Research Design

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Research Design as PDF for free.

More details

  • Words: 836
  • Pages: 31
การออกแบบการวิจัย Research design รศ.ดร.วรวุฒิ โรมรัตนพันธ์ 2550

1

ความหมาย • การออกแบบการวิจยั เป็นสิ่งที่เชื่อมโยงกิจกรรมต่าง ๆ ของงานวิจยั ที่จะต้องทำาในแต่ละขั้นตอนและระหว่างขั้นตอนเข้าด้วยกัน ประเด็นการวิจัย

แนวคิดการวิจยั

การก่อตั้งกลุม่ ออมทรัพย์

แนวคิดการมีส่วนร่วม

การเกิดของกลุ่มป่าชุมชน

แนวคิดเชิงนิเวศ

2

ความหมาย • การออกแบบการวิจยั เป็นสิ่งที่เชื่อมโยงกิจกรรมต่าง ๆ ของงานวิจยั ที่จะต้องทำาในแต่ละขั้นตอนและระหว่างขั้นตอนเข้าด้วยกัน ตัวแปร การมีส่วนร่วม รายได้

วิธีการวัด การสังเกต การสอบถาม

3

ความหมาย • การออกแบบการวิจยั เป็นสิ่งที่เชื่อมโยงกิจกรรมต่าง ๆ ของงานวิจยั ที่จะต้องทำาในแต่ละขั้นตอนและระหว่างขั้นตอนเข้าด้วยกัน วิธีการวัด การสังเกต

กลุ่มตัวอย่าง สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์

การสอบถาม

4

การออกแบบวิจยั ประเภทต่าง ๆ • การวิจัยแบบไม่ทดลอง (Non-experimental Design) – การวิจัยเอกสาร – การวิจัยที่ใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว – การวิจัยสนาม Field research) • • • •

การวิจัยแบบตัดขวาง (Cross-sectional design) การวิจัยแบบระยะยาว (Longitudinal design) กรณีศกึ ษา (Case studies) การวิจัยเปรียบเทียบคืบหน้า (Matched prospective design)

5

การออกแบบวิจยั ประเภทต่าง ๆ • การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental Design) • การวิจัยแบบทดลอง (Experimental Design) – การวิจัยทดลองสองกลุ่มวัดหลังทดลอง – การวิจัยทดลองสองกลุ่มวัดก่อนและหลังทดลอง – การวิจัยทดลองสองกลุ่มสุ่มกระจายวัดหลังทดลอง – การวิจัยทดลองสองกลุ่มสุ่มกระจายวัดก่อนหลังทดลอง

6

การวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) • เป็นเทคนิคการวิจัยสำาหรับบ่งชี้คุณลักษณะของข่าวสารอย่างเป็นระบบแ ละเป็นวัตถุวิสัย • การกำาหนดคุณลักษณะเชิงวัตถุวิสัย (objective) เป็นการกำาหนดกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนขึ้น เพื่อให้นักวิจยั คนอื่น ๆ สามารถระบุเนื้อของข่าวสารได้ในลักษณะเดียวกันและตรงกัน • ความเป็นระบบของเทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา คือการกำาหนดเนื้อหาที่รับเอามาหรือไม่รับเอามา ด้วยการใช้เกณฑ์ที่ชัดเจนแน่นอน คงเส้นคงวา • เป็นวิธกี ารสกัดเอาสาระสำาคัญที่ปรากฏอยู่ในเอสารสิ่งตีพิมพ์หรือข่าวสา รออกมาแจกแจงอย่างมีระบบและเป็นเชิงปริมาณ 7

สาระสำาคัญของการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis)

• เป็นการตอบคำาถามว่า ใครกล่าวอะไร กับใคร กล่าวว่าอย่างไร และเกิดผลอะไรขึ้น (Who says what, to whom, how, and with what effect?) • การวิเคราะห์เนื้อหา จึงเป็นการวิเคราะห์ข่าวสารเพื่อทดสอบสมมติฐานวิจยั ว่า – คุณลักษณะของเนื้อหามีลักษณะอย่างไร – อะไรคือสิ่งที่ข่าวสารนั้นมุง่ ให้เกิด – ข่าวสารนั้นทำาให้เกิดผลอะไร

8

วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา 1. 2.

