Rule Crane

  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Rule Crane as PDF for free.

More details

  • Words: 1,341
  • Pages: 20
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) และขอ 14 แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยสําหรับลูกจาง ไวดังตอไปนี้ ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น” ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป ขอ 3 ประกาศนี้มิใหใชบังคับแก (1) ราชการสวนกลาง (2) ราชการสวนภูมิภาค (3) ราชการสวนทองถิ่น (4) กิจการอื่นตามที่กระทรวงมหาดไทยจะไดประกาศกําหนด ขอ 4 ในประกาศนี้ “นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวมถึงผูซึ่งได รับมอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวาผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติ บุคคล นั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคล “ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจางดวยตนเอง หรือไมก็ตามและหมายความรวมถึงลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราวแตไมรวมถึงลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานบาน “ปน จั่น” (Cranes หรือ Derricks) หมายความวา เครื่องจักรกลที่ใชยกสิ่งของขึ้นลงตามแนวดิ่งและเคลื่อน ยายสิ่งของเหลานั้นในลักษณะแขวนลอยไปตามแนวราบ “ปนจั่นชนิดอยูกับที่” หมายความวา ปนจั่นที่ประกอบดวยอุปกรณควบคุมและเครื่องตนกําลังอยูในตัวซึ่ง ติดตั้งอยูบนหอสูง ขาตั้ง หรือบนลอเลื่อน “ปนจั่นชนิดเคลื่อนที่” หมายความวา ปนจั่นที่ประกอบดวยอุปกรณควบคุมและเครื่องตนกําลังอยูในตัว ซึ่งติดตั้งอยูบนยานที่ขับเคลื่อนในตัวเอง “ลวดวิ่ง” หมายความวา เชือกลวดเหล็กกลาที่เคลื่อนที่ในขณะปนจั่นทํางาน “ลวดโยงยึด” หมายความวา เชือกลวดเหล็กกลาที่ยึดสวนใดสวนหนึ่งของปนจั่นใหมั่นคง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 104 ตอนที่ 94 วันที่ 21 พฤษภาคม 2530 มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 17 พฤศจิกายน 2530 เปนตนไป

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

“ผูบ ังคับปนจั่น” หมายความวา ผูทําหนาที่บังคับการทํางานของปนจั่น “วิศวกร” หมายความวา วิศวกรซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่คณะ กรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมกําหนดตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพวิศวกรรม “สวนความปลอดภัย” หมายความวา อัตราสวนระหวางแรงดึงที่เชือกลวดเหล็กกลารับไดสูงสุดตอแรงดึงที่ เชือกลวดเหล็กกลารับอยูจริง หมวด 1 ขอกําหนดทั่วไป ขอ 5 ใหนายจางที่ใชปนจั่นปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษณะของปนจั่น และคูมือการใชงานที่ผูผลิต ปนจั่นกําหนดไว ในการประกอบ การทดสอบ การซอมบํารุง และการตรวจสอบปนจั่นใหนายจางปฏิบัติตามรายละเอียด คุณลักษณะและคูมือการใชงานตามวรรคหนึ่งดวย ในกรณีที่มีอุปกรณอื่นใชกับปนจั่น หามมิใหนายจางใชอุปกรณนั้นเกินหรือไมถูกตองตามรายละเอียดคุณ ลักษณะตามวรรคหนึ่ง ถาไมมีรายละเอียดคุณลักษณะหรือคูมือการใชงาน หรือผูผลิตปนจั่นมิไดกําหนดไวใหนายจางปฏิบัติตาม รายละเอียดคุณลักษณะที่วิศวกรไดกําหนดขึ้นเปนหนังสือ ขอ 6 ใหนายจางติดปายบอกพิกัดนํ้าหนักยกไวที่ปนจั่น ปดคําเตือนใหระวังอันตรายและติดตั้งสัญญาณ เตือนอันตรายใหผูบังคับปนจั่นเห็นไดชัดเจน ขอ 7 ในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่นใหนายจางจัดใหมีการใหสัญญาณการใชปนจั่นที่เขาใจในระหวางผู เกี่ยวของ ในกรณีที่การใชสัญญาณตามวรรคหนึ่งเปนการใชสัญญาณมือ ใหนายจางจัดใหมีรูปภาพหรือคูมือการใช สัญญาณมือตามที่กําหนดไวทายประกาศนี้ติดไวที่ปนจั่นและบริเวณที่ทํางาน ขอ 8 ใหนายจางจัดใหมีการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นทุก ๆ สามเดือน ตามแบบที่ กรมแรงงานกําหนด ใหนายจางบันทึกเวลาที่ตรวจสอบและผลการตรวจสอบ โดยมีวิศวกรเปนผูรับรองไวเปนหลักฐานให พนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบไดในระหวางเวลาทํางาน ขอ 9 ในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น หามมิใหนายจางใชเชือกลวดเหล็กที่มีลักษณะดังตอไปนี้ (1) ลวดวิ่งที่มีเสนลวดในหนึ่งชวงเกลียว ขาดตั้งแตสามเสนขึ้นไปในเกลียวเดียวกัน หรือขาดตั้งแตหก เสนขึ้นไปในหลายเกลียวรวมกัน (2) ลวดโยงยึดที่มีเสนลวดในหนึ่งชวงเกลียวขาดตั้งแตสองเสนขึ้นไป (3) ลวดเสนนอกสึกไปหนึ่งในสามของเสนผาศูนยกลาง (4) ลวดวิ่งหรือลวดโยงยึดที่ขมวด ถูกบดกระแทก แตกเกลียวหรือชํารุด ซึ่งเปนเหตุใหการรับนํ้าหนักของ เชือกลวดเหล็กกลาเสียไป (5) เสนผาศูนยกลาง มีขนาดเล็กลงเกินรอยละหาของเสนผาศูนยกลางเดิม

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

(6) ถูกความรอนทําลายหรือเปนสนิมมากจนเห็นไดชัดเจน ขอ 10 หามมิใหนายจางใชรอก ในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่นที่มีอัตราสวนระหวางเสนผานศูนยกลางของ รอกหรือลอใดๆ กับเสนผานศูนยกลางของเชือกลวดเหล็กกลาที่พันอยูนอยกวามาตรฐานที่กําหนดดังตอไปนี้ 18 ตอ 1 สําหรับรอกปลายแขนปนจั่น 16 ตอ 1 สําหรับรอกของตะขอ 15 ตอ 1 สําหรับรอกหลังแขนปนจั่น ขอ 11 ในขณะทํางาน ใหนายจางจัดใหมีการควบคุมใหมีเชือกลวดเหล็กกลาเหลืออยูในที่มวนเชือกลวด ไมนอยกวาสองรอบ เชือกลวดเหล็กกลาที่ใช ตองมีสวนความปลอดภัยดังนี้ (1) เชือกลวดเหล็กกลาที่เปนลวดวิ่ง ไมนอยกวา 6 (2) เชือกลวดเหล็กกลาที่เปนลวดโยงยึด ไมนอยกวา 3.5 ขอ 12 ใหนายจางจัดใหมีสิ่งครอบปดสวนที่หมุนรอบตัวเอง หรือสวนที่เคลื่อนไหวไดของเครื่องจักรเพื่อให ลูกจางทํางานดวยความปลอดภัย ขอ 13 ใหนายจางจัดทําเครื่องหมายแสดงเขตอันตรายหรือเครื่องกั้นเขตอันตรายในรัศมีสวนรอบของ ปน จั่นที่หมุนกวาดระหวางทํางานเพื่อเตือนลูกจางใหระวังอันตรายอันอาจเกิดขึ้นในรัศมีของสวนที่หมุนได ขอ 14 ปน จัน่ ที่มีความสูงเกินสามเมตร ใหนายจางจัดใหมีบันไดพรอมราวจับและโครงโลหะกันตกใหแก ลูกจางที่ทํางาน ขอ 15 ใหนายจางจัดทําพื้นและทางเดินบนปนจั่นชนิดกันลื่น ขอ 16 ใหนายจางติดตั้งเครื่องดับเพลิงชนิดที่เหมาะสมและใชการไดที่หองบังคับปนจั่น ขอ 17 ใหนายจางจัดใหมีสิ่งครอบปดหรือฉนวนหุมทอไอเสียของปนจั่นเพื่อปองกันอันตรายอันอาจเกิด จากความรอนของทอไอเสีย ขอ 18 ปน จั่นที่ใชเครื่องยนต นายจางตองจัดใหมีถังเก็บเชื้อเพลิงและทอสงเชื้อเพลิงติดตั้งอยูในลักษณะ ทีจ่ ะไมเกิดอันตรายเมื่อเชื้อเพลิงหก ลน หรือรั่วออกมา ขอ 19 ใหนายจางเก็บและเคลื่อนยายเชื้อเพลิงที่ใชกับปนจั่นดวยความระมัดระวัง มิใหเกิดอันตรายได ขอ 20 เมือ่ มีการใชปนจั่นใกลสายไฟฟา ใหนายจางปฏิบัติ ดังตอไปนี้ (1) ถาสายไฟฟามีแรงดันไฟฟาไมเกินหาสิบกิโลโวลท ใหระยะหางระหวางสายไฟฟานั้นกับสวนหนึ่งสวน ใดของปนจั่น หรือกับสวนหนึ่งสวนใดของวัสดุที่ปนจั่นกําลังยกอยูตองไมนอยกวาสามเมตร (2) ถาสายไฟฟามีแรงดันไฟฟาเกินหาสิบกิโลโวลท ใหระยะหางระหวางสายไฟฟานั้นกับสวนหนึ่งสวนใด ของปนจั่น หรือกับสวนหนึ่งสวนใดของวัสดุที่ปนจั่นกําลังยกอยูเพิ่มขึ้นจากระยะหางตาม (1) อีกหนึ่งเซ็นติเมตร สําหรับแรงดันไฟฟาที่เพิ่มขึ้นหนึ่งกิโลโวลท

