Private Banking All

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Private Banking All as PDF for free.

More details

  • Words: 2,441
  • Pages: 14
Private Banking - ทุกวันนี้การแข่งขันทางธุรกิจ เพิม ่ มากขึ้นทุกที ดังนั้น service ต่างๆ จึงเน้น การให้บริการที่เป็นแบบ personal service มากขึ้น เช่น personal shopper รวมถึง ด้าน financial service - โดยเฉพะอย่างยิ่งคนที่มีสินทรัพย์มากๆ จะบริหารเงินและสินทรัพย์อื่นๆกัน ยังไง นั่นก็เป็นที่มาของ private banking - ความหมายและ characteristic โดยรวมของ private banking แล้วเราจะค่อยดู private banking ตาม region โดยจะเริ่มจาก region ที่มี private banking boom มา นานแล้วอย่าง Europe, us, Japan แล้วต่อไปก็จะค่อยดู region ที่ เพิ่มจะเริ่ม boom เช่นแถบ asia pacific รวมถึงประเทศไทย - private banking นั้นไม่มีคำาจำากัดความที่แน่นอนแต่รวมๆแล้ว private banking คือบริการต่างๆที่ให้แก่ private customer ซึ่งจะเป็นบริการที่เหนือระดับกว่า ลูกค้า retail ทั่วไป - อาจมีความสับสนกันบ้างเพราะ คำาว่า private ไม่ได้หมายความถึงเป็นการ

ความลับ หรือถือหุ้นโดยเอกชน – private bank มีแหล่งกำาเนิดที่ swiss ตั้งแต่ประมาณปี 1800 - โดยส่วนใหญ่แล้ว ลูกค้าของ private bank จะต้องมีสินทรัพย์ ประมาณ 1 ล้าน USD และจะต้องเสียค่าบริการให้แก่ private bank เหล่านั้น - Mass affluent : $300,000 -High net worth individuals (HNWIs) : $300,000 - $5 million - Very high HNWIs : $5 million - $ 50 million - Ultra HNWIs : over $50 million - ยิ่งมีสินทรัพย์มากเท่าไหร่ก็จะยิ่งได้ product and service ranges มากขึ้นเท่านั้น – คำาว่า wealth management จะมีความหมายที่กว้างกว่า private banking – private banking ส่วนใหญ่จะเป็นส่วนหนึ่งของ bank หรือ universal banking ซึ่ง

ทำารายได้ ให้กับ bank ถึง 20-25 %แต่บริการของ private banking จะมีลักษณะแบบ oneon-one

ระหว่าง private banker กับ ลูกค้า – ทุกวันนี้private banking ส่วนใหญ่operate แบบ “open-architecture” model คือ แต่ละบริษัทลงทุนใน asset ที่ดีที่สุดไม่ว่า asset นั้นจะขายโดยบริษัทคู่แข่ง ก็ตาม - ตลาดของ private banking มีการกระจายตัวอย่างมาก จะเห็นได้จากบริษัท 10 อันดับแรกรวมกันมีส่วนแบ่งตลาดไม่ถึง 1 ใน 5 – swiss มี private banking 350 banks และมี off-shore asset มาฝากไว้ถึง 1/3 ของ ทั้งหมด เพราะข้อได้เปรียบด้าน privacy - จาก world wealth report ใน 5 ปีที่ผ่านมามี high net worth individual เพิ่มขึ้นถึง 20 % - Their services เอามาจาก citigroup 1. investment service >> investment management, alternative investment, derivative, brokerage/dealer service 2. real estate service

3. trust and fiduciary 4. financing and cash management>> financing and credit services, residential mortgage and home equity line of credit, banking and cash management 5. special service>> art advisory, family advisory practice, philanthropic advisory - คนที่ตอ ้ งการ private banking เช่น คนที่ตอ ้ งการบริการที่เหนือระดับ ต้องการ product ทีม ่ ีคุณภาพ คนที่บัญชีหลายๆบัญชีในรูปแบบต่างๆกันไป คนที่