การสุ่มตัวอย่าง (Sampling) หน่วยการสุ่มตัวอย่าง อาจจะเป็นประเภทเอกสาร แหล่งที่เก็บหรือรวบรวมเอกสาร เรือ่ ง หัวข้อเรือ่ ง ย่อหน้า ประโยค หรือคำา นิยามประเภทขอบข่าย (Defining Categories) 1. 2. 3.

สะท้อนวัตถุประสงค์การวิจัย สะท้อนแนวความคิดทีเ่ หมาะสม สอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่ปรากฏในเนื้อหาที่จะวิเคราะห์

9

วิธกี ารวิเคราะห์เนื้อหา (ต่อ) • ตัวอย่าง การวิเคราะห์บทบาทของสตรีในอุดมการณ์ของสังคมไทย วิเคราะห์จากบทบาทนางเอกในหนังสือนิยายในสมัยนั้น 1.ทำาตามความต้องการของสามี 2.อยู่บ้านเฝ้าเรือน 3.แสวงหาความรู้รอบตัวเป็นประจำา 4.ออกนอกบ้านเพื่อช่วยเหลืองานสังคมสงเคราะห์ 5.เล่นการเมือง 6.แสวงหาความเจริญก้าวหน้าในชีวิต 7.เก่งทุกอย่าง ๆ ละเล็กละน้อย

10

วิธกี ารวิเคราะห์เนื้อหา (ต่อ) หน่วยการบันทึกนับจด (Recording Unit) 1. 2. 3. 4. 5.

คำา หน่วยที่เล็กที่สุดในเนือ้ หา อรรถบท (Theme) หมายถึงประเด็นเรื่องหรือจุดมุง่ หมายของเอกสาร ตัวละคร ใช้ในการวิเคราะห์เนื้อหาที่เป็นหนังสือนิยาย บทละคร ภาพยนตร์ ประโยค หรือย่อหน้า ข้อกระทง (Item) คือเรื่องราวทัง้ หมดของเนื้อหาแต่ละชิน้ ว่าเกี่ยวกับอะไร เช่น คำาสอนศาสนา สงคราม เศรษฐกิจเสรี

11

วิธกี ารวิเคราะห์เนื้อหา (ต่อ) กำาหนดหน่วยของเนื้อเรื่อง (Context Unit) การใช้หน่วยวิเคราะห์อาจไม่มีรายละเอียดเพียงพอ อาทิ การวิเคราะห์เกี่ยวกับ อิทธิพล จำาเป็นต้องระบุวา่ อิทธิพลทางเศรษฐกิจ หรืออิทธิพลทางการเมือง 5. ระบบการจดบันทึก (System of Enumeration) มี 4 วิธี 3. ประเภทขอบข่ายที่กำาหนดไว้ปรากฏในเอกสาร (มี/ไม่มี) 4. ประเภทขอบข่ายที่กำาหนดไว้ปรากฏในเอกสาร (มาก/น้อย) ระบุจำานวน 5. ประเภทขอบข่ายได้ครอบคลุมเนื้อที่ของเนื้อเรื่องมากน้อยเพียงใด (วัดเป็นนิว้ เซนติเมตร คอลัมน์ 6. ความเข้มข้นของเนือ้ หา (1.ศาสนาน่าจะได้รับการสนับสนุนจากรัฐ 2. รัฐต้องสนับสนุนศาสนาไม่ว่าในกรณีใด ๆ) 12

การใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว (Secondary data) • • • • • • •

สำามโนประชากร และสำามโนประเภทอื่น ๆ เอกสาร บันทึกข้อความ จดหมายเหตุต่าง ๆ รายงานการประชุม หนังสือพิมพ์ วารสาร นิยาย บันทึกประจำาวัน จดหมายส่วนตัว 13

