Sct

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Sct as PDF for free.

More details

  • Words: 4,422
  • Pages: 63
สาระและมาตรฐานการเรียนรู สาระการพัฒนาสังคม เปนสาระเกีย่ วกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนาทีพ่ ลเมือง และการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง สามารถนํามาปรับใชใน การดํารงชีวิต มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู ความเขาใจ เห็นคุณคา และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อ การอยูรวมกันอยางสันติสุข มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบ สุขของสังคม มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู ความเขาใจ เห็นความสําคัญของหลักการพัฒนา และสามารถพัฒนา ตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม

ผังมโนทัศน

หลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม วิธีการจัดเก็บขอมูล การวางแผนการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน

มาตรฐานที่ 5.4 การพัฒนาตนเอง

มาตรฐานที่ 5.1 สังคมศึกษา

ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการปกครอง

ประชาธิปไตย สิทธิเสรีภาพ กฎหมายตางๆ

มาตรฐานที่ 5.3 หนาที่พลเมือง

มาตรฐานที่ 5.2 ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี

~ 2~

การพัฒนาสังคม

ความหมายความสําคัญ หลักธรรมสําคัญของศาสนา วัฒนธรรมประเพณี

~3~

เปาหมายการเรียนรู ระดับประถมศึกษา สังคมศึกษา 1. อธิบายความเชื่อมโยงของภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การ ปกครอง และนํามาปรับใชในการดําเนินชีวิต 2. เห็นคุณคาความเชื่อมโยงของภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การ ปกครอง ในการดําเนินชีวิต 3. จัดทําโครงงานความเชื่อมโยงของภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การ ปกครอง ในการดําเนินชีวิต ศาสนาวัฒนธรรม ประเพณี 1. อธิบายหลักศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุข 2. ยอมรับ และเห็นคุณคาเกี่ยวกับหลักศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยูรวมกันอยาง สันติสุข 3. ปฏิบัติตนตามหลัก ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุข หนาที่พลเมือง 1. อธิบายความเปนพลเมืองดีและบอกลักษณะของคนมีจติ สาธารณะได 2. ยอมรับ ทําตามหลักวิถีประชาธิปไตย 3. ปฏิบัติตนตามกฎ กติกาของสังคม และกฎหมาย การพัฒนาตนเอง 1. อธิบายหลักการพัฒนาชุมชน สังคม และการสรางครอบครัวอบอุน 2. เห็นคุณคาของครอบครัวอบอุน ชุมชน เขมแข็ง 3. เขารวมกิจกรรมประชาคมหมูบานและรวมประชาพิจารณปญหาของชุมชนพรอมรวม จัดทําแผนชุมชน

~4~

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สังคมศึกษา 1. วิเคราะหความเชื่อมโยงของภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การ ปกครอง ในการดําเนินชีวิต 2. จัดระบบความเชื่อมโยงของภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การ ปกครอง ในการดําเนินชีวิต 3. จัดทําโครงงานความเชื่อมโยงของภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การ ปกครอง ในการดําเนินชีวิต ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 1. วิเคราะหหลักศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุข 2. จัดระบบคุณคาเกี่ยวกับหลักศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยูรวมกันอยางสันติ สุข 3. ปฏิบัติตนตามหลัก ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี อยางถูกตองเพื่อการอยูรวมกันอยาง สันติสุข หนาที่พลเมือง 1. วิเคราะห ตัดสิน จัดระบบความเปนพลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตย 2. วิเคราะหลักษณะของคนมีจติ สาธารณะ เพือ่ ความสงบสุขของสังคม 3. ปฏิบัติตนตามกฎ กติกาของสังคม และกฎหมายอยางถูกตอง การพัฒนาตนเอง 1. วิเคราะหหลักการพัฒนาชุมชน สังคมและการสรางครอบครัวอบอุน 2. จัดระบบของครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง 3. เขารวมกิจกรรมประชาคมหมูบานอยางถูกตองและเปนผูน ํา ผูตามในการเขารวมประชา พิจารณปญหาของชุมชน 4. จัดทําแผนชุมชนไดถูกตองตามขั้นตอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังคมศึกษา 1. ออกแบบ วางแผนความเชื่อมโยงของภูมิศาสตร ประวัตศิ าสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง และนํามาปรับใชในการดําเนินชีวิต

~5~

2. ตรวจสอบระบบความเชื่อมโยงของภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง ในการดําเนินชีวิต 3. จัดทําโครงงานความเชื่อมโยงของภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การ ปกครอง ในการดําเนินชีวิตที่ถูกตองจนเปนลักษณะนิสยั ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 1. นําหลักศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี มาสรางสรรคสภาพ ชีวิต สังคม เพื่อการอยูรวมกัน อยางสันติสุข 2. ประพฤติตนตามหลักศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยูรวมกันอยาสันติสุขอยาง ถูกตองจนเปนลักษณะนิสัย หนาที่พลเมือง 1. วางแผน ในการปฏิบัติตนใหเปนพลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตย 2. บูรณาการชีวิต และสังคม ใหเปนชุมชน สังคม แหงประชาธิปไตย 3. ประพฤติตนใหเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย และ มีจิตสาธารณะดวยสํานึก รับผิดชอบ 4. ปฏิบัติตนตามกฎ กติกาของสังคม และกฎหมาย อยางถูกตองและเปนลักษณะนิสัย การพัฒนาตนเอง 1. ออกแบบการพัฒนาชุมชน สังคม ชุมชน เขมแข็ง 2. สรางสรรคกิจกรรมประชาคมหมูบาน ใหเกิดการยอมรับของหนวยงานที่เกี่ยวของ 3. เปนผูนําและผูต ามในการเขารวมประชาพิจารณปญหาของชุมชน 4. รวมพัฒนาแผนชุมชนไดถูกตองตามขั้นตอน

~6~

มาตรฐานการเรียนรูระดับ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

~7~

~7~

มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการปกครอง สามารถนํามาปรับ ใชในการดํารงชีวิต ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มีความรู ความเขาใจ 1.อธิบายขอมูลเกี่ยวกับ มีความรู ความเขาใจ 1.อธิบายขอมูลเกี่ยวกับ มีความรู ความเขาใจ 1.อธิบายขอมูลเกี่ยวกับ ตระหนักเกีย่ วกับ ภูมิศาสตร ตระหนักเกีย่ วกับ ภูมิศาสตร ตระหนัก เกีย่ วกับ ภูมิศาสตร ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง ประวัติศาสตร การปกครอง ที่เกี่ยวของ เศรษฐศาสตร การปกครอง ที่เกี่ยวของ เศรษฐศาสตร การปกครอง ที่เกี่ยวของ เศรษฐศาสตร การเมือง กับประเทศในทวีป การเมือง กับประเทศตางๆ ใน การเมือง กับ ตนเอง ชุมชน การปกครอง ใน เอเชีย การปกครอง ในโลก โลก การปกครองใน ทองถิ่น และประเทศ ทวีปเอเชีย และนํามา 2.นําเสนอผลการ และนํามาปรับใชใน 2.วิเคราะหเปรียบเทียบ ทองถิ่นประเทศ และ ไทย ปรับใชในการดําเนิน เปรียบเทียบสภาพ การดําเนินชีวติ เพื่อ สภาพภูมิศาสตร นํามาปรับใชในการ 2.ระบุสภาพความ ชีวิต เพื่อความมั่นคง ภูมิศาสตร ความมั่นคงของชาติ ประวัติศาสตร ดําเนินชีวิต เพือ่ เปลี่ยนแปลงดาน ของชาติ ความมั่นคงของชาติ ภูมิศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง ประวัติศาสตร การปกครอง ของ เศรษฐศาสตร การเมือง ประวัติศาสตร ประเทศตางๆ ในโลก การปกครอง ของ เศรษฐศาสตร การเมือง ประเทศในทวีปเอเชีย การปกครอง และ 3.ตระหนัก และ กฎหมายทีม่ ีผลกระทบ คาดคะเนสถานการณ 3.ตระหนักและ ตอวิถีชุมชน ทองถิ่น ระหวางประเทศ วิเคราะหถึงการ

~8~

ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง

4.เสนอแนะแนวทางใน การแกปญหา การ ปองกันและการพัฒนา ทางดาน การเมือง การ ปกครอง เศรษฐกิจและ สังคม ตามสภาพปญหา ที่เกิดขึ้น เพื่อความ มั่นคงของชาติ

~8~

3.เกิดความตระหนัก และสามารถนําความรู ทางดานภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง และ กฎหมายไปประยุกตใช ใหทันตอการ เปลี่ยนแปลงกับสภาพ ชุมชน สังคมเพื่อความ มั่นคงของชาติ

~9~

มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู ความเขาใจ เห็นคุณคา และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุข ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มีความรู ความเขาใจ 1.อธิบายประวัติ หลักคํา มีความรู ความเขาใจ 1.อธิบาย ประวัติ มีความรู ความเขาใจ 1.อธิบาย ประวัติ เห็นคุณคา และสืบ สอน และการปฏิบัติตนตาม เห็นคุณคา และสืบ ความสําคัญ หลักคํา เห็นคุณคา และสืบ ความสําคัญ หลักคํา ทอดศาสนา หลักศาสนาที่ตนนับถือ สอน ศาสนา วัฒนธรรม ทอดศาสนา สอน ศาสนา วัฒนธรรม ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 2.เห็นความสําคัญของ วัฒนธรรม ประเพณี ประเพณีของประเทศใน วัฒนธรรม ประเพณี ประเพณีของประเทศ ของทองถิ่นและ ในโลก ของ ประเทศใน วัฒนธรรม ประเพณี และมี ของประเทศในทวีป ทวีปเอเชีย ประเทศไทย สวนรวมในการปฏิบัติตน เอเชีย 2.ยอมรับและปฏิบัติตน 2.ยอมรับและปฏิบัติตน สังคมโลก ตามวัฒนธรรมประเพณี เพื่อการอยูรวมกันอยาง เพื่อการอยูรวมกันอยาง ทองถิ่น สันติสุขในสังคมที่มี สันติสุขในสังคมที่มี ความหลากหลายทาง ความหลากหลายทาง 3.ปฏิบัติตนตาม ศาสนา วัฒนธรรม ศาสนา วัฒนธรรม หลักธรรมทางศาสนา ประเพณี ประเพณี วัฒนธรรม ประเพณี 4.ยอมรับและปฏิบัติตน 3.เลือกรับปรับใช เพื่อการอยูรวมกันอยาง วัฒนธรรม ประเพณี ที่ สันติสุขในสังคม ที่มี สอดคลองและ ความหลากหลายทาง เหมาะสมกับสังคมไทย ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี

~ 10 ~

~ 10 ~

มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบสุขของสังคม ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มีความรู ความเขาใจ 1.บอกสิทธิเสรีภาพ มีความรู ความเขาใจ 1.อธิบายสาระสําคัญ มีความรู ความเขาใจ 1.อธิบายความสําคัญ ดําเนินชีวิตตามวิถี บทบาท และหนาที่ตาม ดําเนินชีวิตตามวิถี ของรัฐธรรมนูญ และ ดําเนินชีวิตตามวิถี และบทบาทหนาที่ของ องคกรอิสระตาม ประชาธิปไตย กฎหมายของการเปน ประชาธิปไตย การปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญ กฎหมายเบื้องตน พลเมืองดีตามระบอบ กฎระเบียบของ ประชาธิปไตยอันมี กฎระเบียบของ กฎระเบียบของ ประชาธิปไตยอันมี ประเทศเพื่อนบาน พระมหากษัตริยทรง ประเทศตางๆ ใน 2.ระบุบทบาทองคกร

~ 11 ~

~ 11 ~

ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง

2.เห็นคุณคาของการ ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี ตามกฎหมาย 3.มีสวนรวมในการ ปกครองสวนทองถิ่นใน ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข

2.ตระหนักในปญหา การไมปฏิบัติตาม กฎหมาย 3.มีสวนรวมสงเสริม และสนับสนุน ทาง การเมืองการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข

3. ตระหนักถึงผลกระทบ จากการไมปฏิบตั ิตาม กฎหมายของประชาชนใน ประเทศตางๆ 4.เสนอทางเลือกในการ แกปญหาความไมสงบ ที่เกี่ยวของกับกฎหมาย ของประเทศไทยและ ประเทศตางๆ

มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู ความเขาใจ เห็นความสําคัญของหลักการพัฒนา และสามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มีความรู ความเขาใจ 1.มีความรู ความเขาใจ มีความรู ความเขาใจ 1.มีความรู ความเขาใจ มีความรู ความเขาใจ 1.มีความรู ความเขาใจ หลักการพัฒนา หลักการพัฒนาชุมชน/ หลักการพัฒนา หลักการพัฒนาชุมชน/ หลักการพัฒนา หลักการพัฒนาชุมชน/ ชุมชน/สังคม และ สังคม ชุมชน/สังคม สังคม ชุมชน/สังคม สังคม

~ 12 ~

5.นําผลที่ไดจากการ ประชาคมไปเพื่อใชใน ชีวิตประจําวัน

5.นําผลที่ไดจากการ ประชาคมไปเพื่อใชใน ชีวิตประจําวันได 6.สามารถพัฒนาการ

5.เปนผูนําผูตามในการ จัดทําประชาคม ประชา พิจารณของชุมชน 6.กําหนดแนวทางใน

~ 12 ~

ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง 2.บอกความหมายและ 2.มีความรู ความเขาใจ 2.มีความรู ความเขาใจ และเห็นความสําคัญ ความสําคัญของ และเห็นความสําคัญ ของขอมูล ตนเอง ของขอมูล ตนเอง แผนชีวิต และชุมชน/ ครอบครัว ชุมชน/ ครอบครัว ชุมชน สังคม สังคม สังคม 3.วิเคราะหและนําเสนอ ขอมูลตนเอง ครอบครัว 3.วิเคราะหขอมูล ตนเอง 3.วิเคราะหขอมูล ตนเอง ชุมชน/สังคม ดวย ครอบครัว ชุมชน สังคม ครอบครัว ชุมชน สังคม เทคนิค และวิธีการที่ เพื่อใชในการจัดทําแผน เพื่อใชในการจัดทําแผน หลากหลาย ชีวิต และชุมชน/สังคม ชีวิต และชุมชน/สังคม 4.เกิดความตระหนัก 4.จูงใจใหสมาชิกของ 4.เกิดความตระหนัก และมีสวนรวมในการ ชุมชนมีสวนรวมในการ และมีสวนรวมในการ จัดทําประชาคมของ จัดทําแผนชีวติ และ จัดทําประชาคมของ ชุมชน แผนชุมชน/สังคมได ชุมชน

~ 13 ~

ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง

~ 13 ~

7.รวมพัฒนาแผนชุมชน ตามขั้นตอน

~ 14 ~

คําอธิบายรายวิชาบังคับ

~ 15 ~

รายวิชาบังคับ สาระการพัฒนาสังคม มาตรฐานที่ 5.1 5.2

~ 15 ~

5.3 5.4

ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รหัสรายวิชา รายวิชา หนวยกิต รหัสรายวิชา รายวิชา หนวยกิต รหัสรายวิชา รายวิชา หนวยกิต สค1101 สังคมศึกษา 3 สค2101 สังคมศึกษา 3 สค3101 สังคมศึกษา 3 ศาสนา ศาสนา ศาสนา สค1102 วัฒนธรรม 1 สค2102 วัฒนธรรม 1 สค3102 วัฒนธรรม 1 ประเพณี ประเพณี ประเพณี สค1103 หนาที่พลเมือง 1 สค2103 หนาที่พลเมือง 1 สค3103 หนาที่พลเมือง 1 สค1104 การพัฒนาตนเอง 1 สค2104 การพัฒนาตนเอง 1 สค3104 การพัฒนาตนเอง 1 6 6 6 รวม

~ 16 ~

คําอธิบายรายวิชา สค1101 สังคมศึกษา สาระการพัฒนาสังคม ระดับประถมศึกษา จํานวน 3 หนวยกิต (120 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการปกครอง สามารถนํามาปรับใชในการดํารงชีวิต ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ 1. ลักษณะทางภูมิศาสตรกายภาพ และผลกระทบของภูมิศาสตรภายภาพตอวิถีชีวิต ความเปนอยูใน ชุมชน ทองถิ่น ของประเทศไทย 2. ความหมาย ความสําคัญ และผลกระทบทางประวัติศาสตร ที่มีตอครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศ 3. ความหมาย ความสําคัญของเศรษฐศาสตรระดับครอบครัว และชุมชน 4. ความหมาย ความสําคัญ และการมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองในระดับทองถิ่น และประเทศ การจัดประสบการณการเรียนรู 1. จัดใหมีการสํารวจสภาพภูมิศาสตรกายภาพ ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง ของชุมชน จัดกลุมอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู สืบคนขอมูลทางกายภาพ จากแหลงเรียนรูภูมิ ปญญา ฯลฯ และสรุปผลการเรียนรู นําเสนอในรูปแบบตางๆ 2. จัดใหมีการศึกษาจากสื่อการเรียนรู เชน เอกสาร ตํารา CD แหลงการเรียนรู ภูมิปญญา สถานที่สําคัญ 3. จัดใหมีการสืบคนรวบรวมขอมูล โดยวิธีการตางๆ เชน การศึกษาดูงาน การเก็บขอมูล จาก องคกร ฟงการบรรยายจากผูรู จัดกลุมอภิปราย การวิเคราะห เสนอแนวคิด ทางเลือก 4. จัดกิจกรรมการศึกษาจากสภาพจริง การเลาประสบการณ การแลกเปลี่ยนเรียนรู การคนควาจาก ผูรู แหลงการเรียนรู สื่อเทคโนโลยี สื่อเอกสาร การจําลองเหตุการณ การอภิปราย การวิเคราะห สรุปผลการเรียนรู และนําเสนอ ในรูปแบบที่หลากหลาย การวัดและประเมินผล ประเมินจากการทดสอบ การสังเกต การประเมินการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมและการตรวจ ผลงาน ฯลฯ

~ 17 ~

คําอธิบายรายวิชา สค1102 ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี สาระการพัฒนาสังคม ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู ความเขาใจ เห็นคุณคา และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยูรวมกัน อยางสันติสุข ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ 1. ความหมาย ความสําคัญของศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 2. พุทธประวัติ และประวัติศาสดาของศาสนาตางๆ ในประเทศไทย 3. หลักธรรม และการปฏิบัติตนตามหลักธรรมของแตละศาสนา 4. บุคคลตัวอยางที่ใชหลักธรรมทางศาสนาในการดําเนินชีวิต 5. วัฒนธรรมประเพณี คานิยมที่พึงประสงคของชุมชน สังคมในทองถิ่นและสังคมไทย การจัดประสบการณการเรียนรู จัดใหมีการคนควาหาความรู จากสื่อเอกสาร ตํารา สื่ออิเล็กทรอนิกส ภูมิปญญา สถาบันทางศาสนา การฝกปฏิบัติ การทําโครงงาน การสรุปผลการเรียนรู และนําเสนอในรูปแบบตางๆ การวัดและประเมินผล ประเมินจากการทดสอบ การสังเกต การประเมินการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมและการตรวจ ผลงาน ฯลฯ

~ 18 ~

คําอธิบายรายวิชา สค1103 หนาที่พลเมือง สาระการพัฒนาสังคม ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบสุขของสังคม ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ 1. สิทธิเสรีภาพ บทบาทหนาที่ของพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย 2. ปญหาและสถานการณการเมือง การปกครองที่เกิดขึ้นในชุมชน 3. การมีสวนรวมในการปฏิบัติตนตามกฎหมาย 4. กฎหมายในชีวิตประจําวัน การจัดประสบการณการเรียนรู จัดใหมีกิจกรรมการคนควาหาความรูจากสื่อเอกสาร ตํารา สื่อเทคโนโลยี ผูรู การรวมกิจกรรมของ ชุมชน การจัดกลุมอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู การวิเคราะห สถานการณจําลอง การสรุปผลการเรียนรูและ นําเสนอในรูปแบบที่หลากหลาย การวัดและประเมินผล การประเมินผลงาน การทดสอบ และการประเมินการมีสวนรวมในขั้นตอนตางๆ ของการจัดทําแผน ชุมชน

