นเป็ นเวลานานจะทำาให้สภาพหู แล ภาพจิตใจผิดปกติไปได้ กระทรวงมหาดไทยได้ออกประกา ก่ียวกับความปลอดภัยในการทำางานใน ริเวณท่ม ี เี สียงดัง โดยมีเกณฑ์ดังนี้

ลาในการทำางาน ระดับความเข้มเสีย อวัน( ชัว่โมง ) ท่ไี ด้รบ ั อย่างต่อเน่ ือง

น้อยกว่า 7 7-8 มากกว่า 8

91 dB 90 dB 80 dB

ปั ญหามลภาวะของเสียงส่วนใหญ่เก กยวดยาน โดยเฉพาะรถจักรยานยน ละรถยนต์ท่ใี ช้เคร่ อ ื งเก่า หรือ มีการ ดแปลงท่อไอเสียง พบว่าเสียงจากยวดยานพาหนะจะ ดับความเข้มเสียงสูงกว่า 85 dB

มาตรฐานระดับความเข้มเสียงใน ปั จจุบันกำาหนดว่า ระดับความเข้มเสียงจา ง ก ยานพาหนะท่รี ะยะห่า

ระดับเสียง

การได้ยน ิ เสียงของคนนอกจากจะขึน ้ ยู่กับ ความเข้มเสียง และ ระดับ ามเข้มเสียงแล้วยังขึน ้ อยู่กับ ความถ องเสียงด้วย โดยความถ่ีเสียงท่ห ี ูคนป คนป ยินอยู่ในช่วง 20 - 20000 Hz

ล่ ืนใต้เสียง ( infrasound ) เป็ นเสียงท่ี ความถ่ต่ ี ตำา่ กว่าคล่ ืนเสียงท่ห ี ูคนปกติ ด้ยินมีซ่งึ ความถ่ี 0.1 - 20 Hz ล่ ืนเหนือเสียง( ultrasound )เป็ นเสียง มีความถ่มาก ี มากกว่าคล่ ืนเสียงท่ห ี ูคนปก ด้ยินซ่ึงมีความถ่มากกว่ ี า 20000 Hz

ในปั จจุบันนีส ้ ามารถผลิต

นเหนือเสียงให้มค ี วามถ่ีสงู ถึง 6 x 10 โดยการทำาให้ผลึกของควอตซสัน ่

สัตว์จะได้ยินเสียงมีช่วงความถ่ีแตก ต่างจากคน เช่น แมวเปล่ แมว งเสียงได้ใน ช่วง 760 - 1500 Hz และรับฟั งเสียง ด้ในช่วงกว้างกว่าคือ 60 - 65000 Hz มนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ในช่วง ความถ่ี 85 - 1100 Hz

สียงท่ีมค ี วามถ่ต ี ่ำา เรียกว่า เสียงทุ้ม สียงท่ีมค ี วามถ่ส ี ูง เรียกว่า เสียงแหลม การจัดระดับเสียงทางดนตรีแบ่งเป็ น  ระดับเสียงดนตรีทางวิทยาศาสตร์ ช้เสียง C กลาง ( โด กลาง ) ท่ีมี วามถ่ี 256 Hz เป็ นมาตรฐาน

ระดับเสียงดนตรีทางดนตรี ใช้เสียง ลา ( A ) ท่ีมค ี วามถ่ี 440 Hz เป็ นมาตรฐาน ระดับเสียงดนตรี ได้แก่ โด ( C ) เร ( D ) มี ( E ) ฟา ( F ) ซอล ( G ) ลา ( A ) ที ( B ) 

ความถ่เี สียงดนตรีทางวิทยาศาสตร์

ระดับเสียง ความถ่ ระดับี เสียง ความถ่ี C 256 G 384 D 288 A 440 E 320 B 480 C 512 F 341

ความถ่เี สียงดนตรีทางวิชาดนตรี

ระดับเสียง ความถ่ ระดับี เสียง ความถ่ี C 261.6 G 392.0 D 293.7 A 440.0 E 329.2 B 493.9 C 523.2 F 349.2

เสียงคู่แปด ( octave ) ของระดับเสียง ด ๆ หมายถึงเสียงท่ี 8 ของเสียงนัน ้ ช่นเสียง C เป็ นเสียงคู่แปดของ C ดยเสียง C มีความถ่เี ป็ นสองเท่าของ สียง C