ต้องการความเป็นส่วนตัวและเป็นความลับ คนที่มีการโอนเงินใน currency ต่างๆ คนที่ต้องการ tax planning ต้องการมี offshore account หรือก่อตั้ง – ข้อเสียของ private banking ก็คือ เอือ ้ ให้เกิด money laundering ได้โดยง่าย เช่น พวกอาชญากรและนักการเมืองที่ corruption ต่างๆ เช่นการมี off-shore account มีการปกปิดชื่อบัญชีหรือใช้นามแฝง มีการตั้งบริษัทขึ้นมาบังหน้า เรียกว่า shell company ซ้อนกันหลายชั้น - Raul Salinas, brother to the former President of Mexico; now in prison in Mexico for murder and under investigation in Mexico for illicit enrichment; -Asif Ali Zardari, husband to the former Prime Minister of Pakistan; now in prison in Pakistan for kickbacks and under indictment in Switzerland for money laundering; -Omar Bongo, President of Gabon; subject of a French criminal investigation into bribery; -sons of General Sani Abacha, former military leader of Nigeria; one of whom is now in prison in Nigeria on charges of murder and under investigation in Switzerland and Nigeria for money laundering; -Jaime Lusinchi, former President of Venezuela; charged with misappropriation of government funds; -two daughers of Radon Suharto, former President of Indonesia who has been alleged to have looted billions of dollars from Indonesia; -and, it appears General Albert Stroessner, former President of Paraguay and notorious for decades for a dictatorship based on terror and profiteering.

- ranking โดย Euromoney's annual private banking awards 2006 1. JP Morgan 2. Goldman Sachs 3.UBS 4. Citigroup 5.CreditSuisse - ranking โดย Euromoney UBS top private banking poll 2005 อันนี้ส่วนใหญ่ UBS จะได้อันดับ 1

Private Banking in Europe - สิง่ สำาคัญ 5 อย่างที่จะนำาไปสู่ความสำาเร็จในธุรกิจนี้ คือ 1. ต้องสร้างความสัมพันธ์ที่แข็งแรงและเน้นไปที่ความต้องการของ ลูกค้า 2. เน้นการให้คำาแนะนำาแก่ลูกค้าแบบองค์รวม และตรงกับลักษณะ ประสบการณ์ของลูกค้า 3. นำาเสนอผลิตภัณฑ์ที่มม ี ูลค่าเพิ่มสูง 4. เน้นไปที่กระบวนการในการสร้างค่าและหาวิธีในการดำาเนิน การที่รวดเร็ว ฉับไว 5. หาผลประโยชน์จากการปรับโครงสร้างต่าง ๆ ของอุตสาหกรรม - Getting Clients & Keeping Them

ยกเลิกข้อจำากัดขั้นตำ่าในสินทรัพย์ของลูกค้าเพื่อขยายกลุม ่ ลูกค้าให้มากขึ้น รวมทั้งทำาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลายมากขึ้น ผ่านทางช่องทางของสาขาต่าง ๆ ของธนาคาร หรือผ่านทางช่อง ทางลูกค้ากลุม ่ เดิม - Switzerland เป็น the world’s largest offshore wealth market โดยมีธนาคาร 2 ธนาคารที่ สำาคัญที่มีบทบาทในธุรกิจนี้ คือ UBS และ Credit Suisse - United Kingdom เป็น largest European (offshore and onshore) wealth market โดยลูกค้าที่มี บทบาทสำาคัญคือ กลุม ่ ผู้รับมรดก ผูเ้ กษียณ เจ้าของธุรกิจ และ professional ต่าง ๆ - Germany เป็น Europe’s largest onshore wealth market โดยกลุม ่ ลูกค้ามีลักษณะ คล้ายกับของอังกฤษซึ่งมักจะเน้นไปที่การพยายามรักษาระดับของ wealth ไว้ให้ได้มากที่สุด

Private Banking in USA -

เป็น the world’s largest, most mature & competitive wealth market ตลาดสำาหรับพวก structure product ยังไม่พัฒนาเท่าที่ Europe & Asia สถาบันที่มีบทบาทสำาคัญและอยู่ใน 10 อันดับแรกของโลก เช่น Citigroup, JP Morgan

Private Banking in Asia

Industry structure - Barriers to entry ยังคงอยู่ในระดับสูง เนื่องจากต้นทุนสูง เช่น ต้นทุน ในการลงทุนสร้าง brand - มีการแข่งขันจากธนาคารที่เป็นลักษณะ universal banks มากขึ้น ทั้งที่ เป็น global & local banks Japan - second largest wealth market in the world - Citigroup ในส่วนเฉพาะของ private banking ได้ถูก ban ไปแล้วใน ญี่ปุ่น(2004)โดยได้มีการออกเป็นกฎหมายมาใช้บังคับ เนื่องจากผล ประกอบการไม่เป็นที่น่าพอใจและมีลักษณะที่ผันผวนอย่างมาก - เหตุผลที่ธุรกิจนี้บูมขึ้นเป็นอย่างมากในญี่ปุ่นเนื่องจาก