ข้อดีของการใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว • สามารถวิจยั เรื่องที่เข้าไม่ถึงแหล่งข้อมูล โดยเฉพาะเรื่องทางประวัติศาสตร์ • ปลอดจากปฏิกิริยาของผู้ตอบ แต่อาจไม่ปลอดจากอคติ • สามารถวิเคราะห์ข้อมูลย้อนหลังได้ (2445 – 2545) • สามารถเลือกตัวอย่างได้มากกว่าวิธอี นื่ ๆ • ข้อมูลไม่เปลีย่ นแปลงตามสิ่งแวดล้อม • สะท้อนความรูส้ ึกของผู้เขียนได้ดีกว่าคำาพูด • ลงทุนน้อยกว่าวิธอี นื่ 14

ข้อเสียของการใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว • ข้อมูลอาจมีอคติ และเขียนขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์บางประการที่ไม่ใช่เพื่อการวิจยั • หาข้อมูลให้สมบูรณ์ตามวัตถุประสงค์การวิจัยได้ยาก • อาจมีนิยามความหมายทีแ่ ตกต่างกับหัวข้อวิจัย • มีรูปแบบทีไ่ ม่แน่นอน ยากต่อการประมวลและกำาหนดรหัส

15

แหล่งข้อมูลจากเอกสาร • รายงานสถิติ เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ • เอกสารส่วนตัว (ประวัติ จดหมาย บันทึกประจำาวัน เรียงความ บทความ) • เอกสารประวัติศาสตร์

16

การวิจัยสนาม Field research) • การวิจัยแบบตัดขวาง (Cross-sectional design) เป็นการวิจยั ทีผ่ ู้วิจยั ทำาการเก็บข้อมูลเพียงครัง้ เดียวจากหลาย ๆ หน่วยศึกษา (Units of study) แล้วนำาข้อมูลเหล่านั้น มาหาความแตกต่างหรือความสัมพันธ์ระหว่างกัน • การวิจัยแบบระยะยาว (Longitudinal design) เป็นการวิจยั ทีม่ ีการเก็บข้อมูลจากประชากรกลุ่มเดียวมากกว่าหนึ่งครั้ง แล้วนำาข้อมูลที่ได้มาศึกษาเปรียบเทียบกัน 17

การออกแบบการวิจัยแบบระยะยาว (Longitudinal design) • การออกแบบการวิจัยระยะยาวที่อาศัย ตัวอย่างกลุ่มเดียว การเก็บข้อ การเก็บข้อ การเก็บข้อ การเก็บข้อ การเก็บข้อ มูลครัง้ ที่ 1 มูลครัง้ ที่ 2 มูลครัง้ ที่ 3 มูลครัง้ ที่ 4 มูลครัง้ ที่ 5 ตัวอย่างชุดเ ตัวอย่าง ก ตัวอย่าง ก ตัวอย่าง ก ตัวอย่าง ก ตัวอย่าง ก ดียว

18

การออกแบบการวิจัยแบบระยะยาว (Longitudinal design) • การออกแบบการวิจัยระยะยาวที่อาศัย ตัวอย่างหลายกลุม่ การเก็บข้อ การเก็บข้อ การเก็บข้อ การเก็บข้อ การเก็บข้อ มูลครัง้ ที่ 1 มูลครัง้ ที่ 2 มูลครัง้ ที่ 3 มูลครัง้ ที่ 4 มูลครัง้ ที่ 5 ตัวอย่างหล ตัวอย่าง ก ตัวอย่าง ข ตัวอย่าง ค ายชุด

ตัวอย่าง ง

ตัวอย่าง จ

หมายเหตุ ตัวอย่างแต่ละชุดต้องทดแทนกันได้ 19

การออกแบบการวิจัยแบบระยะยาว (Longitudinal design) • การออกแบบการวิจัยระยะยาวแบบผสม การเก็บข้อมูลครัง้ ที่ 1

การเก็บข้อมูลครั้งที่ 2

ตัวอย่าง ก1

ตัวอย่าง ก2 ตัวอย่าง ข

หมายเหตุ ตัวอย่าง ก1 และ ก2 ต้องทดแทนกันได้ 20

การออกแบบการวิจัยแบบระยะยาว (Longitudinal design) • การออกแบบการวิจัยระยะยาวแบบผสม การเก็บข้อมูลครัง้ ที่ 1