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

(3) ในกรณีที่ปนจั่นเคลื่อนที่โดยไมยกวัสดุและไมลดแขนปนจั่นลง ใหระยะหางระหวางสวนหนึ่งสวนใด ของปนจั่นกับสายไฟฟาเปน ดังนี้ (ก) สําหรับสายไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟาไมเกินหาสิบกิโลโวลทไมนอยกวาหนึ่งเมตรยี่สิบหาเซนติเมตร (ข) สําหรับสายไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟาเกินหาสิบกิโลโวลทแตไมเกินสามรอยสี่สิบหากิโลโวลทไมนอย กวาสามเมตร (ค) สําหรับสายไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟาเกินสามรอยสี่สิบหากิโลโวลท แตไมเกินเจ็ดรอยหาสิบกิโล โวลท ไมนอยกวาหาเมตร ขอ 21 ถาปนจั่นหรือวัสดุที่จะยกตั้งอยูใกลเสาสงคลื่นโทรคมนาคมกอนใชปนจั่นใหนายจางจัดใหมีการ ตรวจตัวปนจั่นและวัสดุนั้นวาเกิดประจุไฟฟาเหนี่ยวนําหรือไม ถาพบวามีประจุไฟฟาเหนี่ยวนําที่ตัวปนจั่นและวัสดุ ที่จะยกใหนายจางตอสายตัวนํากับปนจั่นและวัสดุนั้นใหประจุไฟฟาไหลลงดิน ตลอดเวลาที่มีการใชปนจั่นทํางาน ใกลเสาสงคลื่นโทรคมนาคม ขอ 22 ถามีสารไวไฟอยูในบริเวณที่ใชปนจั่น ใหนายจางนําสารไวไฟออกจากบริเวณที่ใชปนจั่นกอน ปฏิบัติงาน ขอ 23 หามมิใหนายจางใหลูกจางทํางานเกี่ยวกับปนจั่นที่ชํารุดเสียหายหรืออยูในสภาพที่ไมปลอดภัย ขอ 24 ถามีการทํางานเกี่ยวกับปนจั่นในเวลากลางคืน ใหนายจางจัดใหมีแสงสวางทั่วบริเวณตลอดเวลาที่ ลูกจางทํางาน ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม ขอ 25 หามมิใหนายจางหรือลูกจางดัดแปลงหรือแกไขสวนใดสวนหนึ่งของปนจั่น หรือยินยอมใหผูอื่น กระทําการเชนวานั้น อันอาจทําใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับปนจั่นมีความปลอดภัยนอยลง หมวด 2 ปนจั่นชนิดอยูกับที่ ขอ 26 ใหนายจางติดตั้งปนจั่นบนฐานที่มั่นคงโดยมีวิศวกรเปนผูรับรอง และใหสวนที่เคลื่อนที่หรือหมุนได ของปนจั่นอยูหางจากสิ่งกอสรางหรือวัตถุอื่นไมนอยกวาหาสิบเซนติเมตร ขอ 27 ปน จั่นเคลื่อนที่บนรางหรือปนจั่นที่มีรางลอเลื่อนที่อยูบนแขนปนจั่น ใหนายจางจัดใหมีสวิตชให หยุดปนจั่นไดโดยอัตโนมัติ และใหมีกันชนหรือกันกระแทกที่ปลายทั้งสองขางของรางดวย ขอ 28 ในขณะปนจั่นเคลื่อนที่ ใหนายจางจัดใหมีสัญญาณเสียงและแสงวับวาบเตือนใหลูกจางทราบ ขอ 29 ใหนายจางจัดใหมีเครื่องกวาดสิ่งของหนาลอทั้งสองขางของปนจั่น ขอ 30 ถาลูกจางปฏิบัติงานบนแขนปนจั่น ใหนายจางจัดใหมีราวกันตกไว ณ บริเวณที่ปฏิบัติงานและจัดให ลูกจางสวมใสเข็มขัดนิรภัยและสายชูชีพตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

หมวด 3 ปนจั่นชนิดเคลื่อนที่ ขอ 31 ใหนายจางที่ใชปนจั่นจัดใหมีอุปกรณปองกันแขนตอไมใหอยูหางจากแนวเสนตรงของแขนปนจั่น นอยกวาหาองศา ขอ 32 ใหนายจางที่นําปนจั่นชนิดเคลื่อนที่ไปติดตั้งอยางชั่วคราวอยูบนเรือ แพ หรือพาหนะลอยนํ้า ปฏิบัติ ดังตอไปนี้ (1) ยึดปนจั่นไวกับเรือ แพ หรือพาหนะลอยนํ้าใหมั่นคงโดยมีวิศวกรเปนผูรับรอง (2) เปลี่ยนปายบอกพิกัดนํ้าหนักยกของปนจั่นใหตรงตามความสามารถในการยกสิ่งของไดโดยปลอดภัย โดยนํ้าหนักของปนจั่นรวมกับพิกัดนํ้าหนักยกจะตองไมเกินระวางบรรทุกเต็มที่ของเรือ แพ หรือพาหนะลอยนํ้านั้น หมวด 4 เบ็ดเตล็ด ขอ 33 ใหนายจางจัดใหมีและใหลูกจางใชหมวกแข็ง ถุงมือ รองเทาหัวโลหะ หรืออุปกรณความปลอดภัย อืน่ ๆ ตามลักษณะและสภาพของงานตลอดเวลาที่ทํางานเกี่ยวกับปนจั่น ใหนายจางจัดอบรมลูกจางใหรูจักวิธีใช วิธีทํ าความสะอาดและวิธีบํ ารุงรักษาอุปกรณความปลอดภัย ตลอดจนขอจํากัดของอุปกรณเหลานั้น ขอ 34 ใหนายจางออกขอบังคับการทํางานเกี่ยวกับปนจั่นกําหนดรายละเอียดในการใชอุปกรณความ ปลอดภัยไว ขอ 35 ใหนายจางจัดใหมีคูมือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับปนจั่นเปนภาษาไทย ใหลูกจางศึกษาและปฏิบัติตาม โดยถูกตอง ขอ 36 ใหนายจางจัดใหมีผูควบคุมทําหนาที่ควบคุมการใชปนจั่นใหเปนไปโดยถูกตองและปลอดภัย ขอ 37 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายตามประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2530 พลเอก ประจวบ สุนทรางกูร รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

