บทความนี้เปนสวนที่ตัดตอนมาจากบทความเต็ม ในบทความเรื่อง “รถไฟไทย” โดยผูเขียน นามวา “ปอน ประพันธ” ซึ่งลงตีพิมพในนิตยสาร ศิลปวัฒนธรรม ลําดับที่ ๓๒๙ ปที่ ๒๘ ฉบับที่ ๕ เดือนมีนาคม ๒๕๕๐
[email protected] ขอขอบคุณผูรวมดวยชวยกันพิมพบทความนี้ คุณรุงโรจน ดีกองเสียง e-mail :
[email protected] คุณอนุชนา ปะติเส e-mail :
[email protected]
ประวัติการสรางทางรถไฟที่นาสนใจในสมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี และเปนผูบัญชาการทหารสูงสุด ไดมีการตกลงที่จะสรางทางรถไฟตามความประสงคของกองทัพญี่ปุน ที่ เรียกตามภาษาทางการวา ทางรถไฟสาย ไทย-พมา แตโลกรูจักในนามทางรถไฟสายมรณะ เนื่องจากผูใช แรงงานสวนใหญเปนเชลยศึก ออสเตรเลียและยุโรป อีกสวนหนึ่งเปนกรรมกร ชาวมลายู ชวา จีนและแขก ไดสูญเสียชีวิต ไปเปนจํานวนมาก ทางรถไฟจากไทยไปพมาในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ ยุคที่เรียกกันวา “ญี่ปุนขึ้น” ญี่ปุนหรือ กองทัพลูกพระอาทิตยยกพลขึ้นบกในประเทศไทยนัน้ มีอยู ๒ เสนทาง สายแรกคือสาย ไทย-พมา ที่แยก จากสถานีหนองปลาดุก จังหวัดราชบุรี ปลายทางอยูที่ดา นเจดียสามองค ไปตอกับสถานี Than Bazar ใน พมาที่จังหวัดมะละแหมง (Moulmein) สายที่ ๒ จากสถานีชุมพร ไปถึงระนองถึงบานน้ําอุน และกองทัพญี่ปุนเตรียมจะใชการขนสง ทางเรือไปขึ้นที่เกาะสองเขามะละแหมง (Moulmein) เพื่อตั้งเปนกองบัญชาการเพื่อยึดพมาและอินเดีย ตอไป (สําหรับเรื่องราวของทางรถไฟสายชุมพร-ระนอง ผมไดเขียนเลาไวหนหนึ่งไวในวารสาร ศิลปวัฒนธรรม) เรื่องราวของการสรางทางรถไฟ-พมา ที่นํามาเรียบเรียงประกอบเรื่องรถไฟไทยในปนี้ ไดจาก เอกสารที่พันเอกแสง จุละจาริตต ผูวาการรถไฟฯ ในระหวางป พ.ศ. ๒๕๑๔ ไดมอบหมายใหคุณประสงค นิโครธา รวบรวมและเรียบเรียงเอาไวอยางละเอียด และผมบังเอิญไดมีเก็บไวมาตัดตอและลําดับความ เพิ่มเติม จากความประทับใจเปนสวนตัวอีกทีหนึ่ง ดวยคิดเอาเองวาถาไมนํามาถายทอดเอาไวนานไปจะ ละลืมได หากผิดพลาดในขอเท็จจริงประการใด ขอใหเปนความผิดพลาดของผมเอง ทราบกันอยูแลววา เมื่อวันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๘๔ กองทัพญี่ปุนไดยกพลขึ้นบกในประเทศไทยหลายเสนทางดวยกันเชน สงขลา ชุมพร นครศรีธรรมราช ประจวบคีรีขันธ สวนมากเปนหัวเมืองปกษใต ตอมาเมื่อวันที่ ๙
ธันวาคม พ.ศ.๒๔๘๔ ฯพณฯ จอมพล แปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีและผูบ ัญชาการทหารสูงสุด ในเวลานั้น ไดตกลงสงบศึกกับกองทัพญีป่ ุน ยอมใหกองทัพญี่ปุน ใชจุดแวะเพื่อเดินทัพไปยึดพมา ซึ่ง ตอนนั้นพมาอยูภายใตการปกครองของอังกฤษ กองทัพญี่ปุนไดกําหนดแผนยุทธการไวอยางดีแลวจึงกําหนดทีจ่ ะสรางทางรถไฟตอจากไทยไป พมา รวม ๒ เสนทาง คือ จากภาคกลางและภาคใตไปรวมศูนยที่ จังหวัดมะละแหมง ประเทศพมา เพื่อ เดินหนาเขาพมา และอินเดียตอไป เวลานั้น จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ในฐานะ ผูบัญชาการทหารสูงสุด เปนผูนําสูงสุดฝายไทย และ พลโท อาเกโตะ นากามูระ เปนผูบ ัญชาการกองทัพญี่ปุนในประเทศไทย ไดทําความตกลงตั้ง คณะกรรมการผสมไทย – ญี่ปุน เพื่อหารือในขอราชการที่จะสรางทางรถไฟสาย ไทย-พมา โดยประชุม ครั้งแรกเมื่อ วันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๕ ณ ที่ทําการคณะกรรมการผสมไทย – ญี่ปุน สนามเสือปา ตรงขามวัดเบญจมบพิตรฯ ครั้งแรกนี้ คณะกรรมการฝายไทยไดประชุมกันเอง มี พันเอก เชย พันธุเจริญ เปนประธาน กรรมการสรางทางรถไฟทหาร ร.ท. ดํา ปทมดิสต ม.จ. ทองคําเปลว ทองใหญ กรรมการพิจารณาสราง ทางรถไฟ พ.ท.ม.จ. พิสิษฐดิสพงศ ดิศกุล หัวหนากองอํานวยการผสมฯ และ พ.ต.ม.จ. ประเสริฐศรี ชยางกูร ประจํากองอํานวยการผสมฯ คณะกรรมการฝายไทยชุดนี้ ไดประชุมเพื่อหารือขอเสนอของกองทัพญี่ปุนที่ตองการสรางทาง รถไฟสาย ไทย-พมา สวนใหญเปนเรื่องการอํานวยความสะดวก และ เรื่องคาใชจาย เรื่องกรรมสิทธิ์ ที่ดินในเสนทางที่รางรถไฟตัดผาน การวาจางแรงงาน สิทธิครอบครองหลังจากทางรถไฟเลิกใช แลว สวนใหญเจาหนาที่ฝายรับหลักการ และไดประชุมครั้งสําคัญอีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ เปนคณะใหญรวมกันระหวางฝายไทยกับญี่ปุน ตัวแทนฝายไทย ประกอบดวย ๑. พ.ต. ควง อภัยวงศ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ๒. พ.ท. ไชย ประทีปะเสน รองปลัดกระทรวงตางประเทศ ในฐานะกรรมการผสมไทย – ญี่ปุน ๓. พ.อ. เชย พันธุเจริญ กรรมการ ๔. พ.ท. นพ เกตุนุติ กรรมการ ๕. นาย สิทธิ์ บรรณสารประสิทธิ์ กรรมการ ๖. ม.จ. ทองคําเปลว ทองใหญ กรรมการ ๗. ร.ท. ดํา ปทมดิสต กรรมการ ๘. พ.ท. อาจ พิชเยนทรโยธิน เจาหนาทีก่ รมรถไฟ ๙. ม.ล. จรัญ สนิทวงศ เจาหนาที่กรมรถไฟ ๑๐. พ.ท.ม.จ. พิสิษฐดิสพงศ ดิศกุล หัวหนากองอํานวยการผสมฯ ๑๑. พ.ต.ม.จ. ประเสริฐศรี ชยางกูร ประจํากองอํานวยการผสมฯ
ฝายญี่ปนุ ประกอบดวย ๑. พล.ต. เซจิ โมริยา ผูแทนกองทัพญี่ปนุ ๒. พ.ต. ซึเงะ ๓. พ.ต. อิริเจ ๔. พ.ต. ชิรางาอิ ๕. ร.ท. นากามูระ ๖. ร.ต. ฮริฮารา ๗. นาย การาฮาวา ๘. นาย มิตานี ในประชุมครั้งนี้ไดมีการถกเถียงกันพอสมควรทางดานธุรการและทางดานเทคนิค แรกทีเดียว ทางฝายไทยจะสรางเอง แตอยูการควบคุมของญี่ปุน แตญี่ปุนตองการใหสรางเสร็จเร็วประมาณ ๑ ป เพราะจําเปนตองใช ทางญีป่ ุนไดตัดสินใจอีกครั้งวา ทางญี่ปุนจะใชหนวยทหารที่มีความชํานาญในการ สราง รวมทัง้ นายชางผูมีความเชี่ยวชาญที่ญี่ปุนมีพรอมอยูแลว เพื่อใหมั่นใจวาจะสามารถที่จะสรางเสร็จ โดยเร็ว ปญหาใหญอกี เรื่องหนึ่งคือ เมื่อสรางเสร็จแลวทางรถไฟจะตกเปนของใคร ซึ่งฝายญี่ปุนบอกวา ฝายญี่ปุนจะเปนฝายใชตามเวลาสมควร แลวยกใหฝายไทย ที่สุดในการประชุมครั้งนี้ยงั ตกลงกันไมได การถกเถียงสวนหนึ่งในประชุมครั้งนี้ คุณประสงค โคธรา ไดบันทึกรายละเอียดเอาไวดว ย จึง คิดวานาจะนํามาบันทึกไวเปนประโยชนแกผูที่สนใจ จึงไดตัดตอนมาสวนหนึ่งดังนี้ ฝายไทย – ปญหาเรื่องการสรางทางรถไฟนี้ เรามีความเห็นเดียวกับทานคือ เมื่อกองทัพญี่ปุนเปน ผูตองการใชกจ็ ัดสราง แตการสรางทางรถไฟในเมืองไทย ก็ตองเปนของไทยไมมีปญ หา จะเปนของใคร ไมไดเพราะขัดตอกฎหมายชัดอยูแลว จึงไมนามีขอของใจอะไร เวนแตจะเปนรถไฟทหาร ไมใชของ เอกชนหรือบริษัทจัดทําก็เปนของทหารรวมกัน อนึ่ง การสรางนั้นฝายญี่ปุนอางวามีความชํานาญกวาเรา ก็ ยอมรับวา เราสรางเสร็จใน ๑ ปไมทัน เพราะถาการเดินทัพตองเสียแผนการไป เพราะการลาชาของเรา แลว ก็อาจโทษเราได จําขอใหทานทําตามประสงค แตในการสรางนี้อาจกระทบกระเทือนถึงประชาชน ที่ทางรถไฟผานเขาไปในที่ของเขาได เพราะทางญี่ปุนทําไปเพือ่ ความรวดเร็ว อาจจะไมคํานึงถึง ประชาชนที่อยูในความรับผิดชอบของรัฐบาลไทยก็ได นายชางญี่ปุนตองยอมรับวาไมรูกฎหมายไทย เรา ตองยอมใหเงินเขาเมื่อเอาทีข่ องเขามา เพราะฉะนัน้ เราตองขอแบงทําตอนหมูชนคือตอนตนทาง ตอไป นั้นใหญี่ปุนทํา ฝายญี่ปนุ – ที่ฝายไทย กลาววา เมื่อเสร็จการยุทธแลว รถไฟที่สรางในประเทศไทยนัน้ จะตกเปน ของไทยนั้น ฉันไมสามารถเขาใจความได ทางที่ดีเราควรจะทําความเขาใจกันในเมื่อเสร็จสงครามแลว ฝายไทย – ขอทราบวารถไฟนี้เปนรถไฟทหารหรือบริษทั ฝายญี่ปนุ – ในระหวางสงคราม รถไฟนี้เปนของทหาร แตเมื่อเสร็จสงครามแลว ญี่ปุนจะถือสิทธิ์ เปนของญี่ปุนเอง หรือจะเปนของบริษัทใด ก็แลวแตจะเห็นควร
การถกเถียงวารถไฟจะเปนของใครนั้น ในที่สุดตกลงกันไมเปนที่ลงเอย แตดูทาทีญี่ปุนออกจะเอา เปรียบ แตเมือ่ เสร็จสงครามและญี่ปุนเปนฝายปราชัยนัน้ องคการสหประชาชาติไดเขามาดูแลทางรถไฟ สายนี้และไดขายใหแกกรมรถไฟหลวงในราคา ๕๐ ลานบาท ในที่สดุ จึงตกเปนของไทย และไดมีการรื้อ ทางรถไฟไปสวนหนึ่งคงเหลือใหมีการเดินรถถึงสถานีน้ําตกอยางที่เปนในปจจุบนั อีกตอนหนึ่งของการประชุมตกลงกันเรื่องการสรางทางรถไฟสายนี้ระหวางไทยกับกองทัพญี่ปุน มีรายละเอียดที่นาสนใจที่ คุณประสงค โคธรา เจาหนาที่การรถไฟไดบันทึกไว เกีย่ วกับฝายไหนจะสราง ชวงไหน ดังนี้ ฝายไทย – เมือ่ ตกลงกันวาเปนรถไฟทหารเชนนั้น ก็สรางได แตเราขอสรางตอนงาย ทานเกงกวา สรางตอนยากเอาหรือไม ฝายญี่ปนุ – ตามที่เสนอแบงตอนสรางนั้น ถาไดลงมือทํางานแลวจะรูสกึ ลําบากและขลุกขลักมาก ฝายไทยไมจําเปนตองสรางก็ได เพียงแตใหความชวยเหลือดานการเวนคืนที่ดิน เครื่องอุปกรณบางอยาง ก็ เรียกวารวมมือเหมือนกัน ฝายไทย – เกรงวาการที่ไปทํานั้นจะพูดกันไมรูเรื่องเทานั้น ทางงานชางไมขัดกันเลย เราทําตอน งาย ทานทําตอนยากก็แลวกัน ฝายญี่ปนุ – ที่นั่นมีทหารอยูม าก เชลยก็มาก เกรงมีเรื่องกันขึ้นนัน้ ทราบแลว แตตอไปพยายามจะ ไมใหเกิดเรื่องขึ้นได และการสรางนี้ ทางฝายญี่ปุนจะไมสรางฝายเดียว ทางฝายไทยก็ไดรวมมือในการ เวนคืนทีด่ ินและชวยทํางานบางอยาง จึงอาจประกาศไดวา ไทยไดรวมมือกับญี่ปุนในการยุทธ ฝายไทย – ไมใชชาวเมืองฝายเราไมชวย แตอยากชวยไมใหมีขอโตเถียงกับราษฎร เดีย๋ วดินไมพอ เที่ยวไปขุดในที่ของเขา ก็จะยุงกันใหญ เราจึงขอทําตอนใน เพราะมีบา นมีนามาก คือตั้งแตหนองปลาดุก ไปจนถึงกาญจนบุรี ไทยทําหมดราว ๖๐ กิโลเมตร ญี่ปุนจะทําสะพานเองก็เอา เราทําทาง ตอไปอีก ๓๐๐ กวากิโลเมตรทานทําก็หมดเรื่อง ฝายญี่ปนุ – จะเสร็จภายใน ๑ ปหรือ ฝายไทย – เสร็จแน ไมเสร็จทําอะไรก็เอา ฝายญี่ปนุ – ใน ๖๐ กิโลเมตร ที่รับทํานั้น ขอใหอยูใ นบังคับบัญชาญี่ปุนจะไดหรือไม ฝายไทย – ขอใหรับหลักการกอนวาจะยอมหรือไม สวนการบังคับบัญชานั้น เราจะจัดการให เรียบรอยเอง ฝายญี่ปนุ – อยากทราบวาจะใชใครสราง ฝายไทย – จะใชใครสรางนั้นไมตองถาม ใหสรางเสร็จไดเปนก็แลวกัน ฝายญี่ปนุ – ตามที่เสนอจะสราง๖๐ กิโลเมตรนั้น ทราบแลว ถามีปญหาทางเทคนิค เจาหนาทีจ่ ะ ดําเนินการรวมไมได เพราะทางรถไฟตอนหลังก็ตองอาศัยทางลําเลียงตอนตน ถาตอนตนเสร็จไมทัน ตอนทายก็ดําเนินการไมได มันเปนเนื่องกันทั้งสาย จึงอยากใหอยูใ นบังคับบัญชาญี่ปุน
ฝายไทย – คนของญี่ปุน ญี่ปุนก็ตั้งมา ไทยก็ตั้งไป นายชางดวยกันถือหลักอันเดียวกัน กองบัญชาการตองรวมกันแน แตตองตกลงเรื่องทําทาง ๖๐ กิโลเมตรกอน ฝายญี่ปนุ – ทางสายนี้เปนของทหารเพือ่ การยุทธ เจาหนาที่ตองเชื่อฟงหรือปรึกษาหารือกับ หนวยรถไฟทหารญี่ปุนกอน การประชุมกันคราวนั้น ตกลงกันไดวาฝายไทยจะสรางทางรถไฟในชวงแรก ๖๐ กิโลเมตร ถึง ตําบลทามะขาม อําเภอเมือง กาญจนบุรี ที่เหลืออีกประมาณ ๓๐๐ กิโลเมตร อันเปนเขตปาเขานั้นฝาย ญี่ปุนจะเปนผูสรางตอ จนถึงสถานีตอเนื่องในเขตประเทศพมาที่ดานพระเจดียสามองค ไดมีขอตกลงไทย-ญี่ปุนเกี่ยวกับการสรางทางรถไฟเชื่อมระหวางไทย-พมา เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๕ โดยมีการลงนามไวเปนสําคัญระหวาง จอมพล ป. พิบูลสงคราม ผูบัญชาการทหารสูงสุด แหงประเทศไทย กับ พล.ต.เซจิ โมริยา ผูแทนฝายกองทัพญี่ปุนประจําประเทศไทย วันรุงขึ้น ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๕ ผูบัญชาการทหารสูงสุดไดเรียกประชุมผูเกี่ยวของ เรื่องการ จัดสรางทางรถไฟทหารอีกครั้ง มีผูเขารวมประชุม ไดแก ๑. จอมพล ป. พิบูลสงคราม ผูบัญชาการทหารสูงสุด เปนประธาน ๒. พลโทมังกร พรหมโยธี รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ๓. พลโทจรูญ เสรีเริงฤทธิ์ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ๔. พ.ต.ควง อภัยวงศ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย ๕. พล.ต.ภักดิ์ เกษสําลี เสธ.ท.สนาม ๖. พ.อ.เชย พันธุเจริญ ประธานกรรมการสรางรถไฟทหาร ๗. ม.จ.ทองคําเปลว ทองใหญ กรรมการจัดสรางทางรถไฟทหาร ๘. พ.ท.ไชย ประทีปะเสน กรรมการผสม ๙. พ.ท.ม.จ. พิสษิ ฐดิศพงศ ดิศกุล หัวหนากองอํานวยการกรรมการผสมฯ ๑๐. พ.ต.ม.จ. ประเสริฐศรี ชยางกูร ประจํากองอํานวยการฯ ๑๑. พ.ท.อาจ พิชเยนทรโยธิน นายชางใหญกรมรถไฟ ๑๒.