~ 19 ~

คําอธิบายรายวิชา สค1104 การพัฒนาตนเอง สาระการพัฒนาสังคม ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู ความเขาใจ เห็นความสําคัญของหลักการพัฒนา และสามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ 1. ความหมาย ความสําคัญ ประโยชน ของการพัฒนาชุมชน/สังคม 2. วิธีการจัดเก็บขอมูล การวิเคราะหขอมูลชุมชนอยางงาย 3. การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 4. การนําผลที่ไดจากการวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ไปใชในชีวติ ประจําวัน การจัดประสบการณการเรียนรู จัดใหผูเรียนฝกทักษะการจัดเก็บขอมูล การวิเคราะหขอมูล การจัดแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม โดยการเขารวมสังเกตการณ สรางสถานการณจําลอง จัดทําเวทีประชาคม และการศึกษาดูงาน การวัดและประเมินผล ผลงาน และมีสวนรวมในขัน้ ตอนตางๆ ของการจัดทําแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

~ 20 ~

คําอธิบายรายวิชา สค2101 สังคมศึกษา สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการปกครอง สามารถนํามาปรับใชในการดํารงชีวิต ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ 1. ลักษณะทางภูมิศาสตรกายภาพ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิศาสตรกายภาพ และความสัมพันธทาง ภูมิ ศ าสตร ก ายภาพ ที่ ส ง ผลกระทบถึ ง วิ ถี ชี วิ ต ความเป น อยู ข องประชากร ตลอดจนการเกิ ด ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมของประเทศตางๆ ในทวีปเอเชีย 2. ความเปนมาของประวัติศาสตรประเทศตางๆ ในทวีปเอเชีย 3. ความหมาย และความสําคัญของเศรษฐศาสตร ระบบเศรษฐกิจ และกลุมของเศรษฐกิจในทวีปเอเชีย 4. การเมือง การปกครอง และการเปรียบเทียบรูปแบบการเมือง การปกครองของประเทศตางๆ ในทวีปเอเชีย การจัดประสบการณการเรียนรู 1. จัดใหมีการสํารวจสภาพภูมิศาสตรกายภาพประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง ของชุมชน จัดกลุมอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู สืบคนขอมูลทางกายภาพ จากแหลงเรียนรูภูมิ ปญญา แผนที่ Website ฯลฯ และสรุปผลการเรียนรู นําเสนอในรูปแบบตางๆ 2. จัดใหมีการศึกษาจากสื่อการเรียนรู เชน เอกสาร ตํารา CD แหลงการเรียนรู ภูมิปญญา สถานที่สําคัญ 3. จัดใหมีการสืบคนรวบรวมขอมูล โดยวิธีการตางๆ เชน การศึกษาดูงาน การเก็บขอมูล จากองคกร ฟงการบรรยายจากผูรู จัดกลุมอภิปราย การวิเคราะห เสนอแนวคิด ทางเลือก 4. จัดกิจกรรมการศึกษาจากสภาพจริง การเลาประสบการณ การแลกเปลี่ยนเรียนรู การคนควาจาก ผูรู แหลงการเรียนรู สื่อเทคโนโลยี สื่อเอกสาร การจําลองเหตุการณ การอภิปราย การวิเคราะห สรุปผลการเรียนรู และนําเสนอ ในรูปแบบที่หลากหลาย การวัดและประเมินผล ประเมินจากการทดสอบ การสังเกต การประเมินการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมและการตรวจ ผลงาน ฯลฯ

~ 21 ~

คําอธิบายรายวิชา สค2102 ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู ความเขาใจ เห็นคุณคา และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยูรวมกัน อยางสันติสุข ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ 1. ประวัติความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย และประเทศในทวีปเอเชีย 2. หลักธรรมสําคัญ ของการปฏิบัติตนใหอยูรวมกันอยางสันติสุข 3. การบริหารจิต ตามหลักศาสนา 4. การปฏิบัติตนเปนคนดีตามหลักคําสอนของแตละศาสนา (พุทธ คริสต อิสลาม) 5. วัฒนธรรม ประเพณี ที่สําคัญของประเทศไทยและทวีปเอเชีย 6. การอนุรักษ สืบสาน วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยม จริยธรรมทางสังคม ที่พึงประสงคของ สังคมไทย การจัดประสบการณการเรียนรู จัดใหมีการคนควาหาความรู จากสื่อเอกสาร ตํารา สื่ออิเล็กทรอนิกส ภูมิปญญา สถาบันทางศาสนา การฝกปฏิบัติ การทําโครงงาน การสรุปผลการเรียนรู และนําเสนอในรูปแบบตางๆ การวัดและประเมินผล ประเมินจากการทดสอบ การสังเกต การประเมินการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมและการตรวจ ผลงาน ฯลฯ

~ 22 ~

คําอธิบายรายวิชา สค2103 หนาที่พลเมือง สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบสุขของสังคม ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ 1. โครงสรางและสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ที่เกี่ยวของกับสิทธิเสรีภาพ หนาที่ของประชาชน 2. การปฏิรูปการเมืองและจุดเดนของรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวของกับสิทธิเสรีภาพหนาที่ของประชาชน 3. หลักการอยูรวมกันตามวิถีทางประชาธิปไตยบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรม 4. สถานการณการเมืองการปกครองในสังคมไทย 5. การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครอง 6. สิทธิมนุษยชนพื้นฐาน การจัดประสบการณการเรียนรู จัดใหมีกิจกรรมการคนควาหาความรูจากสื่อเอกสาร ตํารา สื่อเทคโนโลยี ผูรู การรวมกิจกรรมของ ชุมชน การจัดกลุมอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู การวิเคราะห สถานการณจําลอง การสรุปผลการเรียนรูและ นําเสนอในรูปแบบที่หลากหลาย การวัดและประเมินผล การประเมินผลงาน การทดสอบ และการประเมินการมีสวนรวมในขั้นตอนตางๆ ของการจัดทําแผน ชุมชน

~ 23 ~

คําอธิบายรายวิชา สค2104 การพัฒนาตนเอง สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู ความเขาใจ เห็นความสําคัญของหลักการพัฒนา และสามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ 1. ความหมาย ความสําคัญ ของขอมูล ประโยชนของขอมูลตนเอง ชุมชน สังคม 2. เทคนิคและวิธีการจัดเก็บขอมูล เชน การจัดเวทีประชาคม การสํารวจขอมูลการประชาพิจารณ โดยใชแบบสอบถาม การสืบคนขอมูลจากแหลงตางๆ ฯลฯ 3. การวิเคราะหขอมูลเพื่อการจัดทําแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม 4. การจัดทําแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคมและการนําไปใชในชีวิตประจําวัน การจัดประสบการณการเรียนรู จัดใหผูเรียนฝกทักษะจากการปฏิบัติจริงการเก็บขอมูล การวิเคราะหขอมูล การจัดทําแผนพัฒนา ตนเอง ชุมชน/สังคม โดยการเขารวมสังเกตการณ สรางสถานการณจําลอง จัดทําเวทีประชาคม และการศึกษา ดูงาน เปรียบเทียบการจัดทําแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม ระหวางกลุม ระหวางชุมชน การวัดและประเมินผล จากผลงาน และการมีสวนรวมในการจัดทําแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม

~ 24 ~

คําอธิบายรายวิชา สค3101 สังคมศึกษา สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการปกครอง สามารถนํามาปรับใชในการดํารงชีวิต ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ 1. สภาพภูมิศาสตรกายภาพ ของประเทศตางๆ ในทวีปยุโรป ทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอฟริกา ทวีป อเมริกา และปรากฏการณทางธรรมชาติที่สําคัญๆ 2. การแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตร แหลงอารยธรรมโลก บุคคลสําคัญของโลก เหตุการณสําคัญ ของโลกที่มีผลตอปจจุบัน 3. ระบบเศรษฐกิจ สถาบันการเงิน และการเงินการคลังของประเทศไทย ระบบเศรษฐกิจระหวาง ประเทศ และการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของประเทศตางๆ 4. การพัฒนาการ การเมือง การปกครอง ของประเทศไทย และเหตุการณสําคัญทางการเมืองการ ปกครองของโลกที่สงผลกระทบตอประเทศไทย การจัดประสบการณการเรียนรู 1. จัดใหมีการสํารวจสภาพภูมิศาสตรกายภาพประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง ของชุมชน จัดกลุมอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู สืบคนขอมูลทางกายภาพ จากแหลงเรียนรูภูมิ ปญญา แผนที่ Website ฯลฯ และสรุปผลการเรียนรู นําเสนอในรูปแบบตางๆ 2. จัดใหมีการศึกษาจากสื่อการเรียนรู เชน เอกสาร ตํารา CD แหลงการเรียนรู ภูมิปญญา สถานที่สําคัญ 3. จัดใหมีการสืบคนรวบรวมขอมูล โดยวิธีการตางๆ เชน การศึกษาดูงาน การเก็บขอมูล จากองคกร ฟงการบรรยายจากผูรู จัดกลุมอภิปราย การวิเคราะห เสนอแนวคิด ทางเลือก 4. จัดกิจกรรมการศึกษาจากสภาพจริง การเลาประสบการณ การแลกเปลี่ยนเรียนรู การคนควาจาก ผูรู แหลงการเรียนรู สื่อเทคโนโลยี สื่อเอกสาร การจําลองเหตุการณ การอภิปราย การวิเคราะห สรุปผลการเรียนรู และนําเสนอ ในรูปแบบที่หลากหลาย การวัดและประเมินผล ประเมินจากการทดสอบ การสังเกต การประเมินการมีสว นรวมในการทํากิจกรรมและการตรวจ ผลงาน ฯลฯ

~ 25 ~

คําอธิบายรายวิชา สค3102 ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู ความเขาใจ เห็นคุณคา และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยูรวมกัน อยางสันติสุข ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ 1. หลักธรรมสําคัญของแตละศาสนา และการปฏิบัติตนใหอยูรวมกันอยางสันติสุข 2. การบริหารจิต เจริญปญญาดวยหลักอริยสัจ 4 3. ความสําคัญของคานิยม จริยธรรมทางสังคม( ตัวกําหนดความเชื่อ พฤติกรรมที่แตกตางกัน) 4. การหลั่งไหลทางวัฒนธรรม และการเลือกรับปรับใชวัฒนธรรมจากตางชาติ 5. การสืบทอดทางวัฒนธรรม และประเพณีดีงามของไทย 6. แนวทางการปองกัน และการแกปญหาพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคของสังคมไทย การจัดประสบการณการเรียนรู จัดกิจกรรม ดวยการศึกษาหาความรูจากสื่อเอกสาร สื่อเทคโนโลยี ภูมิปญญา องคกร สถาบัน การฝก ปฏิบัติ รวมกิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี การจัดกลุมอภิปราย การวิเคราะห การศึกษาดูงาน และ การสรุปผลการเรียนรูพรอมนําเสนอดวยวิธีที่หลากหลาย การวัดและประเมินผล ประเมินจากการทดสอบ การสังเกต การประเมินการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมและการตรวจ ผลงาน ฯลฯ