มีคนรวยทีเ่ กษียณมากขึ้น เข้าสูย ่ ุค Age society 2. ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ปัจจุบันไม่ได้กู้ยืมจากธนาคารมาก นัก เนื่องจากธุรกิจส่วนใหญ่อยู่ในขั้นที่เจริญเติบโตเต็มที่ แล้ว ฉะนั้นเหล่าธนาคารจึงหันมาหากำาไรจากธุรกิจ private banking มากขึ้น - Hong Kong และ Singapore เป็นศูนย์กลางทีส ่ ำาคัญและเข้มแข็งมาก สำาหรับธุรกิจ private banking โดยเฉพาะในส่วนของการเป็น offshore centers 1.

Private Banking in Asia - Private Banking เป็นบริการทางการเงินแก่ลูกค้ารายบุคคลรายใหญ่ หรือการช่วย ลูกค้าผู้รำ่ารวยบริหารจัดการทรัพย์สิน กำาลังเติบโตอย่างรวดเร็วในเอเชีย - เศรษฐกิจที่เติบโตอย่างแข็งแกร่งของเอเชียแปซิฟิก ทำาให้ชนชั้นเศรษฐีเพิ่ม ขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งล้วนแต่เป็นกลุ่มเป้าหมายของ private banking เพราะบริการ การเงินประเภทนี้มุ่งให้บริการทาง การเงินแต่เฉพาะคนรวย ประเภทที่เรียก เป็นศัพท์สแลงที่รู้กันในวงการ private banking ว่า "high-net-worth individuals" (HNWIs) ซึ่ง ได้แก่ผู้ที่มีทรัพย์สินอย่างน้อย 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยไม่รวมบ้านและที่ดิน - จำานวนชาวเอเชียที่รวยขึ้นจน ถึงระดับเป็น "เศรษฐีเงินล้าน" หรือ HNWIs พุ่ง ขึ้นถึงระดับ 2.4 ล้านคน ในปี 2005 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 จากปี 2004 ขณะที่ คนรวยที่มี สถานภาพ HNWIs ในยุโรปในปีเดียวกันนั้น มีจำานวน 2.8 ล้าน หรือ เติบโตจากปีก่อนหน้านั้นเพียงร้อยละ 4.5 - Scorpio Partnership บริษัทที่ปรึกษาธุรกิจ private banking ในอังกฤษชี้ว่า ขณะนี้เอเชีย แปซิฟิกกำาลังเป็นเป้าหมายที่สำาคัญของ private bank ส่วนใหญ่ยังมีช่องว่าง สำาหรับการเติบโตอีกมาก สำาหรับอุตสาหกรรม private banking ในเอเชีย รายงาน ของ Credit Suisse ในปี 2005 ระบุว่า มีเพียง 1 ใน 5 ของเศรษฐีเอเชียเท่านั้น ที่ใช้ บริการ private banking - ทรัพย์สินของบรรดาเศรษฐีเงินล้านในเอเชีย ยังจะเติบโตขึ้นร้อยละ 6.7 ต่อปี จนถึงปี 2010 เทียบกับยุโรป ซึ่งเติบโตเพียงร้อยละ 3.7 ส่วนรายงานของ Merrill Lynch กับ Capgemini ระบุว่า HNWI ในเอเชีย มีทรัพย์สินรวมกันเป็นมูลค่าถึง 7.6 ล้านล้านดอลลาร์ ในปีที่แล้ว - ลักษณะของเศรษฐีเอเชียยังมักจะมีอายุน้อยกว่า และมักจะรำ่ารวยขึ้นมาได้ ด้วยการสร้างเนื้อสร้างตัวเอง ในขณะที่เศรษฐีในโลกเก่าอย่างยุโรป มักรวย จากการได้รับมรดกตกทอด - ในอดีต อุตสาหกรรม private banking ไม่สามารถเติบโตในเอเชีย เพราะเศรษฐี ชาวเอเชียมักบริหารจัดการทรัพย์สินของตนโดยไม่นิยมใช้มืออาชีพมาช่วย และชอบเก็บทรัพย์สินจำานวนมากในรูปเงินสด หรือเก็บไว้ในบัญชีเงินฝาก หรือในรูปของอสังหาริมทรัพย์ แต่หลังจากที่โลกเกิดเหตุการณ์ที่ส่งผลกระ ทบทางเศรษฐกิจหลายครั้ง ซึ่งรวมถึงการพังพินาศของหุ้นไฮเทคในปี 2000