การใหสัญญาณมือสําหรับปนจั่นชนิดอยูกับที่

สัญญาณใหลูกรอกเคลื่อนที่ กํามือขวา หงายขึ้นในระดับไหล นิ้วหัวแมมือ สัญญาณใหยกของขึ้นได สัญญาณใหลดของที่ยกลง ใหงอศอกขึ้นไดฉาก ใชนิ้วชี้ชี้ขึ้น แลวหมุน กางแขนออกเล็กนอย ใชนิ้วชี้ชี้ลง แลวหมุน ชี้ออกในทิศทางที่ตองการใหลูกรอกเคลื่อนที่ ไปโดยโยกมือเคลื่อนที่ในทางแนวนอน เปนวงกลม เปนวงกลม

สัญญาณใหหยุดยกของ เหยี ย ดมื อ ซ า ยออกข า งลํ าตั ว ระดั บ ไหล ฝามือควํ่าลงโดยเหยียดแขนนิ่งอยูในทานี้

สัญญาณใหสะพานปนจั่นเคลื่อนที่ สัญญาณหยุดยกของฉุกเฉิน เหยียดฝามือขวาตรงออกไปขางหนาในระดับ เหยียดแขนซายออกไปอยูในระดับไหล ไหล ฝ า มื อ ตั้ ง ตรงทํ าท า ผลั ก ในทิ ศ ทางที่ ฝามือควํ่าลง แลวเหวี่ยงไป-มา ในแนว ตองการใหสะพานเคลื่อนที่ไป ระดับไหลอยางรวดเร็ว

สัญญาณการใชลูกรอกคู ชูมือซายระดับหรือเหนือศีรษะงอขอศอกเปน มุมฉาก (90 องศา) ชูนิ้วชี้ขึ้นเพียงนิ้วเดียว สัญญาณใหยกของขึ้นชา ๅ หมายถึงใหใชลูกรอกหมายเลข 1 (หมายเลขที่ สัญญาณเลิกใชปนจั่น เขียนบนลูกรอก) ชูนิ้วขึ้นพรอมกันทั้งสองนิ้ว ยกแขนควํ่าฝามือใหไดระดับคาง แลวใชนิ้วชี้ ของมื อ อี ก ข า งหนึ ่ ง ชี ้ ต รงกลางฝ า มื อ แล ว หมุ น ใหผูบังคับปนจั่น เหยียดแขนทั้งสองออก หมายถึง ใหใชลูกรอกหมายเลข 2 สัญญาณ ตาง ๆใหทําเชนเดียวกัน(เชนยกขึ้นหรือลดลง) ชา ๅ ไปทางขางลําตัว โดยหงายฝามือทั้งสองขาง

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

การใหสัญญาณมือสําหรับปนจั่นชนิดเคลื่อนที่

สัญญาณใชรอกใหญหรือตะขอใหญ

สัญญาณใหยกของขึ้นลงได ใหงอขอศอกขึ้นใหไดฉาก ใชนิ้วชี้ ชี้ขึ้น แลวหมุนเปนวงกลม

สัญญาณใชตะขอเชือกเสนเดี่ยว (รอกชวย) งอขอศอกขึ้นกํามือระดับไหลโยไปขางหนาเล็ก นอย แลวใชมืออีกขางหนึ่งแตะที่ขอศอก จากนั้นใหสัญญาณอื่นๆ ที่ตองการ

สัญญาณใหลดของที่ยกลง กางแขนออกเล็กนอย ใชนิ้วชี้ ชี้ลง แลวหมุนเปนวงกลม

สัญญาณใหยกแขนปนจั่น สัญญาณใหลดแขนปนจั่นลง เหยียดแขนออกสุดแขน แลวกํามือ ยกหัวแม เหยียดแขนออกสุดแขน แลวกํามือยกหัว มือขึ้น แมมอื ลง