~ 26 ~

คําอธิบายรายวิชา สค3103 หนาที่พลเมือง สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบสุขของสังคม ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ 1. บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและมีผลตอฐานะของประเทศใน สังคมโลก 2. ที่มาและบทบาทหนาที่ ขององคกรกลางตามรัฐธรรมนูญ 3. การปฏิบัติตนใหสอดคลองตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและสนับสนุนสงเสริมใหผูอื่นปฏิบัติ 4. การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครอง เพื่อใหเกิดประโยชนตอสังคมไทย และสังคมโลก 5. สิทธิมนุษยชน และกฎหมายระหวางประเทศที่วาดวยการคุมครองสิทธิดานบุคคล การจัดประสบการณการเรียนรู จัดใหมีกิจกรรมการคนควาหาความรูจากสื่อเอกสาร ตํารา สื่อเทคโนโลยี ผูรู การรวมกิจกรรมของ ชุมชน การจัดกลุมอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู การวิเคราะห สถานการณจําลอง การสรุปผลการเรียนรูและ นําเสนอในรูปแบบที่หลากหลาย การวัดและประเมินผล การประเมินผลงาน การทดสอบ และการประเมินการมีสวนรวมในขั้นตอนตางๆ ของการจัดทําแผน ชุมชน

~ 27 ~

คําอธิบายรายวิชา สค3104 การพัฒนาตนเอง สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู ความเขาใจ เห็นความสําคัญของหลักการพัฒนา และสามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ 1. ความหมาย ความสําคัญ ของขอมูล ประโยชนของขอมูลตนเอง ชุมชน/สังคม 2. เทคนิคและวิธีการจัดเก็บขอมูล เชน การจัดเวทีประชาคม การสํารวจขอมูลโดยใชแบบสอบถาม การสืบคนขอมูลจากแหลงตางๆ ฯลฯ 3. การวิเคราะหขอมูลเพื่อการจัดทําแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม 4. การจัดทําแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม และการนําไปใช 5. ความหมายความสําคัญที่มาและบทบาทหนาที่ของผูนํา ผูตามชุมชนดานการจัดทําแผนพัฒนา ตนเอง ชุมชน/สังคม 6. การเปนผูนํา ผูตามในการขับเคลื่อนแผนพัฒนาตนอง ชุมชน/สังคม สูการปฏิบัติ การจัดประสบการณการเรียนรู จัดใหผูเรียนศึกษาจากการปฏิบัติจริง เขารวมสังเกตการณ ศึกษากรณีตัวอยางชุมชน และผูนําชุมชน สรางสถานการณจําลอง จัดทําเวทีประชาคม และการศึกษาดูงาน เปรียบเทียบการจัดทําแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม ระหวางกลุม ระหวางชุมชน การวัดและประเมินผล จากผลงาน และการมีสวนรวมในการจัดทําแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม

~ 28 ~

รายละเอียดคําอธิบาย รายวิชาบังคับ

~ 29 ~

รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา สค1101 สังคมศึกษา สาระการพัฒนาสังคม ระดับประถมศึกษา จํานวน 3 หนวยกิต (120 ชัว่ โมง) มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง สามารถนํามาปรับใชในการดํารงชีวิต จํานวน ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา (ชั่วโมง) 1 ภูมิศาสตรกายภาพ 1. มีความรูความเขาใจ เกี่ยวกับ 1. ลักษณะทางภูมิศาสตร 40 ประเทศไทย ภูมิศาสตรกายภาพ ชุมชน ทองถิ่น กายภาพของ ชุมชน และภูมิศาสตรกายภาพประเทศ ทองถิ่น ไทย - ที่ตั้ง อาณาเขต - ภูมิประเทศ - ภูมิอากาศ 2.ตระหนักในความสําคัญเกี่ยวกับ 2. ลักษณะทางภูมิศาสตร ภูมิศาสตรกายภาพชุมชน ทองถิ่น กายภาพของประเทศไทย และภูมิศาสตรกายภาพประเทศ - ที่ตั้ง อาณาเขต ไทย - ภูมิประเทศของภาค ตางๆ - ภูมิอากาศของภาคตางๆ 3. การใชขอมูลภูมิศาสตร 3.สามารถนําความรูเกี่ยวกับ ภูมิศาสตรกายภาพ ชุมชน ทองถิ่น กายภาพชุมชน ทองถิ่น และประเทศ เพื่อใชในการ ตนเอง และของประเทศไทยมา ปรับใชในการดํารงชีวิตเพื่อความ ดํารงชีวิต และความมั่นคง ของชาติ มั่นคงของชาติ - การเลือกที่อยู และการ ประกอบอาชีพ - การปองกันตนจากภัย พิบัติ - การรักษาอาณาเขตของ ประเทศ

~ 30 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด 4. ตระหนักถึงความสําคัญในการ อนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติในชุมชน ทองถิ่นของ ตน และของประเทศ

เนื้อหา ากรธรรมชาติใน ชุมชน - ดิน หิน แรธาตุ - ปาไม ภูเขา - แมน้ํา หนอง คลอง บึง ทะเล - ชายฝง - สัตวปา - สัตวทะเล สัตวน้ําจืด - เปลือกหอย ปะการัง - อื่นๆ 4.2 ทรัพยากรธรรมชาติของ ประเทศไทย - ภาคเหนือ - ภาคกลาง - ภาคตะวันออก - ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ - ภาคใต - กรณีตวั อยางความ สูญเสียเกิดจากการไม อนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติ 4.3 วิธีการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ - กรณีตวั อยางการ อนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติ

จํานวน (ชั่วโมง)

~ 31 ~

ที่

หัวเรื่อง

2 ประวัติศาสตรชาติไทย

ตัวชี้วัด 1. อธิบายความเปนมาของ ประวัติศาสตร ชุมชน ทองถิ่น และประเทศไทยได 2.ระบุเหตุการณความเปลีย่ นแปลง ในประวัติศาสตรของประเทศไทย

3.ตระหนัก และสามารถนําความรู ที่ไดจากการศึกษาประวัติศาสตร ชุมชน และของไทย มาเปนกรอบ ในการวิเคราะหเหตุการณปจ จุบัน และเสนอทางเลือกที่เปนทางออก ของวิกฤติสังคมในแตละชวง

3 เศรษฐศาสตร

1. รูและเขาใจ ความหมาย ความสําคัญของเศรษฐศาสตร 2.นําหลักการทางเศรษฐศาสตรไป ใชในครอบครัวและชุมชนได

3. เขาใจ และเห็นความสําคัญของ กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีตอ

จํานวน (ชั่วโมง) 1.1 ความหมาย ความสําคัญ 30 ของประวัติศาสตร 1.2 ขอมูล หลักฐานทาง ประวัติศาสตร 2.1 วิธีการทาง ประวัติศาสตร 2.2 ประวัติความเปนมาของ ชนชาติไทย - กอนสุโขทัย - สุโขทัย - อยุธยา - ธนบุรี - รัตนโกสินทร 3.1 การศึกษาประวัติศาสตร ชุมชนโดยใชวิธีการทาง ประวัติศาสตร 3.2 ศึกษาเหตุการณสําคัญ ของประวัติศาสตรชุมชน ในแตละชวงทีแ่ สดงถึง ทางเลือกที่เปนทางออกของ วิกฤติสังคม 1.ความหมาย ความสําคัญ 30 ของเศรษฐศาสตร 2.1 เศรษฐศาสตรใน ครอบครัวและชุมชน 2.2 พฤติกรรมการ บริโภค ในครอบครัว 3. กิจกรรมทางเศรษฐกิจ - การผลิต เนื้อหา

~ 32 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

ตนเอง ชุมชน - การแลกเปลีย่ น - การกระจายรายได 4. ตระหนักในผลกระทบทีเ่ กิด 4.1 ปจจัยการผลิต จากกิจกรรมทางดานการผลิต การ - ทุน บริโภค การแลกเปลี่ยน และการ - ที่ดิน กระจายรายได ที่มีตอประชากรใน - แรงงาน ชุมชน - ผูประกอบการ 4.2 การบริโภค การ แลกเปลี่ยน และการ กระจายรายได 4.3 ผลกระทบที่เกิดจากการ ผลิต การบริโภค การ แลกเปลี่ยน และการ กระจายรายได (กรณี ตัวอยาง) 5.มีคุณธรรมของ 5.เห็นความสําคัญของการนํา - ผูผลิต คุณธรรมมาใชในการบริหารการ จัดการทรัพยากรใหเกิดประโยชน - ผูบริโภค สูงสุด - การแลกเปลีย่ น - การกระจายรายได (กรณีศกึ ษาคุณธรรมของ กิจกรรมเศรษฐกิจ) 6. ใชขอมูลในทองถิ่นและชุมชน 6.1 ทรัพยากรธรรมชาติ ในการจัดการทรัพยากรการผลิต และสิ่งแวดลอมในทองถิ่น และชุมชน 6.2 แหลงทุนในหมูบาน และชุมชน เชน กองทุน หมูบาน/ชุมชน

จํานวน (ชั่วโมง)

~ 33 ~

ที่

หัวเรื่อง

4 การเมืองการปกครอง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

ย ความสําคัญ 1.รูและเขาใจความหมาย ความสําคัญ ของการเมืองการ ของการเมืองการปกครอง ปกครอง 2.รูและเขาใจ การปกครองระบอบ 2.1อํานาจอธิปไตย ประชาธิปไตย 2.2โครงสรางการบริหาร ราชการแผนดินสวนกลาง สวนภูมภิ าค สวนทองถิ่น 3.ความสัมพันธระหวาง 3.เขาใจและสามารถวิเคราะห ความสัมพันธระหวางอํานาจนิติ อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจ บัญญัติ กับอํานาจบริหารและ บริหาร อํานาจตุลาการ อํานาจตุลาการ 4.มีสวนรวมในการเมืองการ 4.การมีสวนรวมทางการ ปกครองในระดับทองถิ่น และ เมืองการปกครองในระดับ ระดับประเทศ ทองถิ่น และดับประเทศ