เสียงสองช่วงคู่แปด คือเสียงท่ี 8 ขอ สียงใด ๆ เช่น เสียง C เป็ นสองช่ว สียงคู่แปดของ C หรือมีความถ่เี ป็ น 4 ท่าของ C

คุณภาพเสียง

แหล่งกำาเนิดเสียงท่ีให้เสียงมีความ าหน่ึง ซ่งึ ถือว่าเป็ นความถ่ต ี ่ำาสุดของ วามถ่เี สียงนัน ้ เรียกว่า ความถ่ม ี ล ู ฐาน undamental) หรือ ฮาร์มอนิกท่ี 1 rst harmonic )

ความถ่ท ี ่ีเป็ น n เท่าของความถ มูลฐาน เรียกว่า ฮาร์มอนิกท่ี n หรือ อเวอร์โทน( overtone )ท่ี n-1 แหล่งกำาเนิดเสียงจะให้เสียง ซ่งึ ม ความถ่ม ี ูลฐาน และ ฮาร์มอนิกต่าง ๆ ออกมาพร้อมกันเสมอ

เราสามารถบ่งบอกชนิดของแหล่ง กำาเนิดเสียงได้ เน่ อ ื งจากแต่ละแหล่ง กำาเนิดเสียงจะมีจำานวนฮาร์มอนิก ม่เท่ากัน และ แต่ละฮาร์มอนิกมี ความเข้มเสียงต่างกัน เรียกว่ามี คุณภาพเสียง ต่างกัน

หูกับการได้ยิน

หูชัน ้ นอก หูชัน ้ กลาง หูชัน ้ ใน

หูแบ่งออกเป็ น 3 ส่วน ได้แก่ 1. หูชัน ้ นอก ประกอบด้วย ใบหู และ รูหลึ ู กไปถึงกระโหลกศีรษะ และ ไปสิน ้ สุดท่เี ย่ ือแก้วหู

ใบหู

เย่ อ ื แก้ ว หู รูหู

หูชัน ้ กลาง เร่ิมจากเย่ ือแก้วหูซ่งึ เป็ น เน้ือเย่ ือบาง ๆ ปิ ดช่องหูถัดไปจะเป็ เป็ นโพรงซ่ึงมีกระดูก 3 ชิน ้ เรียงอย ชิดกันตามลำาดับคือ กระดูกรูปค้อ กระดูกรูปทัง่ และ กระดูกรูปโกลน

กระดูกรูปค้อนกระดูกรูปโกลน

กระดูกรูปทัง่

หลอดลม

หูชัน ้ กลางนีจ้ะมีช่องเล็ก ๆ ติดต่อกับ หลอดลม เพ่ ือปรับความดันอากาศ ทัง้สองด้านของเย่ ือแก้วหูให้เท่ากัน นัน ่ คือ ให้มค ี วามดันอากาศภายนอก และภายในเท่ากัน ไม่เช่นนัน ้ จะทำา ห้เกิดอาการหูอ้ือ

. หูสว่ นใน มี คอเคลีย ซ่ึงเป็ นท่อ ขดเป็ นรูปคล้ายหอยโข่ง ภายในม เซลล์ขนจำานวนมาก ซ่ึงทำาหน้าท รับรู้การสัน ่ ของคล่ ืนเสียง แล้วส สัญญาณเสียงผ่านโสตประสาทไป ยังสมองเพ่ ือแปลงสัญญาณเสียง

โสตประสาท

คอเคลีย

เซลล์ขน

ขอบเขตการได้ยน ิ ของหูคนเราขึน ้ อยู่ก ะดับความเข้มเสียงและความถ่ข ี องเสีย ะดับเร่ิมต้นการได้ยิน เรียกว่า ขีดเร องการได้ยิน (threshold of hearing) ะดับสูงสุดท่ท ี นฟั งได้ เรียกว่า ขีดเร ของความเจ็บปวด (threshold of pian)

เสียงความถ่ีต่ำา ๆ เช่น 20 - 30 Hz จะ ด้ยน ิ เสียงเม่ ือมีระดับความเข้มเสียง 0 - 70 dB

สียงความถ่ป ี านกลาง เช่น 1000 Hz ะได้ยินเสียงเม่ ือมีระดับความเข้มเสีย พียง 10 dB

ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ ( Dloppler effect )