สัญญาณใหยกแขนปนจั่น แลวหยอนของที่ กําลังยกลง ยกแขนควํ่าฝามือใหไดระดับคาง เหยียดแขนออกสุดแขน เหยียดฝามือ แลวใชนิ้วชี้ของมืออีกขางหนึ่งชี้ตรงกลาง ในลักษณะตั้งยกหัวแมมือขึ้น แลวกวักนิ้วทั้งสี่ ฝามือ แลวหมุนชา ๆ ไปมา (ยกเวนนิ้วหัวแมมือ) สัญญาณใหยกของขึ้นชา ๆ

กํามือยกขึ้นเหนือศีรษะแลวเคาะเบา ๆ บนศีรษะตนเองหลายๆ ครั้ง แลวใชสัญญาณอื่นๆ ที่ตองการ

สัญญาณลดแขนปนจั่นลง แลวยกของที่ กําลังยกขึ้น เหยียดแขนออกสุดแขน เหยียดฝามือ ในลักษณะตั้งหัวแมมือชี้ลง แลวกวักนิ้วทั้งสี่ ไปมา (ยกเวนนิ้วหัวแมมือ)

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

การใหสัญญาณมือสําหรับปนจั่นชนิดเคลื่อนที่

สัญญาณใหแขนปนจั่นเหวี่ยงหมุนไปตามทิศ สัญญาณหยุดยกของฉุกเฉิน สัญญาณใหหยุดยกของ ทางที่ตองการ เหยี ย ดแขนซ า ยหรื อ ขวา ชี้ ไ ปตามทิ ศ ทางที่ เหยียดมือซายออกขางลําตัวระดับไหล ฝามือควํ่า เหยียดแขนซายออกไปอยูในระดับไหล ฝามือ ควํ่าลง โดยเหยียดแขนนิ่งอยูในทานี้ ลง โดยเหยียดแขนนิ่งอยูในทานี้ ตองการที่จะใหหมุนแขนปนจั่นไป

สัญญาณใหรถปนจั่นเคลื่อนที่ในทิศทางที่ ตองการ เหยียดฝามือขวาตรงออกไปขางหนาในระดับ ไหล ฝ า มื อ ตั้ ง ตรงทํ าท า ผลั ก ในทิ ศ ทางที่ ตองการใหรถปนจั่นเคลื่อนที่ไป

สัญญาณใหหยุดและยึดเชือกลวด ทั้งหมด กํามือทั้งสองเขาหากันใหอยูในระดับเอว

สัญญาณใหรถปนจั่น (ตีนตะขาบ) เดินหนาหรือถอยหลัง กํามือทั้งสองซอนกัน ยกขึ้นเสมอหนาทอง แลว หมุนมือที่กําสองขางใหไดจังหวะกัน ถาจะใหรถ ปนจั่นเดินหนาก็หมุนมือไปขางหนา ถาจะใหรถ ปนจั่นเดินถอยหลัง ก็หมุนมือถอยหลัง

สัญญาณใหรถปนจั่น (ตีนตะขาบ) เคลื่อนที่ ทางดานขาง (โดยยึดตีนตะขาบขางหนึ่งไว) ใหยึด(ล็อค)ตีนตะขาบขางหนึ่ง โดยกํามือขวา ชูขึ้น ใหขอศอกงอเปนมุมฉาก 90 องศา ให สัญญาณใหรถปนจั่นเลื่อนแขนปนจั่นออก สัญญาณหดแขนปนจั่นเขา ตีนตะขาบดานตรงขามเคลื่อนที่ตามตองการ (สําหรับรถปนจั่นชนิดแขนยืด-หดได) (สําหรับรถปนจั่นชนิดแขนยืด-หดได) โดยกํามืออีกขางหนึ่งอยูระดับเอว แลวหมุนเขา กํ ามื อทั้งสองขาง ควํ่าแลวยกขึ้นเสมอเอว แลว กํ ามื อ ทั ้ ง สองข า ง หงาย ยกขึ ้ น เสมอเอว แล ว หาตัวแนวดิ่ง (สัญญาณนี้ใชเฉพาะรถปนจั่น เหยียดหัวแมมือออกทั้งสองขาง ใหหัวแมมือทั้งสองขางชี้เขาหากัน เคลื่อนที่ชนิดตีนตะขาบเทานั้น)

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

แบบ คป.1

แบบตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นชนิดอยูกับที่ (Stationary Cranes) กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย

ขาพเจา ………………………………………………………………….………………………………..…อายุ……………………………ป ที่อยูเลขที่……………หมูที่…………ตรอก/ซอย……………………ถนน……………………………………….ตําบล/แขวง………….…………….. อําเภอ/เขต………………………………………จังหวัด…………………………….……….โทรศัพท………………………………………………………….. สถานที่ทํางาน……………………………………………………………………………………………………………เลขที่…………………………………………… ตรอก/ซอย…………………………………ถนน……………………………………..………ตําบล/แขวง………….………………………………………… … อําเภอ/เขต………….…………………….จังหวัด…………………………….……………โทรศัพท…………………………………………………………… ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาเครื่องกล ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505