จํานวน (ชั่วโมง) 20

~ 34 ~

รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา สค1102 ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี สาระการพัฒนาสังคม ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู ความเขาใจ เห็นคุณคา และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยูรวมกัน อยางสันติสุข ที่

หัวเรื่อง

1. ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี

ตัวชี้วัด 1.มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับ ความหมาย ความสําคัญของ ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ใน ประเทศไทย 2.มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับ พุทธประวัติ และ ประวัติศาสดาของศาสนา ตางๆ 3.1 มีความรู ความเขาใจใน หลักธรรม และการปฏิบัติ ธรรมแตละศาสนา

3.2 ตระหนักถึงคุณคา และ เห็นความสําคัญในการนํา หลักธรรมมาใชในการ ดํารงชีวิต

เนื้อหา 1.ความหมายความสําคัญของ ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี

2.พุทธประวัติ และประวัติศาสดา ของศาสนาตางๆ ในประเทศไทย - ประวัตพิ ระเยซู - ประวัตพิ ระมูฮัมมัด ฯลฯ 3.1 หลักธรรมสําคัญของศาสนา พุทธ - เบญจศิล เบญจธรรม - ฆาราวาสธรรม - พรหมวิหาร 4 หลักธรรมสําคัญของศาสนา คริสต ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู

จํานวน (ชั่วโมง) 20

~ 35 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

4.1การปฏิบัติตนตามหลักศาสนา - พุทธ - คริสต - อิสลาม - ฮินดู 4.2 บุคคลตัวอยางที่ใชหลักธรรม ทางศาสนาในการดําเนินชีวติ 5.สามารถอยูรวมกับบุคคลที่ 5.การแกปญหาความแตกแยกของ ตางความเชื่อศาสนาในสังคม บุคคล สังคม ชุมชน เพราะความ แตกตางความเชื่อศาสนา และ ไดอยางสันติสขุ สังคมดวยสันติวิธี (กรณีตัวอยาง) - จากพุทธประวัติ -จากประสบการณของผูเรียน 6.วัฒนธรรมประเพณีในชุมชน 6.มีความรู ความเขาใจใน ทองถิ่น ภาคตางๆ ของประเทศ วัฒนธรรมประเพณีของ ไทย ชุมชน ทองถิ่น และของ - ภาษา การแตงกาย อาหาร ฯลฯ ประเทศ ของภาคตางๆ - ประเพณีของแตละชุมชน ทองถิ่น ภาค เชน แหเทียนพรรษา, บุญเดือนสิบ,ลอยกระทง,ประเพณี วิ่งควาย,ยี่เปง

จํานวน (ชั่วโมง)

4. มีทักษะในการปฏิบัติตน ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ

7.ตระหนักถึง ความสําคัญ ของวัฒนธรรมประเพณีของ ชุมชน ทองถิ่น และของ ประเทศ 8. มีสวนรวมในการปฏิบัติ ตนตามวัฒนธรรมประเพณี

8.การอนุรักษ และสืบสาน วัฒนธรรมประเพณี

20

~ 36 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

ของทองถิ่น 9.นําคานิยมทพี่ ึงประสงค ของสังคม ชุมชน มา ประพฤติปฏิบัติจนเปนนิสัย

ของภาคตางๆ(กรณีตวั อยาง) 9.การประพฤติปฏิบัติตน เพือ่ การ อนุรักษ และสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี 10. คานิยมที่พงึ ประสงคของ ชุมชน สังคมไทย 11. การประพฤติปฏิบัติตนตาม คานิยมของชุมชน สังคมไทยที่พึง ประสงค(กรณีตัวอยาง)

จํานวน (ชั่วโมง) จํานวน (ชั่วโมง)

~ 37 ~

รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา สค1103 หนาที่พลเมือง สาระการพัฒนาสังคม ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบสุขของสังคม ที่

หัวเรื่อง

1. หนาที่พลเมือง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

1.รูและเขาใจในเรื่องสิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนา ที่และ คุณคาของความเปนพลเมือง ดีตามแนวทางประชาธิปไตย 2.ตระหนักในคุณคา ของการ ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตาม วิถีประชาธิปไตย 3.แยกแยะปญหา และ สถานการณการเมืองการ ปกครองที่เกิดขึ้นในชุมชน 4.รูและเขาใจสาระทั่วไป เกี่ยวกับกฎหมาย 5.นําความรูกฎหมายที่ เกี่ยวของกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และ ประเทศชาติไปใชใน ชีวิตประจําวันได 6.เห็นคุณคา และประโยชน ของการปฏิบัติตนตาม กฎหมาย

1.1ความหมายของประชาธิปไตย 1.2 สิทธิ เสรีภาพบทบาทหนาที่ ของพลเมืองในวิถีประชาธิปไตย

จํานวน (ชั่วโมง) 20

2.การมีสวนรวมในการปฏิบัติตน ตามกฎหมาย 3.ปญหา และสถานการณการเมือง การปกครองที่เกิดขึ้นในชุมชน (กรณีตวั อยาง) 4.กฎหมายทีเ่ กี่ยวของกับตนเอง และครอบครัว 5.กฎหมายทีเ่ กี่ยวของ กับชุมชน

6.กฎหมายอืน่ ๆ

20

~ 38 ~

รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา สค1104 การพัฒนาตนเอง สาระการพัฒนาสังคม ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู ความเขาใจ เห็นความสําคัญของหลักการพฒ ั นา และสามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม จํานวน ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา (ชั่วโมง) 1. พัฒนาตนเอง 1.มีความรู ความเขาใจ 1.หลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน/ 20 หลักการพัฒนาตนเอง สังคม ชุมชน/สังคม 2.มีความรู ความเขาใจ และ 2.ความหมาย ความสําคัญ เห็นความสําคัญของขอมูล ประโยชน ของขอมูลดาน - ภูมิศาสตร ตนเอง ครอบครัว ชุมชน/ - ประวัตศิ าสตร สังคม - เศรษฐศาสตร - การเมือง การปกครอง - ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี - หนาที่พลเมือง - ทรัพยากร สิง่ แวดลอม - สาธารณสุข - การศึกษา 3.วิเคราะหและอธิบายขอมูล 3. วิธีการจัดเก็บ วิเคราะหขอมูล อยางงาย และเผยแพรขอมูล 4.เกิดความตระหนัก และมี 4.การมีสวนรว มในการวางแผน 20 พัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน/ สวนรวมในการจัดทํา แผนพัฒนาชุมชน/สังคม สังคม 5.นําแนวทางการพัฒนา 5.การนําผลที่ไดจากการวางแผน ชุมชน/สังคม ไปประยกุ ตใช ไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

~ 39 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

จํานวน (ชั่วโมง)

กับตนเอง และครอบครัว รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา สค2101 สังคมศึกษา สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 3 หนวยกิต (120 ชัว่ โมง) มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง สามารถนํามาปรับใชในการดํารงชีวิต จํานวน เนื้อหา ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) 1. ภูมิศาสตรกายภาพทวีป 1. มีความรู ความเขาใจ ลักษณะ 1. ลักษณะทางภูมิศาสตร 20 เอเชีย ภูมิศาสตรกายภาพของประเทศ กายภาพของประเทศตางๆ ตางๆ ในทวีปเอเชีย ในทวีปเอเชีย - ที่ตั้งอาณาเขตของ ประเทศตางๆ ในทวีปเอเชีย - ภูมิประเทศของ ประเทศตางๆ ในทวีปเอเชีย - ภูมิอากาศของ ประเทศตางๆ ในทวีปเอเชีย 2. มีความรู ความเขาใจ การ 2.1 หลักการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลงสภาพภูมศิ าสตร สภาพภูมิศาสตรกายภาพ กายภาพที่สงผลกระทบตอวิถีชีวิต 2.2 กรณีตัวอยางการ ความเปนอยูของประชากรไทย และ เปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิศาสตรกายภาพที่สงผล ประเทศตางๆ ในทวีปเอเชีย กระทบตอวิถชี ีวิตความ เปนอยูของประชากรไทย และทวีปเอเชีย 3. มีทักษะในการใชเครื่องมือทาง 3. วิธีใชเครื่องมือทาง ภูมิศาสตร แผนที่ ลูกโลก ภูมิศาสตร เชน แผนที่ ลูกโลก Website ดาวเทียม GIS GPRS ฯลฯ Website ดาวเทียม GIS

~ 40 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

GPRS ฯลฯ 4. สภาพภูมิศาสตรกายภาพ 4. มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับ ความสัมพันธของสภาพภูมศิ าสตร ของไทยที่สงผลตอ ทรัพยากรตางๆ และ กายภาพที่มีตอ การเกิด ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอมตางๆคือ สภาพ ในทวีปเอเชีย ปาไม ดิน หิน แร แมน้ํา ภูเขา ลําคลอง หนอง บึง ทะเล ชายฝง สัตวปา สัตว ทะเล สัตวน้ําจืด เปลือก หอย แนวปะการัง และอื่นๆ สงผลตอทรัพยากร และ สิ่งแวดลอมตางๆ คือ สภาพ ปาไม ดิน หิน แร ภูเขา แมน้ําลําคลอง หนอง บึง ทะเล ชายฝง สัตวปา สัตว ทะเล สัตวน้ําจืด เปลือก หอย แนวปะการัง และอื่นๆ

จํานวน (ชั่วโมง) 20

~ 41 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด 5. สามารถนําความรูเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ ไทยและทวีปเอเชียมาปรับใชในการ ดํารงชีวิต และความมั่นคงของชาติ

ที่ 2

หัวเรื่อง ประวัติศาสตรทวีปเอเชีย

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

จํานวน (ชั่วโมง)

5.1 ความสําคัญในการ ดํารงชีวิต ใหสอดคลองกับ สภาพทรัพยากรในประเทศ ไทย และประเทศตางๆใน ทวีปเอเชีย 5.2 กรณีตัวอยางการ ปรับตัวในการดํารงชีวิตที่ สอดคลองกับสภาพ ทรัพยากรในประเทศไทย และประเทศตางๆในทวีป เอเชีย