ป็ นปรากฏการณ์ท่ีผฟ ู้ ั งได้ยินเสียงจา เป็ หล่งกำาเนิดเสียงมีความถ่ ี นไปจาก ความถ่เี ปล่ย จา ม เน่ ืองจากมีการเคล่ อ ื นท่ีของแห เนิดเสียง ผูฟ ้ ั ง หรือ ทัง้สองเคล่ อ ื นท าเนิ

แหล่งกำาเนิดเสียงเคล่ อ ื นท่ี Oข

v ด้านหลัง



vS น O v S ด้านหน้า

หล่งกำาเนิดคล่ ืนส่งเสียงท่ีมค ี วามถ่ี พร้อมกับเคล่ ือนท่ไี ปด้วยจะทำาให้หน้า ล่ ืนด้านหน้าถูกอัดและด้านหลังขยาย อก นัน ่ คือ  ด้านหน้ามีความยาวคล่ น ื ลดลง  ด้านหลังมีความยาวคล่ ืนมากขึน ้

ให้ fO เป็ นความถ่เี สียงท่ีผฟ ู้ ั งได้ยิน fS เป็ นความถ่ีเสียงของแหล่ง กำาเนิดเสียง จากสมการ

v f = ดังนัน ้ λ

เม่ ือผูฟ ้ ั งท่อ ี ยู่ทางด้านหน้าของแหล าเนิดคล่ ืน ลดลง จึงได้ยน ิ เสียงท วามถ่ส ี ูงขึน ้ ( fO > fS )

เม่ ือผู้ฟังท่อ ี ยู่ด้านหลังจะมี มา น จึงได้ยินเสียงท่ีมค ี วามต่ำากว่าเดิม

< fS )

าหนดให้ v เป็ นอัตราเร็วเสียงในอากาศ vO เป็ นอัตราเร็วของแหล่งกำาเนิด เสียง

น เป็ นความยาวคล่ ืนเสียงด้านหน

เป็ นความยาวคล่ ืนเสียงด้านหล

ตราเร็วเสียงทางด้านหน้า เม่ อ ื เทียบ บ อัตราเร็วของแหล่งกำาเนิด เท่าก

v - vS

ความยาวคล่ ืนเสียงทางด้านหน้าเป็ น น

v - vS = fS

ความถ่เี สียงท่ผ ี ู้ฟังอยูด ่ ้านหน้าได้ยิน fO) หาได้จาก

v fO =



vf S fO = v - vS

ตราเร็วเสียงทางด้านหลัง เม่ ือเทียบ บ อัตราเร็วของแหล่งกำาเนิด เท่าก

v + vS

ความยาวคล่ ืนเสียงทางด้านหน้าเป็ น น

v + vS = fS

ความถ่เี สียงท่ผ ี ู้ฟังอยูด ่ ้านหลังได้ยิน fO) หาได้จาก

v fO =



vf S fO = v + vS

แหล่งกำาเนิดเสียงอยู่น่ิง ผู้ฟังเคล่ ือนท λ v vO O vO Oข v S เคล่ ือนท่อ ี อก เคล่ ือนท่เี ข้าหา

เม่ ือผูฟ ้ ั งเคล่ อ ื นท่ีเข้าหาแหล่งกำาเน สียง จะทำาให้ได้รบ ั จำานวนลูกคล่ ืนใน น่ึงหน่วยเวลามากขึน ้ จึงได้ยินเสียง ความถ่ส ี ูงกว่าเดิม ถ้าเคล่ ือนท่อ ี อกจากแหล่งกำาเนิดเสีย านวนลูกคล่ ืนท่ไี ด้รบ ั ลดลง จึงได้ยิน สียงมีความถ่ต ี ่ำากว่าเดิม

กรณีผู้ฟังเคล่ ือนท่เี ข้าหาแหล่งกำาเนิด สียงด้วยอัตราเร็ว vO

ความถ่เี สียงของแหล่งกำาเนิดเสียง ) มีค่าเท่ากับ v v หรือ λ = fS =

λ

fS

ห้อัตราเร็วเสียงเทียบกับอัตราเร็วของ ผู้สงั เกตเป็ น vข มีค่าเท่ากับ vข = v + vO ดังนัน ้ ความถ่เี สียงท่ผ ี ู้ฟังได้ยน ิ คือ

vข

fO = λ

แทนค่า และ vข จะได้ความถ สียงผู้ฟังเคล่ ือนท่เี ข้าหาแหล่งกำาเนิด สียงมีค่าเท่ากับ