ประเภท…………………………………………………………เลขทะเบียน……………………………………………ตั้งแต……………………………………… ขาพเจาไดทําการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณปนจั่นของ……………………………………………………………….. โดย………………………………………………………………………..เจาของ/ผูจัดการ………………………………………………………………………….. ที่อยูเลขที่………………ตรอก/ซอย………………………ถนน…………………….………………….…….ตําบล/แขวง………….………………….. อําเภอ/เขต……………………………….จังหวัด……………………………..…………………….โทรศัพท………………………………………………….. เมื่อวันที่………………………………………..ขณะตรวจสอบปนจั่นใชงานอยูที่………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขาพเจาไดทําการตรวจสอบปนจั่นและอุปกรณตามรายการตรวจสอบที่ระบุไวในเอกสารแนบทาย พรอม ทัง้ ไดปรับปรุงแกไขสวนที่ชํารุดหรือบกพรองจนใชงานไดถูกตองปลอดภัย และขอรับรองวาปนจั่นเครื่องนี้ใชงาน ไดอยางปลอดภัย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น (ลงชื่อ)…………………………………………………… (……………………………………………) วิศวกรผูตรวจสอบ

(ลงชื่อ)………………………………………………………… (……………………………………………….…) เจาของ/ผูจัดการ สําหรับเจาหนาที่

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

แบบ คป.1

รายการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณปนจั่นชนิดอยูกับที่

1. แบบปนจั่น

2.

3.

4.

5.

ปนจั่นหอสูง (Tower Crane) ปนจั่นเหนือศีรษะ (Overhead Crane) ปนจั่นขาสูง (Gantry Crane) อื่น ๆ (ระบุ)……………………………………………………………………………………………. ผูผลิต สรางโดย……………………………………………………… ประเทศ…………………………….. ตามมาตรฐาน……………………………………………………………………………………………. ออกแบบใหยกนํ้ าหนักไดสูงสุดที่ปลายแขนปนจั่น…………..ตัน (ยาวสุด) ออกแบบใหยกนํ้าหนักไดสั้นสุดที่ตนแขนปนจั่น………..…….ตัน (สั้นสุด) รายละเอียดคุณลักษณะ (Specification) และคูมือการใชงาน การประกอบ การทดสอบ การซอมบํารุงและ การตรวจสอบ มีมาพรอมกับปนจั่น มี โดยวิศวกรกําหนดขึ้น ไมมี สภาพโครงสราง 4.1 สภาพโครงสรางปนจั่น เรียบรอย แตก ชํารุด บิดเบี้ยว ตองแกไข 4.2 สภาพรอยเชื่อมตอ (Joints) เรียบรอย ชํารุดตองแกไข 4.3 สภาพของนอตและหมุดยํ้า เรียบรอย ชํารุดตองแกไข มีการตรวจสอบปนจั่น 5.1 หลังประกอบเสร็จ มี ไมมี 5.2 หลังซอมสวนสําคัญ มี ไมมี 5.3 หลังเกิดอุบัติเหตุ มี ไมมี

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

……………………………………………………………วิศวกรผูตรวจสอบ แบบ คป.1

6. รอก กวานและตะขอยก 6.1 เสนผาศูนยกลางรอกปลายแขนปนจั่น…………………………………………………………………………………………….. 6.2 เสนผาศูนยกลางรอกของตะขอยก…………….…………………………………………………………………………………….. 6.3 สภาพ กวานและตะขอยก เรียบรอย ชํารุดตองแกไข

7. สภาพของสลัก ลูกปน เพลา เฟอง โรลเลอร (Rollers) เรียบรอย ชํารุดตองแกไข 8. สภาพของเบรคและคลัทช เรียบรอย ชํารุดตองแกไข 9. สภาพของลวดวิ่ง (Running Ropes) 9.1 ขนาดเสนผาศูนยกลาง………………………………………………..สวนความปลอดภัย (Safety Factor) เทากับ…………………………………….อายุการใชงาน………..ป 9.2 ในหนึ่งชวงเกลียวมีลวดขาดตั้งแต 3 เสนขึ้นไปในเกลียวเดียวกัน มี ไมมี 9.3 มีลวดขาดตั้งแต 6 เสนขึ้นไปในหลายเกลียวรวมกัน มี ไมมี 10. สภาพของลวดโยงยึด (Standing Ropes) 10.1 ขนาดเสนผาศูนยกลาง………………………………สวนความปลอดภัย……………………………….. อายุการใชงาน………….ป 10.2 เสนลวดในหนึ่งชวงเกลียวขาดตั้งแตสองเสนขึ้นไป มี ไมมี 11. ลวดวิ่ง และ/หรือ ลวดโยงยึด 11.1 เสนผาศูนยกลางเล็กลงเกินรอยละ 5 ของเสนผาศูนยกลางเดิม มี ไมมี

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

………………………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ แบบ คป. 1

12.

13.

14.

15. 16.

17.