นายวิเทต บุนยคุปต หัวหนากองแบบแผนกรมรถไฟ ผูบัญชาการทหารสูงสุดไดเปดประชุมวา ขอตกลงการจัดสรางรถไฟทหาร จากหนองปลาดุกไป ประเทศพมา ไดลงนามกันแลวตั้งแตคนื วันที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๕ หนาที่ของเราจะตองปฏิบัติตาม ขอตกลงนั้นใหดีที่สุด สวนเรื่องอื่นๆ นั้นเอาไวพูดกันเมือ่ เสร็จสงคราม ตอจากนัน้ พ.ท. ไชย ประทีปะเสน กรรมการผสมไทย-ญี่ปุน ไดบอกวา ความมุงหมายของเขาก็ คือจะขอทํารถไฟทหาร แตในขอเสนอแรกๆ มีขอความรุนแรงมาก ทางกรรมการผสมฯ จึงไดปด เปาให เบาบางลง จนในที่สุดก็สําเร็จ เปนขอตกลงตามที่ไดลงนามกันแลว กอนอื่นที่ประชุมควรจะไดทราบ ความในขอตกลงตลอดจนหลักการแหงขอตกลงนั้น
ถัดมาผูบัญชาการทหารสูงสุดไดกรุณาอานความในขอตกลงและอธิบายหลักการใหที่ประชุมฟง ดังตอไปนี้ ความขอ ๑ หมายความวา เราจะรวมกับเขาสรางรถไฟทหารขึ้น โดยเขาเปนฝายออกเงิน อนุ ๑ สําหรับการใหทดี่ ินเพื่อสรางทางรถไฟนี้ ใหตกลงใชวิธีประกาศเวนคืน เพือ่ ใหเปนที่ชดั แจงวาทีด่ ินนัน้ เปนของเรา ทั้งนี้ใหกระทรวงคมนาคม เปนเจาหนาที่ดาํ เนินการโดยดวน อนุ ๒ งานสรางรถไฟนี้ ใหเขาสรางเอง เพราะเปนเรื่องของเขา ฝายเรามีหนาที่ชวยเหลือ คือ กระทรวงมหาดไทย ชวยจัดหากรรมกร โดยใหถือหลักวาอยาใหกระเทือนตอการประกอบอาชีพ ของราษฎร กระทรวงคมนาคม (กรมรถไฟ) ชวยจัดหานายตามความจําเปน อนุ ๓ หมายความวา เรามีหนาที่ชวยเขาดังนี้ ไมหมอน เสาไฟฟา ไมทใี่ ชในการกอสราง เหลานี้ใหทางกองบัญชาการทหารสูงสุดทําคําสั่งให กรมปาไมอํานวยความสะดวกในการจัดหา สวนกระทรวงคมนาคม (กรมรถไฟ) เปนผูด ําเนินการจัดหา ปูน ทราย รถ เรือ และเครื่องลอเลื่อน เหลานี้เปนหนาที่กระทรวงคมนาคม (กรมรถไฟ) เปน ผูดําเนินการจัดหา เครื่องใชในการขนสง สัตวพาหนะ เปนหนาที่กระทรวงมหาดไทย จัดหา นอกนั้นเปนรายละเอียดอื่นๆที่ผูบัญชาการทหารสูงสุด พูดถึง เปนรายละเอียดที่จะไมขอนํามา บอกเลาในที่นี้ นอกจากนั้น ผูบัญชาการทหารสูงสุดไดมีคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการอีก ๓ ชุด เพื่อประสานงาน กับฝายญี่ปุน ดังนี้ จากกองบัญชาการทหารสูงสุด ๑. พ.อ.เชย พันธุเจริญ ประธานกรรมการ ๒. พ.ท.นพ เกตุนตุ ิ เปนกรรมการและเลขานุการ จากกระทรวงคมนาคม (กรมรถไฟ) ๑. พ.ท.อาจ พิชเยนทรโยธิน เปนกรรมการ ๒. ม.ล.จรัญ สนิทวงศ เปนกรรมการ จากกระทรวงมหาดไทย ๑. นายสิทธิ บรรณาสารประสิทธิ์ เปนกรรมการ ๒. ม.จ. ทองคําเปลว ทองใหญ เปนกรรมการ กรรมการคณะนี้มีหนาที่ตดิ ตอและเจรจาการสรางรถไฟกับฝายญี่ปุนในกรอบขอตกลงนี้ ทั้งใน สวนที่เปนหลักการและขอปฏิบัติปลีกยอย เชน การซื้อของและอื่นๆ สวนการติดตอกับเจาหนาทีฝ่ ายอื่น หรือในกรณีทเี่ ปนปญหาก็ใหติดตอกรรมการผสมฯ และใหสงงานที่คณะกรรมการนีด้ าํ เนินไปผาน กรรมการผสมฯ ตามลําดับชัน้ โดยมีหนาทีส่ าํ คัญ ๒ ประการ คือ