fO =

(v + vO )fS v

ในกรณีเดียวกัน เม่ ือผูฟ ้ ั งเคล่ ือนท อกจากแหล่งกำาเนิดเสียง จะได้ยิน สียงท่ีมค ี วามถ่เี ท่ากับ

fO =

(v - vO )fS v

จทยคำานวณ รถยนต์คันหน่ึงแล่นด้วย ตราเร็ว 90 km/hr เม่ ือเปิ ดแตรท่ม ี ี วามถ่เี สียง 300 Hz ผูฟ ้ ั งอยู่บนรถคัน น่ึงท่ีว่ิงด้วยอัตราเร็ว 36 km/hr จะ ด้ยินเสียงมีความถ่เี ท่าไร โดยอัตราเร สียงในอากาศเท่ากับ 340 m/s

ม่ ือรถของผูฟ ้ ัง ก. อยูด ่ ้านหน้าและแล่นไปทางเดียวกัน . อยู่ด้านหน้าและแล่นสวนทางกัน ค. อยู่ด้านหลังและแล่นไปทางเดียวกัน . อยู่ด้านหลังและแล่นสวนทางกัน

คล่ ืนกระแทก ( shock wave )

ถ้าแหล่งกำาเนิดเสียงมี อัตราเร็วเท่ากับอัตรา เร็วเสียง หน้าคล่ ืนจะ เคล่ ือนท่ไี ปพร้อมกับ แหล่งกำาเนิดเสียง

ถ้าแหล่งกำาเนิดคล่ น ื เสียงเคล่ ือนท ตราเร็วมากกว่าอัตราเร็วเสียง แหล่ง าเนิดเสียงจะเคล่ ือนท่ีผ่านหน้าคล่ ืน ก ๆ หน้าคล่ ืนออกไปและหน้าคล่ ืนว ลมจะเรียงซ้อนอัดกันเป็ นกรวยกลม

หน้าคล่ ืนของคล่ น ื กระแทก แหล่งกำาเนิดเสียง

น้าคล่ ืนท่ีอัดตัวกัน เรียกว่า หน้าคล่ ืน ระแทก โดยพลังงานท่ีแต่ละหน้าคล่ น ื าไปจะเสริมกันบนหน้าคล่ ืนกระแทก

แหล่งกำาเนิดเสียงท่ีมอ ี ัตราเร็วสูงม มของกรวยย่ิงน้อยลงเร่ อ ื ย ๆ โดยคล ะแทกจะทำาให้ ความดันมีการเปล่ียน ปลงอย่างมากและรวดเร็ว จึงเกิดเสีย คล้ายระเบิดในบริเวณท่ีคล่ น ื กระแท น เรียกว่า โซนิกบูม (sonic boom)

vS

S

θ θ

O

v

A เม่ ือเวลาผ่านไป t แหล่งกำาเนิดเสีย คล่ ือนท่จี าก O ถึง S และเสียงเคล่ ือน ท่ีจาก O ถึง A

ให้ vS เป็ น อัตราเร็วของแหล่งกำาเนิด v เป็ น อัตราเร็วของเสียง OA OS จาก v = t และ vS = t vS = OS = 1 v OA sinθ

เคร่ อ ื งบินท่บ ี ินด้วยอัตราเร็วมากก ตราเร็วของเสียง เรียกว่า เคร่ อ ื งบ ปอร์โซนิก (Supersonic jet) โดยจะ อกอัตราเร็วในการบินของเคร่ อ ื งบินน หน่วยเป็ น มัค (Mach)

มัค เป็ น จำานวนเท่าของอัตราเร็วเสีย นัน ่ คือ 1 มัค เท่ากับอัตราเร็วเสียง Mach = vvS 1 Mach =

sinθ

จทย์คำาถาม คร่ อ ื งบินบินในแนวระดับด้วยอัตราเร มัค ท่รี ะดับสูง 1 km จงหา มุมท่ห ี น้า ล่ ืนกระแทกกระทำาต่อกัน

การนำาความรู้เร่ อ ื งเสียง ไปใช้ประโยชน์ นสถาปั ตยกรรม การออกแบบอาคาร ห้องประชุม ห้อ นตรี จะต้องคำานึงถึงเสียงสะท้อนเพ่ ือ อกใช้วส ั ดุและออกแบบได้ถูกต้อง

