Risk 6

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Risk 6 as PDF for free.

More details

  • Words: 799
  • Pages: 7
การบงชี้และการประเมินความเสี่ยง (ตอน 6) สุรชัย วิวัจนสิรินทร* วศิน มหัตนิรันดรกุล**

จากเลมที่แลวมาหวังวาทานผูอานที่ติดตามตั้งแตตน ก็คงเขาใจวัตถุประสงคของกฎหมายการ ประเมินความเสี่ยงของโรงงานอุตสาหกรรมที่ประกาศออกมาเพื่อใชกับโรงงานทั้ง 12 ประเภทแลว และคงจะมีความเขาใจและสามารถใชเครื่องมือการประเมินความเสี่ยงทั้ง 6 เครื่องมือได หรือไมได ทั้งหมดก็ไมเปนไร เพราะถาชํานาญเครื่องมือเหลานี้สัก 2-3 เครื่องมือก็นาจะเพียงพอที่จะบงชี้หรือ ประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น พรอมทั้งสามารถกําหนดมาตรการปองกันและแกไขได ก็อยางที่ ไดเคยคุยกันไว คือ เมื่อรูปญหาวามีโอกาสเกิดอะไร ตนเหตุมาจากไหน ก็ควรจะสามารถกําหนด มาตรการจัดการกับตนเหตุของปญหาที่เรียกวา “ การปองกัน” จุดประสงคคือ เพื่อไมใหเกิดปญหา เกิดขึ้น จะไดมีเวลาไปนั่งจิบกาแฟแทนที่จะยุงอยูกับการตอสูกับปญหาที่เกิด เหนื่อยเปลาๆ นอก จากจะกําหนดการป องกั น แลว ควรกําหนดมาตรการแกไขดวย เผื่ อฟลุค ถาปองกัน แลวยังเกิ ด ปญหาขึ้นมาอีกจะไดใชมาตรการดังกลาวตอสูกับปญหา เพื่อลดความสูญเสีย นั้นคือ “การแกไข” ถาใครเคยทํางานกับโรงงานที่มีความเสี่ยงสูง ก็จะคุนเคยกับคําวา “Prefire Plan” ดี ก็ใชหลัก การเดียวกันคือ ใหเปนเปนคนมองโลกในแงราย โดยมองวามีโอกาสเกิดปญหา เชน ไฟไหม ระเบิด หรือ ก าซรั่ ว ตามจุ ด ต างๆ แล ว พิ จ ารณาที ล ะจุ ด ว า ถ าเกิ ด กรณี ดั งกล าวจะระดมทรั พ ยากร คน อุปกรณตางๆ เขาระงับเหตุเชนใด กลับมาที่การประเมินความเสี่ยง โดยใชเครื่องมือแตละตัวที่เรา ถนัด กับปญหาที่ยกมา จะเห็นวา ทุกเครื่องมือ การประเมินความเสี่ยง 6 เครื่องมือ จะใหเรากําหนด 2 หัวขอ ดังนี้ มาตรการปองกัน / ควบคุมอันตราย และ ขอเสนอแนะ มาตรการปองกัน / ควบคุมอันตราย เปนมาตรการที่มีอยูเดิมในองคกร เพื่อปองกันมิใหเกิด ความเสี่ยงที่ไดประเมินมา ซึ่งอาจจะแตกประเด็นใหพิจารณาวา ควรจะมาจากอะไรบาง ก็อาจกลับ ไปพิจารณาที่มาของ Root Cause แตละตัว คือ 4 M (Man, Machine, Material และ Method) โดย - Man : อาจดูจากกําหนด Qualification ของคนในตําแหนงทํางานนั้น หรือ พิจารณาจัด อบรมใหมีความรูเพื่อปฏิบัติงานนั้นๆ - Machine : ดูจากการกําหนดการออกแบบเครื่องจักร หรือ มาตรการบํารุงรักษาเครื่องจักร เพื่อคงสภาพและสมรรถนะใหดีที่สุด ทั้งนี้ใหรวมไปถึงอุปกรณปองกัน อุปกรณควบคุม และอุปกรณเพื่อความปลอดภัยตางๆ

* ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน) ** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