มีกิจกรรมกระตุ้น

การเก็บข้อมูลครัง้ ที่ 2

ตัวอย่าง ก1 ตัวอย่าง ข1 ตัวอย่าง ค1

มี ไม่มี มี

ตัวอย่าง ก2 ตัวอย่าง ข2 ตัวอย่าง ค2

หมายเหตุ ตัวอย่าง ชุด 1 และ ชุด 2 ต้องทดแทนกันได้ 21

กรณีศึกษา (Case studies) • เป็นการศึกษาที่ผศู้ ึกษาเลือกเอา กลุ่มบุคคลใด หรือหมู่บ้านใด หรือเขตอำาเภอใด หรือพืน้ ที่ใดพื้นที่หนึ่งมาทำาการศึกษาอย่างละเอียด – การวิจัยกรณีศึกษาที่มกี ารควบคุม (Case control studies) – การวิจัยแบบจับคู่คืบหน้า (Matched prospective design)

22

การวิจัยกรณีศึกษาที่มีการควบคุม (Case control studies) • เลือกศึกษากลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่มคี ุณสมบัตเิ หมือนกัน ยกเว้นตัวแปรอิสระ จากนัน้ ศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างแปรอิสระและตัวแปรตาม จากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม แล้วนำามาเปรียบเทียบ กลุ่มตัวอย่าง ตัวอย่าง ก ตัวอย่าง ข

ตัวแปรอิสระ ต่างกัน

ตัวแปรตาม เหมือนกัน

การเรียนรู้ด้วยวิธี A และวิธี B

การเกิดทักษะในการใช้ภ าษาอังกฤษ 23

การวิจัยกรณีศึกษาแบบจับคู่คืบหน้า (Matched prospective design)

• เลือกศึกษากลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่มคี ุณสมบัตเิ หมือนกัน ยกเว้นตัวแปรอิสระ จากนัน้ ทำาการเก็บข้อมูลเป็นระยะ เพื่อศึกษาการเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ้นกับกลุ่มหนึง่ และไม่เกิดขึ้นกับอีกกลุ่มหนึง่ กลุ่มตัวอย่าง ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ตัวอย่าง ก ต่างกัน เหมือนกัน ตัวอย่าง ข การเก็บข้อมูลครัง้ ที่ 1 การเป็นสมาชิกกลุม่ ออมทรั ขีดความสามารถในการรัก พย์ และไม่เป็นสมาชิก ษาพยาบาลดีขึ้น การเก็บข้อมูลครัง้ ที่ 2

การเป็นสมาชิกกลุม่ ออมทรั ขีดความสามารถในการรัก พย์ และไม่เป็นสมาชิก ษาพยาบาลดีขึ้น 24

การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental Design) • เป็นการวิจัยที่ผวู้ ิจัยพยายามศึกษากิจกรรมต่าง ๆ ที่กำาหนดขึ้น และมีการติดตามศึกษาดูวา่ กิจกรรมต่าง ๆ เหล่านัน้ มีผลอย่างไร เป็นไปตามเป้าหมายหรือสมมติฐานหรือไม่ ที่เรียกว่า การวิจัยกึ่งทดลอง เพราะผูว้ ิจัยไม่สามารถทำาการควบคุมได้ครบถ้วน การรณรงค์ครั้งที่ 1

การเก็บข้อมูลครัง้ ที่ 1

ดูการเปลีย่ นแปลงครัง้ ที่ 1

การรณรงค์ครั้งที่ 2

การเก็บข้อมูลครัง้ ที่ 2

ดูการเปลีย่ นแปลงครัง้ ที่ 2

เหตุที่เรียกว่า เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพราะประชากรกลุ่มแรกและกลุ่มที่สองอาจไม่ใช่กลุ่มเดียวกันทั้งหมด 25

การวิจัยแบบทดลอง (Experimental Design) • เป็นการวิจัยที่ผวู้ ิจัยต้องการศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติต่อสิง่ ที่ต้องการทดลอ งด้วยการกระตุ้นเพือ่ ก่อให้เกิดการเปลีย่ นแปลง O = Observation