านการประมง มีการใช้เคร่ อ ื งโซนาร์ปล่อยคล่ น ื เหน สียงช่วงความถ่ี 20 - 100 kHz ออกไป ป็ นจังหวะเพ่ ือหาฝูงปลา นอกจากนีย ้ งั ใช้คล่ ืนเหนือเสียงเพ่ อ ื ใ นการส่ ือสารระหว่างเรือด้วยกัน

านการแพทย์ ได้นำาคล่ ืนเหนือเสียง โดยการเปล่ย ี น ลังงานไฟฟ้ าเป็ น พลังงานของคล่ น ื หนือเสียงความถ่ีช่วง 1 - 10 MHz ส่ง านร่างกาย เพ่ ือตรวจอวัยวะภายใน ดยแสดงออกทางจอภาพ

นธรณีวท ิ ยา การสำารวจแหล่งแร่ด้วยการวิเคราะ นหิน โดยส่งคล่ ืนเสียงพลังงานสูงจาก รระเบิดท่ีผวิ โลกผ่านชัน ้ เปลือกโลกล แล้วเปล่ียนคล่ น ื เสียงท่ส ี ะท้อนให้เป็ น ญญาณไฟฟ้ าเพ่ อ ื วิเคราะห์ตอ ่ ไป

นวิศวกรรมและอุตสาหกรรม การใช้คล่ ืนเหนือเสียงความถ่ี 500 kHz 15 MHz ตรวสอบรอยร้าว รอยตำาหนิ เน้ือโลหะ แก้ว หรือ เซรามิก และยัง ความหนาของโลหะหรือวัสดุแข็ง ใช วจสอบยางรถยนต์ท่ีผลิตใหม่

คล่ ืนเหนือเสียงท่ีมแ ี อมพลิจูดสูง นคล่ ืนเหนือเสียงพลังงานสูง เรียกว rosonic สามารถทำาให้เกิดปรากฏ รณ์ การเดือดอย่างเย็น ซ่งึ ทำาให้เ รงท่วี า่ งเล็กๆ จำานวนมากในเน้ือโลห อโพรงยุบตัวลงจะเกิดความดันสูงมาก

นำาปรากฏการณ์การเดือดอย่างเย็น ในการกระจายเน้ือโลหะและกำามะถัน สารละลายเพ่ ือผลิตเป็ นฟิ ล์มถ่ายภาพ มีความละเอียดสูง ใช้ในการผลิตโลหะ สมท่ีมค ี วามเป็ นเน้ือเดียวกันสูง และม วหน้าเรียบมากๆ

ในทางเคมีใช้เพ่ ือทำาลายลูกโซ่ของ พลิเมอร์โซ่ยาวให้กลายเป็ นโพลิเมอร ซ่สน ั้ ใช้ในการสเตอริไลซ์น้ำานมสด พ่ ือทำาลายเช้ือแบคทีเรียบางชนืด ใช้ าความสะอาดผิวชิน ้ ส่วนโลหะ เช่น นส่วนในนาฬิกาข้อมือ

ข้อแนะนำาแบบฝึ กหัดท้ายบท ามรู้พ้ืนฐาน 3 เคร่ อ ื งโซนาร์บนเรือลำาหน่ึงส่งคล่ ลของเสียงลงไปใต้ทะเล และรับสะท้อ ในเวลา 5 วินาที ถ้าอัตราเร็วของเส น้ำาทะเลเท่ากับ 1400 m/s ท้องทะเลนัน ้ กเท่าไร

อ5 ไวโอลินสองตัวความถ่ี 438 และ 44 z ถ้าสีไวโอลินทัง้สองพร้อมกันจะเกิด รากฏการณ์ใดของเสียง

อ7 หวูดรถไฟมีกำาลังเสียง 20 วัตต์ ถ้าคล่ ืน สียงจากหวูดรถไฟแผ่หน้าคล่ ืนออกม ป็ นรูปทรงกลม จงหาความเข้มเสียง วทรงกลม ซ่ึงอยู่หา่ งออกไป 150 m

ความรู้ประยุกต์

ถ้ายิงปื นระหว่างหน้าผาสองแห่ง ปรากฏว่าได้ยินเสียงสะท้อน 2 ครัง้ หลังจากยิงปื นเป็ นเวลา 2 วินาที แล วินาที ตามลำาดับ จงหาระยะห่าง ระหว่างหน้าผาทัง้สอง