๑. ทํางานใหสําเร็จในกรอบขอตกลงนี้ ๒. รักษาประโยชนของชาติไทยอยางดีที่สุด การปฏิบัติงานรวมกับเขา(ญีป่ ุน)ถาไมเสียประโยชนของเราก็ตกลงทําไป ถาเปนเรื่องเสีย ประโยชนเรา ก็ตองโตแยงอยางดีที่สุด ตอจากนัน้ ยังไดเพิ่มเติมคณะกรรมการขึ้นมาใหม จากผูแทน กระทรวงอุตสาหกรรม คือ นายคลิ้ง วิศลยวิธีกัล ผูแทนกรมชลประทาน คือ นายรอด ชยากร และผูแทน กรมทาง คือ นางมงคล เนาวจําเนียร นายทหารญี่ปนุ ชั้นผูใหญที่เกี่ยวของกับการสรางทางรถไฟสายไทย-ญี่ปุน มีดงั นี้ ๑. พล.ต. ชิโมดะ เปนผูควบคุมการกอสรางทางรถไฟสายไทย-พมา ตลอดระยะทางยาว ๔๑๕ กิโลเมตร ตั้งแตเริ่มงาน โดยสํารวจภูมิประเทศทางเครื่องบินเพื่อเลือกแนวทางรถไฟกอน แลวจึงสั่งหนวย กอสรางทํางานดินตามไป แตกอนทีก่ ารกอสรางจะเชือ่ มกันตลอด และกองทัพญีป่ ุนกําหนดเปดการเดิน รถไฟตลอดทาง ในวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๘๖ เครื่องบินตรวจการซึ่ง พล.ต.ชิโมดะใชในการสํารวจ ภูมิประเทศและตรวจการกอสรางเปนประจํานั้น เกิดอุบัติเหตุตกในหุบเขาบริเวณปาลึกระหวางชายแดน ไทย-พมา กองทัพญี่ปุนไดสั่งการใหทหารหลายหนวยคนหาซากเครือ่ งบินและศพ พล.ต.ชิโมดะ แตไม สามารถคนพบ ๒ พล.ต. ทากาซากิ เปนผูรับชวงงานตอจาก พล.ต.ชิโมดะ ครั้นยางเขาฤดูฝน เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๗ นายพลผูนี้ลมปวยลง ๓. พล.ต.อิชิดะ มีหนาที่บังคับบัญชา ทําการเดินรถจากพนมเปญถึงมลายู สรางทางรถไฟสาย หนองปลาดุก-พมา แทนพล.ต.ทากาซากิ ๔. พ.อ.อีวาเซ เปนหัวหนาหนวยสรางทางรถไฟสายหนองปลาดุก-พมาในเขตประเทศไทย ตั้ง คายอยูบริเวณสนามบินจังหวัดกาญจนบุรี สรางขึ้นดวยไมไผประมาณ ๑๕,๐๐๐ ลํา มุงหลังคาจาก ซึ่งผูวา ราชการจังหวัดกาญจนบุรี จัดหาพอคามาขายใหทหารญีป่ ุน ๕. พ.อ. อิไม อยูในคายเดียวกันกับ พ.อ. อีวาเซ ติดตอในดานการกอสรางทางรถไฟกับฝายไทย ๖. พ.อ.ฮิรายามา ยายมาแทน พ.อ.อิไม นายชางฝายไทยก็เปลี่ยนจาก พ.ท.ยศ โยธาการพินิจ ซึ่ง ไปเสียชีวิตเนือ่ งจากอุบัติเหตุในการสํารวจเสนทางสายชุมพร-กระบุรี เปนนายเชถ รื่นใจชน พ.ต.โยชิดา หัวหนาหนวยรถไฟประจําทีค่ ายหนองปลาดุก ญี่ปุนใชเชลยศึกในการสรางทางรถไฟสายนี้ จากสิงคโปรและมลายูสวนหนึ่ง สวนมากเปนเชลย อังกฤษและออสเตรเลีย อีกสวนหนึ่งคือไอรแลนด นายจอหน โคสต เขียนเลาไวในหนังสือ Railroad of Death ตอนหนึ่งวา ญี่ปุนไดเขาตีสิงคโปร เมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๘๕ ทหารอังกฤษและ ออสเตรเลียตายบาดเจ็บ และถูกปลดอาวุธเปนจํานวนมาก โดยกองทัพญี่ปุนของนายพลยามาชิตะ และ ลําเลียงจากสิงคโปรเขามายังยะโฮรในมลายูเขามาในเมืองไทยโดยทางรถไฟที่นั่งเปนตูเหล็กสําหรับ บรรทุกวัวควาย ไมมีหลังคา ฝนตกก็เปยก แดดออกก็รอน ทหารฝรั่งตูหนึ่ง ๗๐๐ คน มีทหารญี่ปนุ มาคุม