เนื้อหา

1. อธิบายความเปนมาของ 1.ประวัติศาสตรสังเขปของ ประวัติศาสตรประเทศในทวีปเอเชีย ประเทศในทวีปเอเชีย - จีน - อินเดีย - เขมร - ลาว - มาเลเซีย - พมา - อินโดนีเซีย - ฟลิปปนส - ญี่ปุน ฯลฯ

จํานวน (ชั่วโมง) 20

~ 42 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

2. เหตุการณสําคัญทาง ประวัติศาสตรที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทยและประเทศ ในทวีปเอเชีย - ยุคลาอาณานิคม - ยุคสงครามเยน็ - ฯลฯ 1.เขาใจความหมาย ความสําคัญ 1.1 ความหมาย ความสําคัญ ของเศรษฐศาสตรและระบบ ของเศรษฐศาสตรมหภาค เศรษฐกิจ และเศรษฐศาสตร จุลภาค 1.2 ระบบเศรษฐกิจใน ประเทศไทย 2.หลักการ และวิธีการ 2.เขาใจหลักการ และวิธีการ ตัดสินใจเลือกใชทรัพยากร เพื่อการ เลือกใชทรัพยากรเพื่อการ ผลิต ผลิตสินคา และบริการ 3.เลือกวิธีการที่มีประสิทธิภาพมาใช 3.คุณธรรมในการผลิต ในการผลิตสินคา และบริการได 4.กฎหมาย และขอมูลการ 4.รูและเขาใจการใชกฎหมาย คุมครองผูบริโภค คุมครองผูบริโภค 5.บอกแหลงขอมูล การคุมครอง 5.1 หนวยงานที่ใหความ ผูบริโภค และกฎหมายคุมครอง คุมครองผูบริโภค ผูบริโภค 5.2 การพิทักษสิทธิ และ ผลประโยชนของผูบริโภค 6.ตระหนักในบทบาท และ 6.1 ความสําคัญของกลุม ความสําคัญของการรวมกลุม ทาง ทางเศรษฐกิจในทวีปเอเชีย 6.2 กลุมทางเศรษฐกิจตางๆ เศรษฐกิจในทวีปเอเชีย ในทวีปเอเชีย 2. สามารถนําเหตุการณใน ประวัติศาสตรมาวิเคราะหใหเห็น ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ ประเทศไทย และประเทศในทวีป เอเชีย

3. เศรษฐศาสตร

เนื้อหา

จํานวน (ชั่วโมง) 10

15

15

~ 43 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด 7.วิเคราะหความสัมพันธทาง เศรษฐกิจของประเทศไทยกับ ประเทศตางๆในทวีปเอเชีย

4. การเมืองการปกครอง

จํานวน (ชั่วโมง)

เนื้อหา

1.รูและเขาใจระบอบการเมืองการ ปกครองตางๆ ที่ใชอยูในปจจุบัน 2.วิเคราะหความแตกตาง ของ รูปแบบการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย และระบอบอืน่ ๆ 3.ตระหนักในคุณคาของการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย

7.1 สภาพเศรษฐกิจของ ประเทศไทยและประเทศ ตางๆในทวีปเอเชีย 7.2 ระบบเศรษฐกิจของ ประเทศตางๆในทวีปเอเชีย 8.ลักษณะ ประเภท สินคาเขา และสินคา ออก ของประเทศตางๆใน ทวีปเอเชีย 1.การปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตย และอื่นๆ 2.เปรียบเทียบรูปแบบ การเมืองการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย และ ระบอบอื่นๆ ของประเทศ ตางๆ ในทวีปเอเชีย

20

รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา สค2102 ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู ความเขาใจ เห็นคุณคา และสืบทอดศาสนา วฒ ั นธรรม ประเพณี เพื่อการอยูรวมกัน อยางสันติสุข ที่

หัวเรื่อง

1. ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี

ตัวชี้วัด 1.มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับความเปนมาของ

เนื้อหา 1.ความเปนมาของศาสนาใน ประเทศไทย

จํานวน (ชั่วโมง) 20

~ 44 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด ศาสนาตางๆ ในประเทศไทย และประเทศในทวีปเอเชีย

เนื้อหา

- พุทธ - คริสต - อิสลาม - ฮินดู 2.นําหลักธรรมสําคัญๆ ใน 2.ความเปนมาของศาสนาในทวีป ศาสนาของตน มาประพฤติ เอเชีย ปฏิบัติใหสามารถอยูรวมกัน - พุทธ กับศาสนาอื่นไดอยางสันติ - คริสต สุข - อิสลาม - ฮินดู 3.หลักธรรมในแตละศาสนาที่ทํา 3.เห็นประโยชนในการนํา หลักธรรมคําสอนในศาสนา ใหอยูรว มกับศาสนาอื่นไดอยางมี ความสุข ที่ตนนับถือมาประพฤติ ปฏิบัติตน เพื่อใหเปนคนดีใน - ศาสนาพุทธ คือ สังคม พรหมวหิ าร4 ฆราวาสธรรม ฯลฯ - ศาสนาคริสต - ศาสนาอิสลาม - ศาสนาฮินดู 4.นําขอปฏิบัติของบุคคล 4.1หลักธรรมในแตละศาสนาที่ทํา ตัวอยางทีใ่ ชหลักธรรมทาง ใหผูนํามาประพฤติปฏิบัติเปนคน ศาสนามาปฏิบัติใน ดีในศาสนาพุทธคือ ชีวิตประจําวันมาใชให เบญจศิล เบญจธรรมพรหมวิหาร เหมาะสมกับวิถีชีวิตของ ธรรมที่ทําใหงาม ตนเอง ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู 4.1กรณีตัวอยางบุคคลตัวอยางใน แตละศาสนา

จํานวน (ชั่วโมง)

~ 45 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

5.มีความรู ความเขาใจใน วัฒนธรรมประเพณีของ ประเทศไทยและประเทศใน เอเชีย

ใี นประเทศ ไทยและประเทศในเอเชีย - ภาษา - การแตงกาย - อาหาร - ประเพณี ฯลฯ 6.ตระหนักถึงความสําคัญ ใน 6.การอนุรักษ และสืบสาน วัฒนธรรมประเพณีของ วัฒนธรรมประเพณี ของประเทศ ประเทศไทยและประเทศใน ไทย และประเทศในเอเชีย(กรณี เอเชีย ตัวอยาง) 7.มีสวนรวมในการปฏิบัติตน 7.การประพฤติปฏิบัติตน เพือ่ การ ตามวัฒนธรรมประเพณี ของ อนุรักษ และสืบสาน วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศไทยและ สังคมไทย ประเทศในเอเชีย 8.ประพฤติตนตามคานิยม 8.คานิยมที่พึงประสงคของ จริยธรรมที่พึงประสงคของ ประเทศไทยและประเทศตางๆใน สังคมไทย เอเชีย

จํานวน (ชั่วโมง) 20

รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา สค2103 หนาที่พลเมือง สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบสุขของสังคม ที่

หัวเรื่อง

1. หนาที่พลเมือง

ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง

สาระการเรียนรู

1.รูและเขาใจความสําคัญของ 1.1 ความเปนมา หลักการ

จํานวน (ชั่วโมง) 20

~ 46 ~

ที่

หัวเรื่อง

ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง

สาระการเรียนรู

เจตนารมณของรัฐธรรมนูญ 1.2 โครงสราง และสาระสําคัญ ของรัฐธรรมนูญ 1. 3 การปฏิรูปการเมือง และ จุดเดนของรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับ สิทธิเสรีภาพหนาที่ของประชาชน 2.รูและเขาใจหลักคุณธรรม 2. หลักการอยูร วมกันตามวิถที าง จริยธรรมของการอยูรวมกัน ประชาธิปไตยบนพื้นฐานของ คุณธรรมจริยธรรม 3.มีสวนรวมทางการเมืองการ 3.สถานการณ และการมีสวนรวม ปกครองตามระบอบ ทางการเมืองการปกครองตาม ประชาธิปไตยอันมี ระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยเปนประมุข พระมหากษัตริยเปนประมุข 4.รูและเขาใจหลักสิทธิ 4.หลักสิทธิมนุษยชน มนุษยชน 5.การมีสวนรวมในการ 5.การมีสวนรวมในการคุมครอง คุมครองปกปองตนเอง และ ตนเอง และผูอนื่ ตามหลักสิทธิ ผูอื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน มนุษยชน 6.ตระหนักถึงประโยชนของ 6.ประโยชนของการมีสวนรวมใน การมีสวนรวมในการ การคุมครองฯ (ยกตัวอยาง) คุมครองปกปองตนเอง และ ผูอื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน

จํานวน (ชั่วโมง)

รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย

20

รายละเอียดคําอธิบายรายวิชาสค2104 การพัฒนาตนเอง สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู ความเขาใจ เห็นความสําคัญของหลักการพัฒนา และสามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม

~ 47 ~

ที่

หัวเรื่อง

1. พัฒนาชุมชน/สังคม

ตัวชี้วัด 1.มีความรู ความเขาใจ หลักการพัฒนา ชุมชน/สังคม 2.มีความรู ความเขาใจ และ เห็นความสําคัญของขอมูล ตนเอง ครอบครัว ชุมชน/ สังคม

เนื้อหา

1.หลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน/ สังคม 2.ความหมาย ความสําคัญ ประโยชน ของขอมูลดาน - ภูมิศาสตร - ประวัตศิ าสตร - เศรษฐศาสตร - การเมือง การปกครอง - ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี - หนาที่พลเมือง - ทรัพยากร สิง่ แวดลอม - สาธารณสุข - การศึกษา 3.วิเคราะหและอธิบายขอมูล 3.วิธีการจัดเก็บ วิเคราะหขอมูล ดวยวิธีการทีห่ ลากหลาย และ เผยแพรขอมูล 4.เกิดความตระหนัก และมี 4.การมีสวนรวมในการวางแผน พัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน/ สวนรวมในการจัดทํา สังคม แผนพัฒนาชุมชน/สังคม 5.1 เทคนิคการมีสวนรวมในการ 5. สามารถกําหนดแนว จัดทําแผน เชน ทางการพัฒนาตนเอง - การจัดทําเวทีประชาคม ครอบครัว ชุมชน/สังคม - การประชุมกลุมยอย - การสัมมนา - การสํารวจประชามติ - การประชาพิจารณ ฯลฯ 5.2 การจัดทําแผน

จํานวน (ชั่วโมง) 20

20

~ 48 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

จํานวน (ชั่วโมง)