และเหตุวินาศกรรมช็อกโลก "9/11" ในสหรัฐฯ ทำาให้บรรดาธนาคารกลางทั่ว โลกต่างลดอัตราดอกเบี้ย เพือ ่ หวังจะฟื้นการเติบโตของเศรษฐกิจ ส่งผลให้ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ร่วงตำ่าลง จนเหลือเพียงประมาณร้อยละ 1 เท่านั้น หรือตำ่ากว่านั้นในญี่ปุ่น บรรดาเศรษฐีเอเชียจึงต้องมองหาทางเลือก ใหม่ในการบริหารจัดการสินทรัพย์ของตน ธุรกิจ private banking จึงเป็นหนึ่งใน ทางเลือกเหล่านั้น - ลักษณะนิสัยของเศรษฐีเอเชีย คือ เป็นคนรวยที่คาดหวังผลตอบแทนจาก การลงทุนและไม่ชอบคอยผลตอบแทนนานๆ เพื่อสนองตอบนิสัยไม่อดทน ในการรอคอยผลตอบแทนการลงทุนของเศรษฐีเอเชีย บรรดา private bank จึง ต่างคิดค้นและเสนอผลิตภัณฑ์การลงทุนใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับลักษณะนิสัย ของเศรษฐีเอเชีย และหนึ่งในผลิตภัณฑ์การลงทุนที่เป็นนิยมที่สุดของเศรษฐี เอเชีย ก็คือ การลงทุนในตราสารอนุพันธ์ประเภทที่ให้ผลตอบแทนหลายชั้น โดยตราสารประเภทนี้จะรับประกันผลตอบแทนขั้นตำ่าเช่นเดียวกับพันธบัตร หรือรับประกันจ่ายผลตอบแทนขั้นตำ่า ในอัตราที่สูงกว่าทรัพย์สินชนิดอื่นๆ และสามารถออกแบบผลิตภัณฑ์ตามใจลูกค้าได้ทุกอย่าง - สถาบันการเงินที่ให้บริการ private banking บางแห่ง ถึงกับเสนอผลิตภัณฑ์การ ลงทุนที่มิได้ให้เพียงผลตอบแทน แต่ยังให้คุณค่าทางด้านอื่น เช่นความ หรูหราและความพิเศษเฉพาะ เพื่อให้สามารถดึงดูดความสนใจของลูกค้า เศรษฐี ซึ่งมีทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิตพรั่งพร้อมอยู่แล้วได้ เป็นการสะท้อนให้ เห็นถึงการพยายามสร้างความแตกต่างจากคู่แข่งของบรรดา private bank ใน ตลาดเอเชีย - ลูกค้าชาวเอเชียคิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 20% ของมูลค่าทรัพย์สินทั้งหมดของ โลกหรือคิดเป็นมูลค่า US$ 1 trillion ที่ควบคุมโดย private banks โดยธุรกิจส่วนใหญ่ จะขึ้นอยู่กับ bonds , equities และการลงทุนทางอื่นๆ เช่น hedge funds , property portfolios , private equity funds และทองคำา เป็นต้น Private Bank ที่สำาคัญที่สามารถครองตลาดในเอเชีย ได้แก่ - Citigroup - UBS (Union Bank of Switzerland) - Credit Suisse - HSBC - Société Générale Group Citigroup Private Bank - อยู่ในเครือ Citigroup ซึ่งเป็นสถาบันการเงินยักษ์ใหญ่ของสหรัฐฯ - ครึ่งหนึ่งของอภิมหาเศรษฐีระดับพันล้าน (Billionaires)ในเอเชียจำานวน 88 คน เป็นลูกค้าของตน - Citigroup บริหารจัดการสินทรัพย์ประมาณ 70,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐในเอเชีย และติดหนึ่งในสาม private bank รายใหญ่ที่สุดในเอเชีย