๖ คน ฝาแดดฝาฝนกันมาตลอดระยะทาง ๑,๒๐๐ ไมล จากมลายูถึงบานโปงเปนเวลา ๕ วัน พักที่คายบาน โปง ๒ วัน แลวไปพักชั่วระยะหนึ่งทีก่ าญจนบุรี จอหน โคสต เขียนเลาวา คายที่กาญจนบุรีพออยูได คนไทยที่นนั่ ใจดี แจกจายกลวย ขนมและ น้ําแข็งใหเชลยพอไดมีความสุขบาง อีกตอนหนึ่งจอหน โคสต เลาวา เชลยที่ถกู เกณฑมาจากสิงคโปรตอง สับเปลี่ยนกันเปนแรงงานสรางทางรถไฟ ขณะที่ทหารญี่ปุนนั่งคุมงานอยางสุขสําราญ เมื่อเสร็จงานจาก คายหนึ่งแลว ก็ตองยายไปอีกคายหนึ่ง และตองเดินไป ผานปาเปลี่ยวที่รกชัฏ ระหวางนั้นมีโรคภัยไขเจ็บ มาก รายที่สุดคืออหิวาต ไขปา คอตีบ ไมมียา ไมมีหมอ ลมตายกันวันละมากๆ อาหารมีขาวตมกับน้ําตาล ตองทํางานตั้งแตเชายันค่ํา ตองตากแดดกรําฝน เชลยและกรรมกรตายก็เผาทันที คายรางเปนคายๆ เชลย ฝรั่งที่เสียชีวิตเพราะระเบิดจากเครื่องบินของฝายพันธมิตรก็มาก มองเห็นภาพไดชัดเจนอีกตอนหนึ่ง เชลยศึกที่ญี่ปนุ ระดมมาจากพมาก็อีกสวนหนึ่ง เดินเทาจากมะละแหมงมาถึงดานพระเจดียสาม องคในเขตประเทศไทย ผานปาดงมานานประมาณ ๙ วัน รวมแลวเปนเชลยศึกมากกวา ๕๐,๐๐๐ คน กรรมกรอีกไมนอยกวา ๑๘๐,๐๐๐ คน แรงงานของญี่ปุนเอง ประมาณ ๑๕,๐๐๐ คน กรรมกรชาวจีนที่สมาคมพาณิชจีนวาจางจากประเทศไทยเอง รวม ๑๘ จังหวัด ๑๘,๐๐๐ คน ใน ระหวางเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๖ ไดคาจางตามชวงทาง ดังนี้ จากหนองปลาดุก ถึงทามะขาม วันละ ๑.๕๐ บาทตอคน จากทามะขาม ถึงวังใหญ วันละ ๒.๕๐ บาทตอคน จากวังใหญถึงนิเถะ วันละ ๓.๕๐ บาทตอคน กรรมกรไทยทีว่ าจางโดยกระทรวงมหาดไทย ประมาณ ๓,๕๐๐ คน จากนครปฐม สุพรรณบุรี และเพชรบุรีนนั้ ไดคาแรงคนละ ๗๐ สตางคตอวัน แตงานเบากวากันมาก สําหรับแรงงานแขก ชวาและ มลายูนั้น สวนมากจะถูกสงไปทํางานจัดหาไมหมอนและไมฟนในปาลึก แตกรรมกรชุดชวานี้ไดทําความ เสียหายใหกับปาไมในกาญจนบุรีอยางมหาศาล จากบันทึกของกรมรถไฟเปดเผยไวตอนหนึ่งวา “ตามปาทุกแหงที่กรรมกรชวาอยู มีการเผาปาเปนการใหญ บางทีไฟลุกอยู ๕ วัน ๕ คืนไมดับ ลม แรงจัดจึงติดอยูตลอดวันตลอดคืน เฉพาะที่ปรังกาสี ไหมตลอด ๔ ทิศ กลางคืนสวางไสว กลางวันควัน ลอยหนาแนน ทหารญี่ปุนหามไมไดเพราะพูดกันไมรูเรื่อง กลับบอกวา ดีมาก สวยดี ไฟไหมไปนับหมื่นๆ ตน” การสรางทางรถไฟของฝายไทยในชวง ๖๐ กิโลเมตรแรก จากหนองปลาดุกถึงริมแมนา้ํ แคว บาน ทามะขาม อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งรวมระยะทางจริงๆ เพียง ๕๖ กิโลเมตร กําหนดจะเริ่มถมดิน ตั้งแตเดือนสิงหาคมและกันยายน พ.ศ. ๒๔๘๕ แตเนื่องจากเวลานั้นเปนฤดูฝน ทําใหไมสะดวกในการถม ดิน ตองลําเลียงขาวของจากกรุงเทพฯโดยทางเรือ และตองถมดินเพื่อวางรางใหไดวนั ละ ๑ กิโลเมตร สุดทายงานถมดินเพื่อวางรางไปเสร็จเอาเมือ่ เดือนมกราคม พ.ศ.๒๔๘๖
เมื่อฝายไทยถมดินในชวง ๕๖ กิโลเมตรแรกแลว พ.ต.โยชิดา ไดเริ่มวางรางจากสถานีหนองปลา ดุก เมื่อวันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ โดยใชเชลยอังกฤษวันละ ๓๐๐ คน มีรถสําหรับวางรางโดยเฉพาะ วางรางไดวันละ ๑,๕๐๐ เมตร ถึงทามะขามที่ ก.ม. ๕๖ เมื่อวันที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ.๒๔๘๖ วันที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ.๒๔๘๖ วางรางจนถึง ก.