แทนการสังเกตหรือการวัด

X= Experiment

แทนการกระตุ้นหรือการทดลอง

Oij ครั้งที่ I ของกลุม่ j

Q11 หมายถึง การวัดครัง้ ที่ 1 ของกลุ่มที่ 1

R= Randomization การสุ่มตัวอย่างแบบกระจาย

26

การวิจัยทดลองสองกลุ่มวัดหลังทดลอง X

O11 O12

การวิจยั ที่วัดผลของการปฏิบัติต่อกลุม่ ตัวอย่าง 2 กลุม่ โดยมีกลุม่ หนึ่งได้รบั การกระตุ้นแล้ว

27

การวิจัยทดลองสองกลุ่มวัดก่อนละหลังทดลอง O11 O12

X

O21 O22

การวิจยั จะมีการวัดก่อนว่า O11 และ O12 แตกต่างกันหรือไม่ (ไม่ควรแตกต่างกัน) เมื่อมีการกระตุ้นแล้ว จะวัดผลหลังการทดลองว่า O21 และ O11 ต่างกันหรือไม่ (ทีส ่ ำาคัญ ความต่างระหว่าง O22 กับ O12 ควรจะน้อยกว่าความต่างระหว่าง O11 กับ O21 ) ข้อควรระวัง อัตราการเติบโตระหว่าง O11 และ O12 ไม่ควรจะมีอัตราที่แตกต่างกัน เพราะจะส่งผลต่อผลการทดลอง (หลังการทดลอง)

28

การวิจยั ทดลองสองกลุ่มสุ่มกระจายวัดหลังทดลอง R R

X

O11 O12

การวิจยั จะมีการสุ่มแบบกระจาย แล้วมีการกระตุ้น จากนั้นจะวัดว่า O11 และ O12 แตกต่างกันหรือไม่ ข้อควรระวัง อัตราการเติบโตระหว่าง O11 และ O12 ไม่ควรจะมีอัตราที่แตกต่างกัน เพราะจะส่งผลต่อผลการทดลอง (หลังการทดลอง) 29

การวิจัยทดลองสองกลุ่มสุ่มกระจายวัดก่อนและหลังทดลอง R

O11 O12

X

O21 O22

การวิจยั จะมีการสุ่มแบบกระจาย แล้วมีการวัดระหว่าง O11 และ O12 ก่อน จากนั้นจะทำาการกระตุ้น แล้วจะวัดว่า O11 และ O12 แตกต่างกันหรือไม่ ข้อควรระวัง อัตราการเติบโตระหว่าง O11 และ O12 ไม่ควรจะมีอัตราที่แตกต่างกัน เพราะจะส่งผลต่อผลการทดลอง (หลังการทดลอง) 30

ความถูกต้องของการออกแบบการวิจัย

ประวัตแิ ละเหตุการณ์ที่เกิดขึ้ ระหว่างการศึกษาหรือการวัดแต่ละครั้ง น ความเติบโต กระบวนการที่ตัวอย่างเปลี่ยนไปตามกาลเวลา อาทิ แก่มากขึ้น หิว เหนื่อยมากขึ้น ปฏิกริ ิยาที่เกิดจากการวัด วัดครัง้ แรกอาจมีผลต่อการวัดครั้งต่อไป อุปกรณ์/เครื่องมือในการใช้ เกิดการเปลี่ยนแปลง อาทิ วัด ทดลองครั้งแรกทำาให้การทำาครั้งต่อไปเหนือ่ ยล้า การถดถอยทางสถิติ เกิดความคาดเคลื่อนทางสถิติ ไม่ใช่จากการทดลอง วิธีการคัดเลือก

ความคาดเคลือ่ นจากการเลือกตัวอย่าง

การสูญเสียประชากร

เกิดการสูญเสียประชากรระหว่างการศึกษา

ปฏิกริ ิยาระหว่างการคัดเลือก ประชากรมีปฏิกิริยา (เติบโต) ไม่ใช่ผลการทดลอง /ความเติบโต

31

Related Documents

Research Design
November 2019 14
Research Design
June 2020 12
Research Design
May 2020 19
Research Design
April 2020 14
Research Design
November 2019 16
Research Design
May 2020 4