- จำานวนลูกค้าของ Citigroup ในสาขา private banking ทีม ่ ีทั้งสิ้น 25,000 คน จัดเป็น ชาวเอเชีย 6,500 คน ซึ่งสามารถสร้างผลตอบแทนให้แก่ธนาคารคิดเป็น 1 ใน 3 ขณะนี้ทาง Citigroup กำาลังเสนอให้มีการลงทุนขั้นตำ่าในด้าน private banking จาก US$ 5 ล้าน เป็น US$ 10 ล้าน เนื่องจากเห็นว่าในปัจจุบันกลุ่มลูกค้าที่รำ่ารวยนั้น เกิดขึ้นเป็นจำานวนมาก ทำาให้เกิดการแข่งขันในตลาด private banking ขนาดเล็ก เป็นจำานวนมาก จึงจำาเป็นที่ Citigroup จะต้องพัฒนาศักยภาพของตน - เน้นรุกตลาดที่แทบจะยังไม่ถูกแตะต้องมาก่อน อย่างจีนและอินเดีย - ธุรกิจ private banking ในเอเชียของ Citigroup ขยายตัวอยู่ที่ 20-30 % ต่อปีในช่วง 5 ปีที่ ผ่านมา ซึ่งถือเป็นหนึ่งในธุรกิจที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็วที่สุดของ Citigroup UBS - เป็นธนาคารของ Switzerland - จัดเป็น private bank ที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนี้ ในปี 2005 มีทรัพย์สินที่อยู่ภาย ใต้การบริหารจัดการเป็นมูลค่าถึง 13.2 ล้านล้านดอลลาร์ (Trillion Dollar) โดยเป็น ทรัพย์สินที่บริหารจัดการอยู่ในเอเชียแปซิฟิก 114 พันล้านสวิสฟรังก์ ซึ่งเหนือ กว่าธนาคารอื่นๆ ได้แก่ Citigroup (98 billion) , HSBC (75 billion) และ Credit Suisse (65 billion) - ดำาเนินธุรกิจ investment bank ควบคู่ไปกับ private bank โดย private bank จะทำาหน้าที่รับ เงินฝากมาจากครอบครัวที่รำ่ารวย และ investment bank จะนำาเงินดังกล่าวไป ลงทุนหาผลตอบแทน หรือในทางตรงกันข้าม investment bank จะสร้าง billionaire ขึ้นมาพร้อมมีข้อเสนอให้ หลังจากนั้น private bank จะไปดำาเนินการกับตำาแหน่ง ของหุ้นที่มีความเสี่ยงและนำาเงินไปลงทุนให้ ซึ่งกลยุทธ์ดังกล่าวนี้ช่วยทำาให้ มี fee-based assets ถึง $ 1.3 ล้านล้าน ในปี 2004 - ในเดือนสิงหาคม ปี 2006 UBS มีการประกาศรายได้ในไตรมาสสอง พบว่าพิ่ม ขึ้น 50% และคาดว่าจะมีอต ั ราการเติบโตอยู่ที่ 12% ต่อปี - UBS มีการวางแผนที่จะขยายธุรกิจ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกโดยการใช้ กลยุทธ์การเติบโตอย่างมั่นคง (consistent growth strategies) และการให้บริการที่ดี เพื่อ รักษาตำาแหน่งผู้นำาด้านธุรกิจดังกล่าวล - ถึงแม้ว่าจะมีอุปสรรคเรือ ่ งระเบียบข้อบังคับ แต่ทางธนาคารได้มีการ วางแผนที่จะเปิดสาขาเพิ่มในประเทศญี่ปุ่นและจีนในอนาคตอันใกล้นี้ - ศักยภาพการเติบโตของตลาดเอเชียค่อนข้างสูง จากการประเมินพบว่าตลาด ดังกล่าวจะเติบโตต่อไปเรือ ่ ยๆอยู่ระดับ 9.7% ต่อปี จนถึงปี 2010 และคาดว่า ภายในปี 2015 ตลาด private banking ในเอเชียแปซิฟิกจะเติบโตเหนือกว่าตลาดใน ทวีปยุโรป . Private Banking in India