- Method : กําหนดจากระเบียบ / วิธีก ารปฏิบั ติงานที่ใชในการควบคุม การทํางานหรือ เครื่องจักรในจุดนั้นๆ ทั้งที่เปนเอกสารหรือไมเปนเอกสาร ซึ่งการเปนเอกสารก็จะดีกวา เพราะคอนขางทําใหเชื่อถือไดวามีระเบียบวิธีการปฏิบัติงานนั้นจริง สื่อสารไดงาย และ รวมไปถึงสามารถเก็บไวตรวจสอบหรือสื่อสารใหคนรุนตอๆ ไป - Material : คงจะมองไปที่วัสดุ เครื่องใชตางๆ ที่นําไปใชตองใหเหมาะสมกับงานนั้นๆ เฉพาะมาตรการปองกันที่มีอยูเดิมจากมุมมอง 4 M ขางตน และมุมมองในการแกไขที่มีอยู ให กําหนดลงในชอง “มาตรการปองกันและควบคุมอันตราย” แตสวนที่ขาดอยูและนาจะนํามาเพิ่มเติม รวมกับมาตรการที่มีอยูเดิม เพื่อเพิ่มพลังในการปองกันและแกไขปญหา ก็นํามาใสในชอง “ขอเสนอ แนะ” ขั้นตอนดําเนินการตอไปคือ การกําหนดแผนงานดานความปลอดภัย ซึ่งประกอบดวย แผน ควบคุมความเสี่ยงและแผนลดความเสี่ยง ลองมาปรับแนวความคิดใหตรงกันดังนี้ 1. แผนควบคุมความเสี่ยง มองจากมาตรการทั้งปองกันและแกไขที่มีอยูเดิม นับเปนของดีที่ มีอยู ฉะนั้น ก็ควรจะรักษาไวใหมีอยูตลอดไป และใหดึงมาตรการที่มีอยูในชอง “มาตรการปองกัน ควบคุม และแกไข” มากําหนดเปนแผนงานควบคุมความเสี่ยง โดยกําหนดผูรับชอบ เพื่อกําหนดให ดําเนินการเชนนั้นอยางตอเนื่อง - กําหนดหัวขอเรื่องที่ผูรับผิดชอบตองดําเนินการ - หลักเกณฑ มาตรฐานที่ควบคุม - ผูตรวจ ติดตาม เพื่อตรวจติดตาม ผูรับผิดชอบดําเนินการตามความถี่กําหนด หวังวามาตรการที่มีอยูจะไมหายไปไหน มั่นใจวามีการควบคุมการดําเนินการใหเปนอยาง นั้นตลอดเวลา มีคําที่ดูยุงๆ อยู 2 คํา คือ คําวา “วัตถุประสงค” และ “เปาหมาย” โดย วัตถุประสงค : หมายถึงสิ่งที่คิดวาจะดําเนินการหลังจากอานชื่อความเสี่ยง ความคิดแรกที่ อานชื่อความเสี่ยงและนึกถึงวาจะทําอยางไรกับมัน นั่นแหละครับคือ วัตถุ ประสงค ซึ่งจะเปนทิศทางกวางๆ ในการดําเนินการ เปาหมาย : หมายถึง จุดที่จะไปถึง ซึ่งตองวัดความสําเร็จได บางทานอาจบอกวา เปา หมายตอง “SMART” คือ S = Specific : เฉพาะเจาะจง

* ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน) ** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