-ทิศทาง นโยบาย - โครงการ - ผูรับผิดชอบ - จัดลําดับความสําคัญ ฯลฯ 5.3 การเผยแพรสูการปฏิบัติ - การเขียนรายงาน - การเขียนโครงงาน ฯลฯ

รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา สค3101 สังคมศึกษา สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 3 หนวยกิต (120 ชัว่ โมง) มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง สามารถนํามาปรับใชในการดํารงชีวิต

~ 49 ~

ที่

หัวเรื่อง

1. ภูมิศาสตรกายภาพ

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

1.มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตร กายภาพของประเทศไทยกับ ทวีปตางๆ 2.เปรียบเทียบสภาพ ภูมิศาสตรกายภาพของ ประเทศไทยกับทวีปตางๆ 3. มีความรู ความเขาใจ ใน ปรากฏการณทางธรรมชาติที่ เกิดขึ้นในโลก

1.สภาพภูมิศาสตรกายภาพของ ประเทศไทยกับทวีปเอเชีย ทวีป ยุโรป ทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอฟ ริกา ทวีปอเมริกา

4.มีทักษะการใชเครื่องมือ ทางภูมิศาสตรที่สําคัญๆ

จํานวน (ชั่วโมง) 15

3. สาเหตุและลักษณะการเกิด ปรากฏการณทางธรรมชาติที่ สําคัญๆ รวมทั้งการปองกัน อันตรายเมื่อเกิด - พายุชนิดตางๆ - น้ําทวม - แผนดินไหว - ภูเขาไฟระเบิด - ภาวะโลกรอน ปรากฏการณ เรือนกระจก - อื่นๆ 4. วิธีใชเครื่องมือทางภูมิศาสตร - แผนที่ - ลูกโลก - Website - อื่นๆ 5.วิธีปองกันตนเองจากภัย ธรรมชาติ

5.รูวิธีปองกันตนเองให ปลอดภัยเมื่อเกิดภัยจาก ปรากฏการณธรรมชาติ 6.สามารถวิเคราะห แนวโนม 6.ปญหาการทําลาย และวิกฤตสิ่งแวดลอมที่เกดิ ทรัพยากรธรรมชาติ และ จากการกระทําของมนุษย สิ่งแวดลอม

15

~ 50 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

7.การวิเคราะหสาเหตุการเกิด ปญหา และสภาพการทําลาย ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอมที่เกิดจากการกระทํา ของมนุษย ในสภาพปจจุบนั และ แนวโนมในอนาคต - ปาไม - ภูเขา - แมน้ํา ลําคลอง หนอง บึง ทะเล - ดิน - สัตวปา สัตวน้ํา - แรธาตุ - มลพิษทางอากาศ - ปรากฏการณเรือนกระจก - อื่นๆ - การปองกันการพังทลายของดิน - การพัฒนาดินใหอดุ ม สมบูรณ เชน การปลูกปา การปลูก หญาแฝก ฯลฯ 4. ความเขมแข็งของภาค ประชาชนในการแกปญหาการ ทําลายทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอม (กรณีตวั อยาง) 1.อธิบายเหตุการณสําคัญทาง 1.การแบงชวงเวลา และยุคสมัย ประวัติศาสตรของประเทศ ทางประวัติศาสตร ตางๆ ในโลกได 2.วิเคราะห และเปรียบเทียบ 2.แหลงอารยธรรมโลก เหตุการณสําคัญทาง - จีน ประวัติศาสตรของแตละ - อินเดีย

จํานวน (ชั่วโมง)

7.มีความรู ความเขาใจในการ ใชนวัตกรรม และเทคโนโลยี ดานสิ่งแวดลอมเพื่อพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมทีย่ ั่งยืน

2 ประวัติศาสตร

30

~ 51 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

จํานวน (ชั่วโมง)

ประเทศในโลก ที่มี ผลกระทบตอความ เปลี่ยนแปลงของประเทศ ตางๆ ในโลก - โรมัน 3.วิเคราะหเหตุการณโลก 3.ประวัติชาติไทย ปจจุบัน และคาดคะเน - ธนบุรี เหตุการณที่อาจจะเกิดขึ้นกับ -รัตนโกสินทร ประเทศตางๆในอนาคตได - ลักษณะการเปลี่ยนแปลง การปกครอง - เหตุกา รณป จ จุบัน ที่มี ผล ต อเนื่อ งมาจากประวัติศ าสตร ไทย และปร ะเทศต า งๆ ในโลก ที่สง ผลถึ ง อน าคต 4.รูจักบุคคลสําคัญของไทย 4.บุคคลสําคัญของไทย และของ และของโลก โลก 5. เหตุการณสําคัญของโลกที่มีผล ตอปจจุบัน - สงครามโลกครั้งที่ 1,2 - สงครามเย็น - สงครามเศรษฐกิจ - เหตุการณโลกปจจุบัน

3 เศรษฐศาสตร

1.วิเคราะหปญ  หาและ แนวโนมทางเศรษฐกิจของ ประเทศไทยได 2.เสนอแนวทางการแกปญหา ทางเศรษฐกิจของประเทศ ไทยในปจจุบนั ได

1.1 ระบบเศรษฐกิจของประเทศ ไทย 1.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ 2.ปญหาเศรษฐกิจของไทยใน ปจจุบัน

40

~ 52 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

3.รูและเขาใจ ตระหนักใน ความสําคัญของการรวมกลุม เศรษฐกิจ ระหวางประเทศ และประเทศตางๆ ในโลก 4.รูและเขาใจ ในระบบ เศรษฐกิจแบบตางๆ ในโลก 5.รูและเขาใจความสัมพันธ และผลกระทบทางเศรษฐกิจ ระหวางประเทศของประเทศ ไทยกับกลุมเศรษฐกิจของ ประเทศตางๆ ในภูมภิ าค ใน โลก 6.วิเคราะหความสําคัญของ ระบบเศรษฐกิจ และการเลือก จัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ ประเทศตางๆ ในโลก และ ผลกระทบ 7.เขาใจใจในเรื่องกลไกราคา กับระบบเศรษฐกิจ

3.ความสําคัญและความจําเปนใน การรวมมือทางเศรษฐกิจกับ ประเทศตางๆ 4.ระบบเศรษฐกิจในโลก 5.ความสัมพันธและผลกระทบ ทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ กับ ภูมิภาคตางๆ ทั่วโลก

6.รูปแบบของระบบเศรษฐกิจ และ วิธีการเลือกจัดกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ

7.1 กลไกราคากับระบบเศรษฐกิจ ในปจจุบนั 7.2 การแทรกแซงกลไกราคาของ รัฐบาลในการสงเสริม และแกไข ระบบเศรษฐกิจ

8.รูและเขาใจในเรื่องการเงิน 8.ความหมาย ความสําคัญของเงิน การคลัง และการธนาคาร ประเภท สถาบันการเงิน และ สถาบันทางการเงิน 9.การธนาคาร 9.เขาใจในระบบของการ - ระบบของธนาคาร ธนาคาร - ประเภทของธนาคาร

จํานวน (ชั่วโมง)

~ 53 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

10.ตระหนักในความสําคัญ ของเงิน สถาบันการเงิน

4 การเมืองการปกครอง

เนื้อหา

จํานวน (ชั่วโมง)

นาที่ของธนาคาร แหงประเทศไทย (ธนาคารกลาง) 10.การคลัง รายไดประชาชาติ - รายไดของรัฐบาล และการ จัดทํางบประมาณแผนดิน - ภาษีกับการพัฒนาประเทศ - ดุลการคา - ดุลการชําระเงิน 11.ปญหาเศรษฐกิจในประไทย ภูมิภาคตางๆ และโลก

11.วิเคราะหผลกระทบจาก ปญหาทางเศรษฐกิจในเรื่อง การเงิน การคลัง ของประเทศ ไทย และสังคมโลกได 12. รูและเขาใจเรื่อง 12.1แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ ฉบับปจจุบัน 12.2 ผลของการใชแผนพัฒนา สังคมแหงชาติ เศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ 1.การปกครองระบอบ 1.รูและเขาใจ ระบอบ การเมืองการปกครองตางๆ ที่ ประชาธิปไตย ใชอยูปจจุบัน 2.ตระหนักและเห็นคุณคา 2.1 การปกครองระบอบเผด็จการ การปกครองระบอบ 2.2 พัฒนาการของระบอบ ประชาธิปไตย ประชาธิปไตยของประเทศตางๆ ในโลก 3.รูและเขาใจ ผลที่เกิดจาก 3.เหตุการณสําคัญทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทาง การปกครอง ของประเทศไทย การเมืองการปกครอง ของ ประเทศไทยจากอดีต 4.รูและเขาใจผลที่เกิดจากการ 4.เหตุการณสําคัญทางการเมือง เปลี่ยนแปลงการเมืองการ การปกครอง ของโลกที่สงผล

20

~ 54 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด ปกครองของโลก 5.ตระหนักและเห็นคุณคา ของหลัก ธรรมาภิบาล และนําไป ปฏิบัติในชีวิตจริงได

เนื้อหา

จํานวน (ชั่วโมง)

กระทบตอประเทศไทย 5.1 หลักธรรมาภิบาล - นิติธรรม - คุณธรรม - ความโปรงใส - ความคุมคา - รับผิดชอบ - ความรวมมือ 5.2 แนวทางปฏิบัติตามหลัก ธรรมาภิบาล

รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา สค3102 ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู ความเขาใจ เห็นคุณคา และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยูรวมกัน อยางสันติสุข

~ 55 ~

ที่

หัวเรื่อง

1. ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี

ตัวชี้วัด 1.มีความรู ความเขาใจ ศาสนาที่สําคัญๆ ในโลก 2.มีความรู ความเขาใจ ใน หลักธรรมสําคัญของแตละ ศาสนา

3.เห็นความสําคัญในการอยู รวมกับศาสนาอื่นอยางสันติ สุข 4.ประพฤติปฏิบัติตนที่สงผล ใหสามารถอยูร วมกับศาสนา อื่นอยางสันติสุข 5.ฝกปฏิบัติพัฒนาจิต เพื่อให สามารถพัฒนาตนเองใหมี สติปญญาในการแกปญหา ตางๆ และพัฒนาตนเอง ครอบครัว สังคม ชุมชน 6.มีความรู ความเขาใจใน วัฒนธรรมประเพณีของ ประเทศไทยและประเทศ ตางๆในโลก