กำาหนดอุณหภูมข ิ องอากาศขณะนัน ้

เป็ น 40 C อัตราเร็วเสียงท่อ ี ุณหภูมิ o

0 C เท่ากับ 331 m/s และเพ่ม ิ ขึน ้ ทุก o

0.6 m/s ทุก 1 C o

นักดนตรีผู้หน่ึงดีดกีตาร์ทำาให้เกิดเสีย ามถ่ี f ขณะเดียวกับท่ม ี เี สียงออกม กแหล่งกำาเนิดอ่ น ื ทำาให้เกิดเสียงบีต วามถ่ี 5 Hz เม่ ือเขาปรับความถ่ีของ ยงจากสายกีตาร์ลดลงเป็ น 329.6 Hz ากฏว่าได้ยินเสียงท่ีมรี ะดับเสียงเดียว น จงหาค่าความถ่ี f

แหล่งกำาเนินเสียงส่งเสียงด้วยความถ 000 Hz ไปกระทบตัวสะท้อนอันหน่ึง มือใช้เคร่ อ ื งรับฟั งเสียงเคล่ อ ื นไปตาม นวตรงระหว่างแหล่งกำาเนิดเสียงกับต ะท้อนได้ยินเสียง ดัง ค่อย สลับกัน

าต้องการให้ตำาแหน่งเสียงดังสองตำา หน่งท่ีอยู่ถัดกันอยู่หา่ งกันมากกว่า ดิม 2 cm แหล่งกำาเนิดเสียงจะต้อง งเสียงความถ่เี ท่าไรไปกระทบกับตัว ะท้อน อัตราเร็วเสียงในอากาศเท่ากับ 40 m/s

เม่ ือให้เสียงความถ่ี 500 Hz ผ่านไปใน ลอดเรโซแนนซ์ ขณะอุณหภูมิอากา o ป็ น 20 C คล่ ืนเสียงจะต้องมีความถ่ี ท่าไรจึงจะเกิดการสัน ่ พ้องของเสียงได กครัง้หน่ึง

ถ้าอุณหภูมข ิ องอากาศ 0 C อัตราเร็ว เสียงเท่ากับ 331 m/s และ อัตราเร็ว o อัตราเร็วเพ่ม ิ ขึน ้ 0.6 m/s ทุกๆ 1 C o

ในการทดลองการสัน ่ พ้องของเสียง ณะเกิดการสัน ่ พ้องครัง้แรก ลูกสูบอ างจากปากหลอดเรโซแนนซ์ 18 cm ละเม่ ือเกิดการสัน ่ พ้องครัง้ถัดไปจะ องดึงลูกสูบห่างจากปากหลอดเรโซนนซ์ก่เี ซนติเมตร

หลอดแก้วรูปทรงกระบอกปลายปิ ด างหน่ึงถ้านำามาใส่น้ำาให้มรี ะดับต่าง ๆ นแล้วนำาส้อมเสียงท่ก ี ำาลังสัน ่ ให้เกิด สียงไปไว้ใกล้ปากหลอดจะพบว่ามี วามสูงของน้ำาในหลอดแก้ว 2 ค่าท่ีทำา ห้เกิดเสียงดังกว่าเดิม

ครัง้แรกมีน้ำาในหลอดแก้วสูง 12 cm ครัง้ท่ี 2 มีน้ำาในหลอดแก้วสูง 37 cm ถ้าส้อมเสียงสัน ่ ด้วยความถ่ี 682 Hz อัตราเร็วเสียงในอากาศขณะนัน ้ มีค่า เป็ นเท่าไร

นาย ก. เห็นพลุแตกกลางอากาศเหน รษะเขาขึน ้ ไป 80 m ขณะเดียวกันนาย ซ่งึ อยู่ห่างจากนาย ก. ตามแนวราบ ปนระยะทาง 60 m ก็เห็นพลุแตกเช่น น ความเข้มของเสียงพลุท่ีนาย ข. ได บเป็ นก่ีเท่าท่น ี าย ก. ได้รบ ั

12. ท่อทรงกระบอกปลายปิ ดข้างหน่ึง ยาว 2.40 m ถ้าเสียงมีอัตราเร็ว 343 m/s เสียงจากท่อนีจ้ะมีความ ถ่ีต่ำาสุดเท่าไร

Related Documents

Sound
June 2020 17
Sound
June 2020 21
Sound
October 2019 31
Sound
November 2019 38
Sound
November 2019 40