ม.ที่ ๑๐๐ และวันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๘๖ กองทัพญี่ปุนวางรางถึง ก.ม.ที่ ๒๔๐ และมุงหนาไปสูดานพระเจดียส ามองค ขณะที่กองทัพญี่ปนุ ยึดได เมืองมะละแหมงในพมาเมื่อวันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๕ ไดเริ่มวางรางรถไฟจากสถานีตันบีอูซายัต ทางตอนใตของมะละแหมง ๕๔ กิโลเมตร มุงเขามาดานพระเจดียส ามองคในประเทศไทยอีกทางหนึ่ง และมาเชื่อมตอกันเมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๖ จากนั้นจึงกําหนดเดินรถอยางเปนทางการเมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๖ โดยใชหัวรถจักร หมายเลข ว.๕๖๓๑ ลากขบวนรถ ระยะทางของทางรถไฟสายไทย-พมาที่มีระยะทางรวมถึงสถานีตันบีอูซายัตในพมา ประมาณ ๔๐๐ กิโลเมตร สรางเสร็จในเวลาประมาณ ๑๒ เดือนนั้น กองทัพญีป่ ุนตองใชเชลยศึกออสเตรเลียและ เชลยศึกจากยุโรปหลายหมื่นคน กรรมกรผูใชแรงงานไทย จีน มลายู แขก และชวา นับแสนคน มีเชลยศึก และกรรมกรทีเ่ สียชีวิตจากโรคภัยไขเจ็บ การขาดแคลนอาหาร เปนจํานวนหลายหมื่นคน วันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๖ เปนวันทีท่ างรถไฟจากพมาและจากประเทศไทยไปบรรจบกันที่ หลักกิโลเมตรที่ ๒๕๔ ไดมกี ารฉลองกันที่นั่น ญี่ปุนดีใจมากและเพื่อเปนที่ระลึกในงานชิ้นสําคัญนี้ มีการ ถายรูปคนงานโดยญี่ปุนไดคัดเอาคนงานทีแ่ ข็งแรง ล่าํ ๆจากคายตางๆที่ยังเหลืออยู ไปรวมกันที่หลัก กิโลเมตรที่ ๒๕๔ ไปลงหนังสือพิมพ แสดงใหเห็นถึงความสุขสําราญของเชลยศึก แตวนั ที่ถือวาทางรถไฟไทย-พมาบรรจบกันอยางสมบูรณนั้น คือวันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๘๖ สงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งไดเริ่มตั้งแตวนั ที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ และไดยตุ ิลงเมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ ครั้นตอมาทหารสหประชาชาติไดเขามาเมือ่ วันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ เพื่อปลดอาวุธกองทัพญี่ปุนในประเทศไทยและเจรจากับรัฐบาลไทยในกรณีตางๆ สวนที่เกี่ยวกับการสราง ทางรถไฟสายไทย-พมา ซึ่งกองทัพญี่ปุนไดใชเชลยศึกดวยนัน้ สวนมากเปนเชลยศึกอังกฤษจากสิงคโปร สหประชาชาติใหสรางสุสานขึ้น ๒ แหง คือ ที่ตําบลดอนรัก อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี แหงหนึ่ง มี จํานวน ๖,๙๖๒ คนและทีเ่ ขาปูน ฝงตะวันตกของแมน้ําแควอีกแหงหนึง่ จํานวน ๑,๗๔๐ คน ซึ่งเปนเพียง สวนนอยเทานัน้ สวนหนึ่งเปนเชลยศึกที่เสียชีวิตจากสถานีนิเถะลงมา สวนเชลยศึกที่เสียชีวิตจากสถานีนิ เถะขึ้นไป นํามาฝงไวที่เมืองมะละแหมง ประเทศพมา เรื่องราวของการสรางทางรถไฟที่นํามาเสนอในเรื่องนี้เปนเพียงบางสวนบางตอนเทานั้น หากมี โอกาสจะไดเขียนในรายละเอียดถึงการสรางทางรถไฟและเรื่องราวของเชลยศึกอีกดานหนึ่ง ขอขอบคุณ เอกสารบันทึกของ คุณประสงค นิโครธา