- รายงาน World Wealth Report 2005 ชี้ว่า จำานวนเศรษฐีเงินล้านในอินเดียเติบโตเร็ว กว่าจีนถึง 3 เท่าตัว ส่วนทรัพย์สินที่อยู่ภายใต้การจัดการของ private bank มีมล ู ค่า รวม 3 แสน 7 พันล้านดอลลาร์ และยังเติบโตขึ้นร้อยละ 15 ต่อปี โดยการเติบโต ส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ในนครบอมเบย์ - จากรายงานรายงาน World Wealth Report 2006 ระบุว่าจำานวนเศรษฐีเงินล้านใน อินเดียแล้ว เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 19.3. ในปี 2005 - สาเหตุที่ทำาให้อินเดียกลายเป็นประเทศเป้าหมายหลักนั้น เนื่องจากตลาด การเงินของอินเดียนั้นมีความมั่นคงและมีสภาพคล่องสูง รวมไปถึงอัตราการ เติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศนั้นอยู่ที่ 8% ต่อปี และกำาลังก้าวไปสู่การ เปลี่ยนแปลงไปสูร ่ ะดับการเติบโตในระดับต่อไป ซึ่งจะทำาให้สินทรัพย์ ประเภทต่างๆส่วนใหญ่ของอินเดียได้รับผลตอบแทนเป็นตัวเลขสองหลัก ซึ่ง ไม่ค่อยพบตามประเทศอื่นๆ - ประเทศอินเดียอาจจะเป็นประเทศที่มีศักยภาพด้านอุตสาหกรรม private banking เหนือกว่าประเทศจีน โดยกลุ่ม wealthy non-resident Indians ซึ่งจะคอยโอนเงินกลับสู่ ประเทศของตนจะเป็นเป้าหมายหลักของอุตสาหกรรมนี้ - สถาบันการเงินหลักๆที่เข้ามาดำาเนินธุรกิจ Private Banking ในอินเดีย ได้แก่ 1. HSBC 2. HDFC 3. Citigroup 4. Societe Generale - HSBC and HDFC Bank are the biggest players in private banking, in India. - ลักษณะการให้บริการบริหารจัดการทรัพย์สินของ HSBC นั้นจะขึ้นอยู่กับ ความปรารถนาด้านความเสี่ยงและเป้าหมายทางการลงทุนของลูกค้าเป็น หลัก เมือ ่ ทั้งสองฝ่ายต่างตกลงกันแล้ว ทางธนาคารจะส่งข้อเสนอทางการ ลงทุนในสิ่งทีธนาคารเห็นว่า portfolio ควรจะเป็นให้แก่ลูกค้า - HSBC มีการให้บริการด้านการเก็บรักษา (Custodial Serivices) ซึ่งได้แก่ การเก็บ เงินปันผลของหุ้นต่างๆ และสิทธิต่างๆ เช่น ข้อเสนอซื้อคืน (Buyback proposals) ซึ่ง จะเป็นประโยชน์สำาหรับลูกค้าที่จะไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับการติดตามเงินปันผล ของบริษัท โดยเอกสารทุกอย่างจะถูกจัดการโดยธนาคารและธนาคารก็จะ เป็นผู้รับมอบอำานาจและรับผิดชอบในทุกด้าน - HSBC จะไม่เก็บค่าบริการต่างๆจากลูกค้า แต่ทางธนาคารจะได้รับค่านายหน้า จากลูกค้าในกรณีทล ี่ ูกค้าซื้อ Mutual Funds และเก็บค่า marginal fees ใน custodial services. - HDFC จะเก็บค่าธรรมเนียมการให้บริการจากลูกค้า โดยจะเก็บตั้งแต่ Rs 35,000 สำาหรับการติดตามหลักทรัพย์การลงทุน (Portfolio) ทีม ่ ีมูลค่าถึง Rs 35 lakh (Rs 3.5 million) และเก็บ Rs 1,00,000 สำาหรับหลักทรัพย์ที่มีมล ู ค่าไปจนถึง Rs 1 crore

