Sample Population

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Sample Population as PDF for free.

More details

  • Words: 494
  • Pages: 24
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง Population and Sample

ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากรและหน่วยประชากร การกำาหนดขอบเขตของประชากร ข้อดีของการใช้กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ดี ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง การเลือกกลุ่มตัวอย่าง

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือส่วนรวมทั้งหมด ที่เป็นคุณลักษณะของข้อมูลที่เราต้องการศึกษา  กลุ่มตัวอย่าง คือ ส่วนหนึ่งของทั้งหมดที่เป็นคุณลักษณะของข้อมูลที่เรา ต้องการศึกษา 

ประชากรและหน่วยประชากร 



ประชากรคือส่วนรวมทั้งหมดที่เราต้องการศึกษา ประชากรอาจจะเป็น คน พลเมือง หรือสิง่ อื่นๆอะไรก็ได้ คำาว่าประชากร จึงหมายถึงคน สิง่ ของที่มีความคล้ายคลึงกัน สามารถจัดรวมเป็นหมู่ เป็นกลุ่ม เป็นพวก เป็นประเภทเดียวกันได้ หน่วยประชากร (Elements) หรือหน่วยในการวิเคราะห์ (Units of analysis) คือหน่วยที่เราต้องการศึกษา เพื่อทราบความเป็นไปของประชากร หน่วยประชากร หรือหน่วยในการวิเคราะห์ อาจจะเป็นบุคคล หรือเป็น กลุ่มก็ได้ แล้วแต่วัตถุประสงค์ในการวิจัย

ตัวอย่างเกี่ยวกับประชากร และหน่วยประชากร (1) 

การวิจัยต้องการสำารวจปัญหาการทำางานของครูประชาบาล  ครูประชาบาลทั่วประเทศ คือประชากรที่จะศึกษา  ครูประชาบาลแต่ละคน คือหน่วยประชากร  หน่วยของการวิเคราะห์ คือบุคคล

ตัวอย่างเกี่ยวกับประชากร และหน่วยประชากร (2) 

การวิจัยต้องการศึกษาถึงปัญหาในการทำางานของกลุ่มออมท รัพย์ทั่วประเทศ  กลุ่มออมทรัพย์ทั่วประเทศ คือ ประชากรที่จะศึกษา  กลุ่มออมทรัพย์แต่ละแห่ง คือหน่วยประชากร  หน่วยในการวิเคราะห์ คือกลุ่มออมทรัพย์ ไม่ใช่ กรรมการ หรือสมาชิกแต่ละคน

ประชากร และการกำาหนดขอบเขตของประชากร (1) 





การกำาหนดขอบเขนประชากรโดยอาศัยขอบเขตทางภูมิศาสตร์  เช่นยึดเอาแนวถนน หรือแม่นำ้า เทือกเขา เป็นตัวกำาหนดประชากร การกำาหนดขอบเขตประชากรโดยอาศัยขอบเขตการปกครอง  เช่น ยึดตามเขต หมู่บ้าน ตำาบล อำาเภอ จังหวัด ภาค หรือ ประเทศเป็นตัวกำาหนดประชากร การกำาหนดขอชเขตประชากรโดยยึดเอาช่วงเวลาเป็นเกณฑ์  เช่น ระหว่าง ปี พ.ศ. 2501 ถึง 2530  ผูท ้ ี่มีอายุระหว่าง 15 ถึง 45 ปี บริบูรณ์

ประชากร และการกำาหนดขอบเขตของประชากร(2) 

การกำาหนดขอชเขตประชากร โดยยึดเอาลักษณะอื่นๆ เป็นเกณฑ์  เช่น รายได้  การศึกษา  เพศ  อาชีพ  ลักษณะความเจ็บป่วย หรือพิการ

ทำาไมต้องใช้กลุม่ ตัวอย่าง ?   

ประหยัดเวลา แรงงาน ประหยัดงบประมาณ ค่าใช้จ่าย เพิ่มประสิทธิภาพในการทำางาน (วิจัย)



สามารถตรวจสอบเพื่อป้องกันข้อผิดพลาดได้ดีกว่ า

กลุ่มตัวอย่างที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร? 

ทุกหน่วยประชากรจะต้องมีโอกาสได้รับเลือกอย่างเท่า เทียมกัน 

สามารถให้ความมั่นใจในการสรุปอ้างถึงประชากรที่ศึ กษาได้ หรือ สามารถเป็นตัวแทนของประชากรที่ศึกษาได้

ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 

พิจารณาจากลักษณะของประชากร กล่าวคือ ถ้าประชากรที่จะศึกษามีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน (Homogeneity) กลุ่มตัวอย่างอาจจะมีขนาดเล็กได้ ในทางตรงกันข้าม ถ้าประชากรมีลักษณะแตกต่างกันมาก (Heterogeneity) กลุ่มตัวอย่างอาจจะต้องมีขนาดใหญ่ขนึ้

ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 

พิจารณาจากจำานวนตัวแปรที่จะศึกษา หากตัวแปรมีจำานวนมาก การใช้กลุ่มตัวอย่างอาจจะต้องมีขนาดใหญ่เพียงพอต่อการศึ กษาวิเคราะห์ตัวแปรต่างๆเหล่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีการใช้สถิติในการวิเคราะห์ การใช้กลุ่มตัวอย่างเล็กเกินไป อาจจะพบปัญหาว่าไม่สามารถใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมู ลได้

การเลือกกลุ่มตัวอย่าง 

การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เป็นไปตามโอกาสทางส ถิติ (Non probability sample) 

การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบที่เป็นไปตามโอกาสทางสถิ ติ (Probability Sample)

การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เป็นไปตามโอกาสทางสถิติ (Non probability sample)   

กลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sample) กลุ่มตัวอย่างแบบโควต้า (Quota Sample) กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sample)

กลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sample) 

เป็นการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ กลุ่มตัวอย่างจะเป็นหน่วยประชากรใดก็ได้ เช่นการสำารวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการ ทำางานของรัฐบาล หรือความเห็นของประชาชนต่อพรรการเมือง

กลุ่มตัวอย่างแบบโควต้า (Quota Sample) 

เป็นการได้กลุ่มตัวอย่างมาโดยนำาเอาสัดส่วนของประชากร มาพิจารณาด้วย เช่น การศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาต่อหลักสูตรใหม่ ซึง่ ในมหาวิยาลัยที่จะศึกษาประกอบด้วย 4 คณะวิชา การเก็บกลุ่มตัวอย่างจำาเป็นต้องพิจารณาสัดส่วนของนักศึก ษาในแต่ละคณะด้วย เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างได้กระจายไปในทุกคณะอย่างทั่วถึง

กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sample) 

เป็นการใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะเฉพาะ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย เช่น การสำารวจภาวะตลาดการค้า อาจจะต้องเลือกเอาช่วงเวลาที่ภาวะการค้าเป็นไปแบบกลางๆ คือไม่สงู หรือตำ่าจนเกินไป หรือการทดสอบการใช้หลักสูตร ซึง่ จะต้องใช้นักเรียนทั้งที่เรียนดี ปานกลาง และตำ่า จึงจำาเป็นต้องใช้วิธีการแบบเจาะจงเพื่อให้ได้คนทั้งสามกลุ่มแ น่นอน

การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบที่เป็นไปตามโอกาสทางสถิติ (Probability Sample)     

การสุม่ ตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) การสุม่ ตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic Sampling) การสุม่ ตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) การสุม่ ตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) การสุม่ ตัวอย่างแบบหลายขั้น (Multi-stage Sampling)

การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) คือการสุ่มเลือกหน่วยตัวอย่าง n หน่วยจากทัง้หมด N หน่วย โดยให้แต่ละตัวอย่าง มีโอกาสเลือกเท่ากัน •วิธีจับสลาก (สำาหรับประชากรท่ไี ม่ใหญ่มากนัก) •ตารางเลขสุ่ม (สำาหรับประชากรขนาดใหญ่)

ตารางเลขสุ่ม 1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) วิธีการสุ่มสำาหรับหน่วยตัวอย่างท่ีมีลก ั ษณ ะแตกต่างกัน การสุ่มต้องแบ่งประชากรออกเป็ นส่วนย่อ ยแต่ละส่วน (เป็ราชการ นชัน ้ ภูมิ) ค้าขาย เกษตรกร แล้วชาย เลือกตัวอย่า15% งจากแต่ล20% ะชัน ้ ภูมิ 25%

รวม 60%

หญิง

10%

10%

20%

40%

รวม

25%

30%

45%

100%

การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic Sampling) เป็ นวิธีการสุ่มท่ีใช้กับหน่วยตัวอย่างท่ไี ด้มีการเรียง ลำาดับอย่างเป็ นระบบอย่างใดอย่างหน่ ึง เช่น ลำาดับเลขของหนังสือในห้องสมุด การสุ่มแบบเป็ นระบบทำาได้โดยการเลือกหน่วยตัวอ ย่างแรกแบบสุ่ม จากหน่วยท่ี 1 ถึงหน่วยท่ี k และจะเลือกหน่วยตัวอย่างต่อๆไปทุก k หน่วยจนครบ n หน่วยตามต้องการ ตัวอย่าง k = 10 ถ้าหน่วยตัวอย่างแรกท่เี ลือกได้คือหน่วยท่ี 9

การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) เป็ นวิธีการสุ่มตัวอย่างท่ีมีการรวมหน่วยตัวอย่ างเข้าไว้เป็ นกลุ่ม จำานวน N กลุ่ม แล้วทำาการสุ่มเลือกกลุ่มของหน่วยตัวอย่างมา n กลุม ่ การเก็บรวบรวมข้อมูลจะทำาการเก็บจากหน่วย ตัวอย่างทุกหน่วยในกลุม ่ ท่ีถูกเลื อ กมาเป็ น ตั ว กลุม่ ตัวอย่าง ที่สุ่มออกมา อย่าง

การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้น (Multi-stage Sampling) การสุ่มตัวอย่างท่ีทำาเป็ นขัน ้ ๆ หลายขัน ้ ตอน ซ่ ึงแต่ละขัน ้ จะใช้แผนการสุ่มแบบใดก็ได้ ข้อมูลจะถูกเก็บจากหน่วยตัวอย่างย่อยท่ี จว.ตย. งหวัดอ ตัวกมาได้ อย่าง จำาใ นวน สุ่มจัเลื นขัน ้ สุด ท้าย จว.ที่1 จว.ที่2 จว.ที่3

รวม

เหนือ

3

เหนือ

100

100

100

300

อีสาน

3

อีสาน

100

100

100

300

กลาง

3

กลาง

100

100

100

300

ตะวันออก

2

ตะวันออก

100

100

-

200

ใต้

2

ใต้

100

100

-

200

Related Documents

Sample Population
November 2019 10
Population And Sample
June 2020 11
No1 Sample Population 123
November 2019 8
Population
November 2019 37
Population
November 2019 36
Population
April 2020 22