เนื้อหา 1.ศาสนาตางๆ - กําเนิดศาสนาตางๆ - ศาสดาของศาสนาตางๆ 2.หลักธรรมสําคัญของศาสนา ตางๆ - การเผยแพรศาสนาตางๆ - ความขัดแยงในศาสนาตางๆ ซึ่งกอใหเกิดผลเสียในสังคม (กรณี ตัวอยาง) 3.การปฏิบัติตนใหอยูรวมกันอยาง สันติสุข

จํานวน (ชั่วโมง) 20

4.วิธีฝกปฏิบัติพัฒนาจิตในแตละ ศาสนา 5.การพัฒนาสติปญญาในการ แกปญหาตางๆ และการพัฒนา ตนเองครอบครัว ชุมชน/สังคม (กรณีตวั อยาง) 6.วัฒนธรรมประเพณีในประเทศ ไทยและประเทศตางๆในโลก - ภาษา -การแตงกาย - อาหาร - ประเพณีที่สาํ คัญๆ ฯลฯ

20

~ 56 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด 7.ตระหนักถึงความสําคัญ ในวัฒนธรรมประเพณีของ ประเทศไทย และประเทศ ตางๆ ในโลก 8.มีสวนรวมสืบทอด วัฒนธรรมประเพณีไทย

เนื้อหา

จํานวน (ชั่วโมง)

7.การอนุรักษ และสืบทอด วัฒนธรรมประเพณี (กรณี ตัวอยาง)

8.ขอปฏิบัติในการมีสวนรวม สืบ ทอด ประพฤติปฏิบัติตนเปน แบบอยางในการอนุรักษ วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของ สังคมไทย 9.ประพฤติตนเปนแบบอยาง 9.1 แนวทางในการเลือกรับ ปรับ ของผูที่มีวัฒนธรรมประเพณี ใชวัฒนธรรมตางชาติไดอยาง อันดีงามของสังคมไทยและ เหมาะสมกับตนเองและสังคมไทย เลือกรับ ปรับ ใชวัฒนธรรม (กรณีตวั อยาง) จากตางชาติไดอยาง 9.2คานิยมที่พงึ ประสงคของ เหมาะสมกับตนเองและ สังคมไทย - ความเอื้อเฟอเผื่อแผ สังคมไทย - การยิ้มแยมแจมใส - การใหอภัย ฯลฯ 10.คานิยมที่พงึ ประสงคของ 10.ประพฤติปฏิบัติตาม ประเทศตางๆ ในโลก คานิยมที่พึงประสงคของ - การตรงตอเวลา สังคมโลก - ความมีระเบียบ ฯลฯ ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

จํานวน (ชั่วโมง)

~ 57 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด 11.เปนผูนําในการปองกัน และแกไขปญหาพฤติกรรม ตามคานิยมที่ไมพึงประสงค ของสังคมไทย

เนื้อหา 11.วิธีปฏิบัติในการประพฤติตน เปนผูนํารวมในการปองกัน และ แกไขปญหาพฤติกรรมที่ไมพึง ประสงคในสังคมไทย

จํานวน (ชั่วโมง)

~ 58 ~

รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา สค3103 หนาที่พลเมือง สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบสุขของสังคม ที่

หัวเรื่อง

1. หนาที่พลเมือง

ตัวชี้วัด 1.1รูและเขาใจการ เปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ

เนื้อหา

1.1บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่มี ผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และมีผลตอฐานะของประเทศใน สังคมโลก 1.2รูและเขาใจบทบาทหนาที่ 1.2 บทบาทหนาที่องคกรกลาง ขององคกรกลางและการ และการตรวจสอบการใชอํานาจ ตรวจสอบอํานาจรัฐ รัฐ 2.อธิบายความเปนมา และ 2.1 ความเปนมา และการ การเปลี่ยนแปลงของ เปลี่ยนแปลงของรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญ 2.2 การปฏิบัติตนใหสอดคลอง ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ และการสนับสนุนสงเสริมใหผูอื่น ปฏิบัติ 3.รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย 3.รัฐธรรมนูญ และกฎหมายอื่น อื่นของโลก ของโลก 4.รูและเขาใจหลักสิทธิ 4.หลักสิทธิมนุษยชนและบทบาท มนุษยชน หนาที่ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการสิทธิ์ 5.อธิบายหลักสิทธิมนุษยชน 5.กฎหมายระหวางประเทศที่วา ดวยการคุมครองสิทธิดานบุคคล ใหผูอื่นได 6. การปฏิบัติตามหลักสิทธิ 6. ปฏิบัติตนตามหลักสิทธิ มนุษยชน มนุษยชน

จํานวน (ชั่วโมง) 20

20

~ 59 ~

รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา สค3104 การพัฒนาตนเอง สาระการพัฒนา สังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู ความเขาใจ เห็นความสําคัญของหลักการพฒ ั นา และสามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม จํานวน ตัวชี้วัด เนื้อหา ที่ หัวเรื่อง (ชั่วโมง) 1. พัฒนาตนเอง ชุมชน/ 1.มีความรู ความเขาใจ 1.หลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน/ 20 สังคม หลักการพัฒนาตนเอง สังคม ชุมชน/สังคม 2.มีความรู ความเขาใจ และ 2.ความหมาย ความสําคัญ เห็นความสําคัญของขอมูล ประโยชน ของขอมูลดาน ตนเอง ครอบครัว ชุมชน/ - ภูมิศาสตร - ประวัตศิ าสตร สังคม - เศรษฐศาสตร - การเมือง การปกครอง - ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี - หนาที่พลเมือง - ทรัพยากร สิง่ แวดลอม - สาธารณสุข - การศึกษา 3.วิเคราะหและอธิบายขอมูล 3.วิธีการจัดเก็บ วิเคราะหขอมูล ดวยวิธีการทีห่ ลากหลาย และ เผยแพรขอมูล 4.เกิดความตระหนัก และมี 4.การมีสวนรวมในการวางแผน พัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน/ สวนรวมในการจัดทํา สังคม แผนพัฒนาชุมชน/สังคม 5. สามารถกําหนดแนว 5.1 เทคนิคการมีสวนรวมในการ 20 ทางการพัฒนาตนเอง จัดทําแผน เชน

~ 60 ~

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

- การจัดทําเวทีประชาคม - การประชุมกลุมยอย - การสัมมนา - การสํารวจประชามติ - การประชาพิจารณ ฯลฯ 5.2การจัดทําแผน -ทิศทาง นโยบาย - โครงการ - ผูรับผิดชอบ - จัดลําดับความสําคัญ ฯลฯ 5.3 การเผยแพรสูการปฏิบัติ - การเขียนรายงาน - การเขียนโครงงาน ฯลฯ 6.รูและเขาใจ บทบาท หนาที่ 6.บทบาท หนาที่ของผูนํา/สมาชิก ของผูนําชุมชน ที่ดีของชุมชน/สังคม 7.เปนผูนํา ผูตามในการจัดทํา 6.1ผูนํา ผูตามในการจัด และขับเคลื่อนแผนพัฒนา แผนพัฒนา ชุมชน/สังคม 6.2 ผูนํา ผูตามในการขับเคลือ่ น ตนเอง ครอบครัว ชุมชน/ แผนพัฒนาตนเอง ชุมชน/สังคม สังคม

ครอบครัว ชุมชน/สังคม

จํานวน (ชั่วโมง)

~ 61 ~

ภาคผนวก

~ 62 ~

นิยามศัพทที่เกี่ยวของ จิตสาธารณะ (Public Minded) หมายถึง บุคคลที่มีจิตสํานึกทางสังคม มีความรับผิดชอบ และเสียสระ เพื่อสวนรวม เปนคนใจกวางเห็นแกประโยชนผูอื่น ประโยชนสวนรวม มากกวาประโยชนสวนตน เวทีประชาคม (Community Stage) หมายถึง การจัดทําเวทีสาธารณะในหมูบาน/ชุมชน เพื่อใหประชาชน โดยผูเกี่ยวของ หรือ มีสวนไดเสียโดยตรงมีโอกาสไดรับทราบขอมูลในรายละเอียด พรอมแสดงความคิดเห็น และมีสวนรวมในการใหขอมูล ตลอดจนแสดงความเห็นตองาน หรือ นโยบายในชุมชนของตน

~ 63 ~

คณะผูจัดทํา ที่ปรึกษา 1. นายอภิชาติ จีระวุฒิ 2. ดร.ทองอยู แกวไทรฮะ 3. ดร.ชัยยศ อิม่ สุวรรณ 4. นางพรทิพย กลารบ ผุเขารวมประชุม 1. นางอรัญญา บัวงาม 2. นางนลินี ศรีสารคาม จันทรตรี 3. นางสาวเนาวเรศ นอยพานิช 4. นางสาวจีระพันธ ชาติชินเชาว 5. นางธัญญาวดี เหลาพาณิชย 6. นางสาววาสนา โกสียวัฒนา 7. นางนลินี ศรีสารคาม จันทรตรี 8. นายวีรยุทธ แสงสิริวัฒน 9. นายธฤติ ประสานสอน 10. นางณราวัลย นันตะภูมิ คณะทํางาน นางดุษฎี ศรีวฒ ั นาโรทัย นางพรทิพย เข็มทอง นางสาวชนิตา จิตตธรรม นางสาวอนงค เชื้อนนท นางสาวสมถวิล ศรีจันทรวิโรจน นางรุงอรุณ ไสยโสภณ นางสาวชาลินี ธรรมธิษา ผูรับผิดชอบ นางพรทิพย เข็มทอง

เลขาธิการ กศน. ที่ปรึกษาดานพัฒนาหลักสูตร ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการพัฒนาหลักสูตร ผอ.กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน สถาบัน กศน.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผอ.ศฝช.สุรินทร ผอ.ศบอ.โคกสูง จ.สระแกว โรงเรียนปทุมคงคา สพฐ. สํานักงาน กศน.กทม. สถาบันการศึกษาทางไกล ผอ.ศฝช.สุรินทร ผอ.กศน.เขตบางคอแหลม กรุงเทพ ผอ.กศน.อําเภอวารินฯ จ.อุบลราชธานี ผอ.กศน.อําเภอเกาะคา จ.ลําปาง กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

Related Documents

Sct
June 2020 4
Sct - Parcelas.pdf
November 2019 18
Sct-itsc
April 2020 5
Mm Mha Procedures Sct
November 2019 11