- การให้บริการดังกล่าว ได้แก่ การให้บริการ equity-related services , การบริการให้ คำาปรึกษาต่างๆโดย dedicate advisor , ลักษณะของตลาดในแต่ละวัน , การติดตาม Mutual Fund เป็นต้น - สำาหรับสินค้าที่มีลักษณะ non-interactive ทางธนาคารก็จะเสนอราคาการให้ บริการอยู่ที่ Rs 10,000 – 25,000 ต่อปี เพือ ่ ความยุติธรรมและโปร่งใส - Citigroup ตั้งเป้าว่า ภายใน 3-5 ปีต่อจากนี้จะมีสำานักงาน 100 แห่ง และมี private banker ประมาณ 1,000 คนทั่วอินเดีย เพิม ่ จากปัจจุบันที่มอ ี ยู่เพียง 100 คน โดย Citigroup สนใจทีจ ่ ะรุกเข้าไปในเมืองสำาคัญอื่นๆ ของอินเดีย นอกจาก บอมเบย์ ด้วย เช่น กรุงนิวเดลี และเมืองกัลกัตตา เป็นต้น - กลุ่มธุรกิจ Société Générale Group ได้มีการเปิดดำาเนินการ Private Banking ในอินเดีย ในชื่อ SG Private Banking (Asia Pacific) โดยวางแผนให้ประเทศอินเดียเป็นเป้าหมายที่ ใหญ่เป็นอันดับสองของการพัฒนารองจากญี่ปุ่น เนื่องจากเห็นว่าเป็น อุตสาหกรรมที่กำาลังเติบโต โดยเห็นได้จากรายได้ของประชาชนในประเทศมี แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยจะมีการเสนอการบริการบริหารจัดการทรัพย์สินแก่ high net-worth individuals แก่ลูกค้าชาวอินเดีย และคนต่างชาติ (non-resident Indians)ทีอ ่ ยู่ ในอินเดียและตอบสนองความต้องการของลูกค้าจากสำานักงานทีM ่ umbai และ New Delhi โดยเริ่มต้นสถาบันการเงิน Societe Generale มี private banker ทั้งสิ้น 40 คน - SG ต้องการทีจ ่ ะเพิ่ม market shate ในกลุ่ม private banking ในอินเดียด้วยการมีแผน งานที่เป็นลักษณะ Integrated Worldwide Platform โดยครอบคลุมลูกค้าทั้งที่เป็น Residents และ Non-Residents ซึ่งจะเป็นการสร้างโอกาสให้แก่ลูกค้าในการได้รับ ประโยชน์จากผู้เชี่ยวชาญของตนทั้งในตลาดในและต่างประเทศ - SG Private Banking มีการประเมินว่าภายในกลางปี 2007 ทางตนจะมีลูกค้าใน อินเดียประมาณ 1000 คน และในอีก 3-5 ปีข้างหน้า เงินหลายพันล้านดอลลาร์ สหรัฐทีจ ่ ะอยู่ภายใต้การบริหารจัดการของตน - Société Générale Group ได้เข้ามาดำาเนินธุรกิจด้าน corporate and investment banking ในเมือง New Delhi และ Mumbai เป็นเวลากว่า 20 ปี โดยทางกลุ่มดังกล่าวได้ขยายงานของ ตนโดยร่วมทำา joing-venture กับ State Bank of India ดังนั้นการทำา private banking ของกลุ่ม ก็ทำาให้บทบาททางการเงินของ Société Générale Group ในอินเดียนั้นสมบูรณ์

Private Banking in China - หลังจากเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก (WTO) เมื่อ 5 ปี ก่อน ทำาให้จีนต้อง เริ่มทำาให้ตลาดภาคการเงินของตน เปิดกว้างสำาหรับ สถาบันการเงินต่างชาติ มากขึ้นภายในปี 2007