M = Measurable : วัดได A = Acceptable : ยอมรับได R = Realistic : เปนจริงและไปถึงได T = Timeframe : มีกําหนดเวลาแลวเสร็จ แตในเรื่องของแผนควบคุมความเสี่ยง เปนการกําหนดสิ่งที่เปนมาตรการที่มีอยูแลวใหชัด เจนยิ่งขึ้นทันที ดังนั้น วัตถุประสงค จะเปนทิศทางกวางๆ ที่สอดคลองกับความเสี่ยง เปาหมาย คือ สิ่งที่ตองการใหเปนและวัดได โดยสอดคลองกับวัตถุประสงค เชน ความเสี่ยง : อันตรายจากแอมโมเนียรั่วไหล วัตถุประสงค : ลดโอกาสเกิดแอมโนเนียมรั่วไหลสูพนักงาน และชุมชนโดยรอบ เปาหมาย : จํานวนครั้งแอมโมเนียรั่วไหลเปนศูนย มาตรการ : 1. แผนการตรวจสอบการรั่วไหลตามจุดตอและอุปกรณ (Leak Survey) 2. ตรวจสอบการทํางานของวาลวระบายแรงดัน มาตรการนี้ไมจําเปนตองมีกําหนดแลวเสร็จเพราะมีอยูในปจจุบันอยูแลว 2. แผนลดความเสี่ยง เปนการกําหนดมาตรการปองกัน/แกไข เพิ่มเติมใหครบถวน เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการจัดการกับความเสี่ยงนั้นๆ โดยกําหนดจากขอเสนอแนะที่ไดกําหนดขึ้น ขอเสนอ แนะดังกลาวเปนไดทั้งการปองกัน/แกไข เชนเดียวกับแผนควบคุมความเสี่ยง แตแตกตางกันตรง มาตรการในแผนลดความเสี่ยงเปนสิ่งที่ไมมีอยูเดิม การกําหนดวัตถุประสงค/เปาหมาย ดังนี้ วัตถุประสงค : เปนทิศทางการดําเนินการกวางๆ ที่สอดคลองกับความเสี่ยงและขอเสนอ แนะในการปรับปรุง ยิ่งขอเสนอแนะชัดเจนมากเทาใด ก็ใหเขียนวัตถุ ประสงคใหชัดเจนเทานั้น แตถาขอเสนอแนะมีหลายๆ ขอ ก็ใหเราเขียนวัตถุ ประสงคไดกวางๆ เปาหมาย : อธิบายวัตถุประสงคใหชัดเจนขึ้นพรอมกําหนดแลวเสร็จแนนอน ซึ่ง กําหนดเวลาหลังมาตรการที่ชาที่สุดที่จะจัดทําขึ้น เชน

ความเสี่ยง วัตถุประสงค 1 เปาหมาย วัตถุประสงค 2 เปาหมาย

: อันตรายจากการใชเชื้อเพลิงหุงตม : กําหนดแผนการตรวจสอบอุปกรณในระบบเชื้อเพลิง : แผนการตรวจสอบอุปกรณระบบเชื้อเพลิงแลวเสร็จ ธันวาคม 2545 : กําหนดมาตรการปองกันการเกิดเชื้อเพลิงรั่วไหล/ไฟไหม : มาตรการปองกัน/แกไขการเกิดเชื้อเพลิงรั่วไหล/ไฟไหมแลวเสร็จภายใน ธันวาคม 2545

* ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน) ** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

มาตรการ

1. จัดทําแผนการตรวจสอบอุปกรณ 2. จัดทําแผนตรวจสอบพื้นที่ 3. กําหนดการตรวจสอบการรั่วไหล 4. กําหนดปายหามทําใหเกิดประกายไฟ 5. ออกระเบียบคําสั่งเขตหามสูบบุหรี่

ลองดูตัวอยางการประเมินความเสี่ยงและการกําหนดแผนควบคุมความเสี่ยง แผนลดความ เสี่ยง ในการขนยายแอมโมเนียจากรถบรรทุก โดย Tank Car สงใหกับบริษัท เพื่อจัดเก็บไวใชใน ระบบทําความเย็น ซึ่งอาจมีแอมโมเนียรั่วไหลสูภายนอกกระทบตอพนักงานหรือชุมชนโดยรอบ ไอแอมโมเนียรั่วไหล

การขนสงจากรถรั่วไหล

ระบบทอ/ถังจาก รถมีจุดรั่วไหล

การเติมจากรถรั่วไหล

รถเกิดอุบัติเหตุ รั่วไหล

ตอขอตอเขา ถังไมแนน

การจัดเก็บรั่วไหล

ไมไดตอทอ Vent ไปที่รถ

ทอ/จุดตอรั่วเนื่อง จากเสื่อมสภาพ

เดินปมเติมเร็ว เกินไป ลืม รถเกิดอุบัติเหตุ เฉี่ยวชน

ไมมีระเบียบ ปฏิบัติงาน

ทอ/จุดตอรั่วเนื่อง จากเสื่อมสภาพ

ทอหรือ/ถัง ชํารุด

เดินปมดวย อัตราไหลสูงไป

วาวลปลอด ภัยทํางาน

น้ําในบอ Basin แหง

อันตรายจากแอมโมเนียรั่วไหลขณะขนสง/จัดเก็บและเคลื่อนยาย * ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน) ** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