11.2 ลวดเสนนอกสึกไปหนึ่งในสามของเสนผาศูนยกลาง มี ไมมี 11.3 ขมวด ถูกกระแทก แตกเกลียวหรือชํารุดจนเปนเหตุใหการรับนํ้าหนักเสีย มี ไมมี 11.4 ถูกความรอนทําลายหรือเปนสนิมมากจนเห็นไดชัด มี ไมมี สภาพของนํ้ามันไฮดรอลิกและทอลม 12.1 มีการรั่วของนํ้ามันและทอลมหรือขอตอ มี ไมมี 12.2 มีการบิดตัวอยางผิดปกติของทอนํ้ามัน มี ไมมี 12.3 มีนํ้ามันรั่วที่บริเวณขอตอที่ไมสามารถขันนอตใหหายรั่วได มี ไมมี 12.4 มีรอยสึกบริเวณเปลือกนอกของทอ มี ไมมี สภาพการสึกหรอของกลไกระบบควบคุม เรียบรอย ชํารุดตองแกไข สภาพการหลอลื่นโดยทั่วไป เรียบรอย บกพรองตองแกไข มีครอบปด (Guard) สวนที่หมุนได ที่อาจเปนอันตราย มี ไมมี การยึดโยงปนจั่นและนํ้าหนักถวง (Counterweight) ใหมั่นคง เรียบรอย ชํารุดตองแกไข อุปกรณไฟฟา 17.1 สภาพแผงสวิตชไฟฟา รีเลยและอุปกรณอื่น เรียบรอย ชํารุดตองแกไข

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

………………………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ แบบ คป. 1 17.2 สภาพมอเตอรไฟฟา เรียบรอย ชํารุดตองแกไข 18. ความตึงของสายพานตัววี

19.

20. 21. 22. 23. 24.

ปกติ ตองปรับ การทํางานของ Limit Switches ของ 19.1 ชุดตะขอยก ถูกตองเรียบรอย ตองปรับแตงใหม 19.2 ชุดลอเลื่อน ถูกตองเรียบรอย ตองปรับแตงใหม 19.3 มุมแขนปนจั่น (เฉพาะ Derricks) ถูกตองเรียบรอย ตองปรับแตงใหม 19.4 การเคลื่อนที่บนรางของปนจั่น ถูกตองเรียบรอย ตองปรับแตงใหม 19.5 ชุดพิกัดนํ้าหนักยก ถูกตองเรียบรอย ตองปรับแตงใหม ปนจั่นชนิดเคลื่อนที่บนรางหรือมีรางลอเลื่อนอยูบนแขนมีกันชนหรือกันกระแทกที่ปลายทั้งสองขางของราง มี ไมมี มีอุปกรณปองกันไมใหลอเลื่อนตกจากรางดานขาง มี ไมมี มีการดัดแปลงแกไขสวนหนึ่งสวนใดของปนจั่น มี ไมมี ปน จัน่ ที่มีความสูงเกินสามเมตร มีบันไดพรอมราวจับและโครงโลหะกันตกใหแกลูกจางที่ทํางาน มี ไมมี มีการจัดทําพื้นและทางเดินบนปนจั่นเปนชนิดกันลื่น มี ไมมี

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

…………….……………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ แบบ คป.1

รายการแกไข ซอมแซม ปรับแตง สิ่งชํารุดบกพรอง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แบบ คป.2 แบบตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นชนิดเคลื่อนที่ (Mobile Cranes) กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย

ขาพเจา ………………………………………………………………….………………….…………..…อายุ……………………….……ป ที่อยูเลขที่……………………..………ตรอก/ซอย………..………………..ถนน………………….………………ตําบล/แขวง………….…………… อําเภอ/เขต…………………………………………จังหวัด……………………..…………………….โทรศัพท…………………………………………………. สถานที่ทํางาน…………………………………………………………………………………………………………เลขที่…………………………………………….. ตรอก/ซอย…………………..ถนน……………………………………..………………..ตําบล/แขวง………….…………………………………………….. อําเภอ/เขต……………………………..………….จังหวัด…………………………………………………….โทรศัพท……………………………………….. ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาเครื่องกล ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505

ประเภท…………………………………………………………เลขทะเบียน…………………………………..ตั้งแต…………………………………………….. ขาพเจาไดทําการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณปนจั่นของ………………………………………………………………… โดย……………………………………………………………………..…เจาของ/ผูจัดการ………………………………………………………………………….. ที่อยูเลขที่……………….……………ตรอก/ซอย…………………………ถนน………………………………..…ตําบล/แขวง………….…………….. อําเภอ/เขต………………………………....จังหวัด……………………….……………………….โทรศัพท………………………………………….………. เมื่อวันที่………………………………………..ขณะตรวจสอบปนจั่นใชงานอยูที่…………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข า พเจ า ได ทํ าการตรวจสอบป นจั่นและอุปกรณตามรายการตรวจสอบที่ระบุไวในเอกสารแนบทาย พรอมทั้งไดปรับปรุงแกไขสวนที่ชํารุดหรือบกพรองจนใชงานไดถูกตองปลอดภัย และขอรับรองวาปนจั่นเครื่องนี้ ใชงานไดอยางปลอดภัย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น (ลงชื่อ)…………………………………………………… (……………………………………………) วิศวกรผูตรวจสอบ

(ลงชื่อ)………………………………………………………… (……………………………………………….…) เจาของ/ผูจัดการ สําหรับเจาหนาที่

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

แบบ คป.2

รายการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นชนิดเคลื่อนที่ 1. แบบปนจั่น

2.

3.

4.

5.

ไฮดรอลิก ลอยาง ลอตีนตะขาบ อื่น ๆ ผูผลิต สรางโดย……………………………………………………… ประเทศ…………………………….. ตามมาตรฐาน……………………………………………………………………………………………. ออกแบบใหยกนํ้ าหนักไดสูงสุดที่ปลายแขนปนจั่น…………..ตัน (ยาวสุด) ออกแบบใหยกนํ้าหนักไดสั้นสุดที่ตนแขนปนจั่น………..…….ตัน (สั้นสุด) รายละเอียดคุณลักษณะ (Specification) และคูมือการใชงาน การประกอบ การทดสอบ การซอมบํารุงและ การตรวจสอบ มีมาพรอมกับปนจั่น มี โดยวิศวกรกําหนดขึ้น ไมมี สภาพโครงสราง 4.1 สภาพโครงสรางปนจั่น เรียบรอย แตก ชํารุด บิดเบี้ยว ตองแกไข 4.2 สภาพรอยเชื่อมตอ (Joints) เรียบรอย ชํารุดตองแกไข 4.3 สภาพของนอตและหมุดยํ้า เรียบรอย ชํารุดตองแกไข มีการตรวจสอบปนจั่น 5.1 หลังประกอบเสร็จ มี ไมมี 5.2 หลังซอมสวนสําคัญ มี ไมมี 5.3 หลังเกิดอุบัติเหตุ มี ไมมี

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

……………………………………………………………วิศวกรผูตรวจสอบ แบบ คป.2

6. รอก กวานและตะขอยก 6.1 เสนผาศูนยกลางรอกปลายแขนปนจั่น…………………………………………………………………………………………….. 6.2 เสนผาศูนยกลางรอกของตะขอยก…………….…………………………………………………………………………………….. 6.3 สภาพรอก กวานและตะขอยก เรียบรอย ชํารุดตองแกไข 7. สภาพของสลัก ลูกปน เพลา เฟอง โรลเลอร (Rollers) เรียบรอย ชํารุดตองแกไข 8. สภาพของลวดวิ่ง (Running Ropes) 8.1 ขนาดเสนผาศูนยกลาง………………………………………………..สวนความปลอดภัย (Safety Factor) เทากับ…………………………………….อายุการใชงาน………..ป 8.2 ในหนึ่งชวงเกลียวมีลวดขาดตั้งแต 3 เสนขึ้นไปในเกลียวเดียวกัน มี ไมมี 8.3 มีลวดขาดตั้งแต 6 เสนขึ้นไปในหลายเกลียวรวมกัน มี ไมมี 9. สภาพของลวดโยงยึด (Standing Ropes) 9.1 ขนาดเสนผาศูนยกลาง………………………………สวนความปลอดภัย……………………………….. อายุการใชงาน………….ป 9.2 เสนลวดในหนึ่งชวงเกลียวขาดตั้งแตสองเสนขึ้นไป มี ไมมี 10. ลวดวิ่ง และ/หรือ ลวดโยงยึด 10.1 เสนผาศูนยกลางเล็กลงเกินรอยละ 5 ของเสนผาศูนยกลางเดิม มี ไมมี 10.2 ลวดเสนนอกสึกไปหนึ่งในสามของเสนผาศูนยกลาง มี ไมมี 10.3 ขมวด ถูกกระแทก แตกเกลียวหรือชํารุดจนเปนเหตุใหการรับนํ้าหนักเสีย มี ไมมี 10.4 ถูกความรอนทําลายหรือเปนสนิมมากจนเห็นไดชัด มี ไมมี

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

…………………………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ แบบ คป. 2

11. สภาพการหลอลื่นโดยทั่วไป

12. 13. 14.

15.

16. 17. 18.

เรียบรอย บกพรองตองแกไข มีครอบปด (Guard) สวนที่หมุนได ที่อาจเปนอันตราย มี ไมมี มีที่ครอบหรือฉนวนหุมทอไอเสียของปนจั่น มี ไมมี ความตึงของสายพานตัววี ปกติ ตองปรับ สภาพของฐานชวยรับนํ้าหนัก เรียบรอย ชํารุดตองแกไข มีอุปกรณปองกันแขนตอ ใหอยูหางจากแนวเสนตรงของแขนปนจั่น เกิน 5 องศา มี ไมมี เครื่องดับเพลิง มี ไมมี มีการดัดแปลงแกไขสวนหนึ่งสวนใดของปนจั่นหรือไม มี ไมมี

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

…………………………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ แบบ คป.2 รายการแกไข ซอมแซม ปรับแตง สิ่งชํารุดบกพรอง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ปนจั่น)

Related Documents

Rule Crane
October 2019 19
Rule
November 2019 54
Rule
December 2019 58
Ancestral Crane
April 2020 20
Crane Truck
October 2019 19
Jib Crane
November 2019 26