/ถังชํารุด เสื่อมสภาพ

ผลการศึกษา วิเคราะห และทบทวนการดําเนินงานในโรงงานเพื่อการชี้บงอันตรายและการ ประเมินความเสี่ยงดวยวิธี Fault Tree Analysis ในพื้นที่/เครื่องจัก/กระบวนการผลิต/ขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน/กิจกรรมของระบบทําความเย็นที่ใชแอมโมเนียเปนสารทําความเย็น โดยมีสถานการณ จําลองของเหตุการณที่อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุรายแรงขณะทําการขนสง จัดเก็บ และเคลื่อนยาย สาเหตุที่ทําใหเกิดเหตุ อันตรายหรือผลที่ การณที่อาจกอใหเกิด เกิดขึ้นตามมา อุบัติภัยรายแรง -ทอ/ถังแอมโมเนีย -แอมโมเนียรั่ว จากรถบรรทุกสภาพ ไหลสูภายนอก ไมดีมีการรั่วไหล -อันตรายสูส ิ่งแวด ลอม/ชุมชน

-รถบรรทุกเกิดอุบัติ เหตุเฉี่ยวชนทอ/ถัง ของรถชํารุด

-ถังแอมโมเนียชํารุด

-ขณะเติมแอมโน เนียเขาถังโดยตอขอ ตอไมแนน -ระบบทอหรือขอตอ ชํารุด ………………….. …………………. ………………….. ………………….

มาตรการปองกัน และควบคุมอันตราย

ขอเสนอแนะ

การประเมินความเสี่ยง โอกาส ความ ผล ระดับ รุนแรง ลัพธ ความเสี่ยง 3 2 6 2

-มีระเบียบปฏิบัติงาน ตรวจสภาพรถ การเติมแอมโมเนีย กอนเขาโรงงาน - มีการใชอุปกรณ ปองกันสวนบุคคล -ตรวจสอบพื้นที่ทุก 4 ชั่วโมง -กําหนดเสนทาง 3 เดินรถและจุดจอด -สํารวจพื้นที่และ แกไขในจุดที่มี โอกาสเกิดอุบัติ เหตุเฉี่ยวชน -บํารุงรักษาเชิง 2 ปองกันถัง แอมโมเนีย -ตรวจสอบการรั่ว ไหลในระบบทอ/ จุดตอ -ตรวจสอบขอตอ 3 ตางๆ ใหแนน หนากอนเริ่มเติม แอมโนเนียเขาถัง -บํารุงรักษาเชิง 3 ปองกันทอ/ขอตอ ……………………. ……………….. ……. ……………………. ……………….. …….

3

9

3

3

6

2

2

6

2

2

6

2

……. …….

…… ……

…….. ……..

ตัวอยางแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง (แผนงานควบคุมความเสี่ยง) โดยฝายบํารุงรักษา วัตถุประสงค: เพื่อปองกัน ควบคุม และลดความรุนแรงจากการเกิดแอมโมเนียรั่วไหลจากการขนสง /จัดเก็บ และเคลื่อนยาย เปาหมาย: ใหจํานวนครั้งการเกิดแอมโมเนียรั่วไหลเปนศูนย * ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน) ** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

ลําดับ มาตรการหรือกิจกรรม การดําเนิน ผูรับผิดชอบ ที่ งาน เพื่อลดความเสี่ยง หรือขั้นตอน การปฏิบัติที่เปนความเสี่ยง 1 ตรวจสภาพรถกอนเขาโรงงาน จป.หัวหนางาน - ตัวถัง - ทอไอเสีย - ยาง - สภาพทั่วไป 2 กําหนดเสนทางเดินรถในโรงงาน จป.หัวหนางาน

3

ระเบียบการปฏิบัติงานการเติม แอมโมเนีย

พนักงานคลังวัตถุ ดิบ

หัวขอเรื่องที่ควบคุม หลักเกณฑ/มาตร ฐานที่ควบคุม -สภาพรถตามราย การกําหนด -เสนทางที่รถใช

-รายละเอียดใน ระเบียบปฏิบัติงาน

-สภาพรถตองอยู ในเกณฑกําหนด กอนเขาโรงงาน -รถที่เขามาใน โรงงานใหใช เสนทางตามที่ กําหนด -มีการดําเนินการ ตามรายละเอียด ระเบียบปฏิบัติ งานครบถวน

ผูตรวจติดตาม

จป.หัวหนางาน

จป.หัวหนางาน

หัวหนาแผนกคลัง วัตถุดิบ

แผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง (แผนงานลดความเสี่ยง) โดยฝายบํารุงรักษา วัตถุประสงค: เพื่อจัดเตรียมมาตรการปองกันและลดความรุนแรงจากการเกิดแอมโมเนียหกรั่วไหล เปาหมาย: มีมาตรการปองกันและควบคุมความรุนแรงแอมโมเนียรั่วไหล ภายใน 31 พ.ค. 2546 ลําดับที่ 1. 2. 3.

4. … …

มาตรการ/กิจกรรม/การดําเนินงาน ลดความเสี่ยง กําหนดการตรวจสภาพกอนอนุญาตเขา โรงงาน กําหนดเสนทางเดินรถและจุดจอด เพิ่มเติมระเบียบปฏิบัติการเติมแอมโมเนีย ใหมีการ -ตรวจสอบขอตอใหแนนหนา -กําหนดแบบตรวจสอบและตรวจสอบ ตามแบบที่กําหนด ติดตั้งวาลวเติมน้ําอัตโนมัติเพื่อคุมระดับ ในบอ (Water Basin) ……………………………………… ………………………………………

ผูรับผิดชอบ

ระยะเวลาดําเนินการ

ผูตรวจติด ตาม จป.วิชาชีพ

จป.หัวหนางาน

1-15 กพ. 46

จป.หัวหนางาน พนักงานคลังวัตถุดิบ

1-15 กพ. 46 1-30 มค. 46

จป.วิชาชีพ หัวหนา แผนกคลัง วัตถุดิบ

วิศวกรเครื่องกล

15-30 มี.ค. 46

…………………… ……………………

………………….. …………………..

หัวหนาฝาย วิศวกรรม …………. ………….

หมายเหตุ

ทายนี้ ขอสรุปขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงตั้งแตตนจนจบทั้ง 6 ตอน เพื่อใหเห็นภาพ รวมอีกครั้ง ดังนี้

* ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน) ** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

1. รวบรวมขอมูลพื้นฐานที่ใชในการประเมินความเสี่ยง เชน Process Flow Diagram (PFD), Piping / Instrument Diagram (PID), Material Safety Data Sheet (MSDS), Plot Plan, กฎหมายที่เกี่ยวของและขอมูลจําเปนอื่นๆ 2. ประเมินความเสี่ยงเบื้องตน (Preliminary Hazard Analysis : PHA) โดยประเมินจาก กระบวนการ เครื่องจักร และวัตถุดิบ 3. ตรวจสอบระดับอันตราย ถารุนแรง (Major Hazard) นํามากําหนดการประเมินความ เสี่ยง 4. ประเมินความเสี่ยงโดยใชเครื่องมือประเมินใน 6 แบบ ที่ใหเลือก 5. จัดทําแผนการควบคุม / ลดความเสี่ยง 6. สรุปผลการดําเนินการ อยางที่กลาวไวครับวา ความสําเร็จคือ เรารูวาเรายืนอยูบนกองความเสี่ยงอะไรบาง และหา ทางกําหนดแนวทางการควบคุมโดยมาตรการที่มีอยู และปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยงจากการเพิ่มเติม มาตรการที่จําเปน โดยความสําเร็จหลักจะเกิดจาก การมีขอมูลในรายละเอียดที่เพียงพอ และใชผูมี ความรู 3 ดาน คือ ความรูในกระบวนการผลิตในเชิงวิศวกรรม ความรูดานความปลอดภัย และความ สามารถใชเครื่องมือการประเมินความเสี่ยง

* ผูจัดการสวนความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม บริษัท ปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน) ** วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

Related Documents

Risk 6
November 2019 6
6 Country Risk
June 2020 17
Risk
December 2019 37
Risk
May 2020 24
Risk
November 2019 28