- ประเทศจีนปัจจุบันมีเงินออมส่วนบุคคลทั้งประเทศทั้งสิ้น US$ 2 trillion และมี ชาวจีนชนชั้นกลางหลายล้านคนที่กำาลังมองหาโอกาสทางการลงทุนที่ให้ผล ตอบแทนที่สูงกว่าการฝากเงินกับธนาคารตามปกติ ดังนั้นธุรกิจ private banking จึงถือเป็นทางเลือกหนึ่งสำาหรับบุคคลเหล่านั้น - ในอนาคตประเทศจีนจะกลายเป็นตลาด สำาหรับธุรกิจ private banking ที่ใหญ่ ที่สุดในเอเชียไม่นับญี่ปุ่น - ปัจจุบันนี้มีเงินกองทุนของพวกเศรษฐีจีนเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ $240 พันล้าน (in assets) โดยเกณฑ์ของเศรษฐีดังกล่าวจะต้องมี net worth อย่างน้อย $5 ล้าน - สาเหตุที่ทำาให้จีนเป็นประเทศที่น่าลงทุนในธุรกิจ private banking - มีการลงทุนทางตรง (Foreign Direct Investment) สูง - เป็นแหล่งการผลิตที่มีลักษณะเป็นทุนนิยมแบบตะวันตกภายใต้การ ดูแลของรัฐบาล - ผลตอบแทนด้านหลักทรัพย์ (private-equity returns)ได้รับผลเป็นที่น่าประทับ ใจ - มีการลงทุนในสาธารณูปโภคหนัก ได้แก่ ท่าเรือ , โรงงาน , ระบบ การขนส่ง เป็นต้น - Citigroup เปิด private bank ในนครเซี่ยงไฮ้ไปแล้วในเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ซึ่งนับ เป็น private bank แห่งแรกในประเทศจีนและในเครือ Citigroup เพือ ่ ต้องการทีจ ่ ะ ดึงดูดกลุ่มประชาชนที่มีฐานะรำ่ารวยในประเทศ โดยกลุ่มลูกค้าจะต้องมี สินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูงอย่างน้อย US$ 1 million แต่จะมุ่งให้ความสนใจไปยัง กลุ่มลูกค้าที่มีสินทรัพย์ตั้งแต่ US$ 2.5 million เป็นสำาคัญ ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมี ประชาชนชาวจีนประมาณ 1,000 – 2,000 คนที่ผ่านเกณฑ์ตามคุณสมบัติของทาง ธนาคาร นอกจากนี้ทาง Citigroup มีการประเมินว่ามีเศรษฐีmillionaire ชาวจีน ประมาณ 300,000 รายที่ยังไม่เคยรับบริการ private banking เลยซึ่งจะทำาให้จีนกลาย เป็นตลาดที่สำาคัญในอุตสาหกรรม private banking - เมื่อเดือนตุลาคม ปี 2006 ธนาคาร BNP Paribas ของฝรั่งเศสได้เข้าไปเปิดธุรกิจ private banking ในประเทศจีนซึ่งเป็นประเทศที่มอ ี ัตราการขยายตัวของ millionaire ในอัตราที่สูงมาก ปัจจุบันมีประชาชนที่เป็น millionaire กว่า 250,000 ครัวเรือนทั่ว ประเทศจีนซึ่งมีมากเป็นอันดับที่ 6 ของโลก โดยเป้าหมายของทาง BNP คือการ มีลูกค้าชาวจีนให้ได้ 1 ใน 10 ของ millionaire ทั้งหมด - นอกจากนี้ทาง BNP ยังได้ถือส่วนแบ่งใน Nanjing City Commercial Bank อยู่ 19.2 % ซึ่ง เป็นสัญญาณบ่งบอกถึงความพยายามในการขยายธุรกิจการธนาคารของ ลูกค้าที่เป็นบริษัทและส่วนบุคคลในจีน ซึ่งรวมไปถึงธุรกิจ private banking ด้วย - อย่างไรก็ตาม ธุรกิจ ของ สามารถเป็นได้เพียงแผนกหนึ่งของสาขาที่เซี่ยงไฮ้ เท่านั้น เนื่องจากว่ายังมีข้อจำากัดทางธุรกิจบางอย่างในจีน นั่นคือ สาขาที่ เซี่ยงไฮ้สามารถให้บริการลูกค้าทุกคนในจีนทั่วประเทศไทยได้ ลูกค้าสามารถ

เข้ามายังเซี่ยงไฮ้เพือ ่ รับบริการ private banking แต่ไม่สามารถที่จะเข้าหาลูกค้าที่ อยู่นอกเมืองเซี่ยงไฮ้ได้ Private Banking in Singapore - จำานวน millionaire (ผู้ทม ี่ ีทรัพย์สินทางการเงินตั้งแต่ US$ 1 million)ชาวสิงคโปร์ใน ปี 2004 อยู่ที่ 48,500 คนซึ่งเพิ่มขึ้นมา 22.4% เมื่อเทียบจากปีที่แล้ว หรือกล่าวอีกนัย หนึ่งว่ากว่า 1% ของประชากรสิงคโปร์นั้นเป็น millionaire โดยความรำ่ารวยที่เพิ่ม ขึ้นนี้ส่วนใหญ่มาจากการทำาการค้ากับประเทศจีนซึ่งได้ผลตอบแทนในระดับ สูง ทำาให้เศรษฐกิจของประเทศมั่นคงมากขึ้น - สิงคโปร์ตั้งเป้าจะเป็นศูนย์กลาง private banking และการบริหารจัดการสินทรัพย์ ของเอเชีย ด้วยการเลียนแบบสวิตเซอร์แลนด์ เจ้าตำารับ private banking Singapore, now emerging as the premier Asian private banking centre, is estimated to need as many as 1,000 private bankers to meet demand from both domestic and foreign banks to accommodate regional wealth management growth in coming years - หลายปีก่อน บรรดาผู้นำาสิงคโปร์เริ่มตระหนักว่า แม้ว่าสิงคโปร์จะมีระบบ กฎหมายที่โปร่งใส อัตราภาษีที่ตำ่า ทัง้ ยังมีรัฐบาลที่มีเสถียรภาพ แต่สิงคโปร์ ยังไม่ใช่ประเทศทีใ่ หญ่พอทีจ ่ ะต่อกรกับฮ่องกงหรือญี่ปุ่นได้ ในฐานะของการ เป็นศูนย์กลางการลงทุนและวาณิชธนกิจ (merchant banking) แต่เหตุใดสวิตเซอร์ แลนด์ ซึ่งก็เป็นประเทศเล็กๆ ไม่ต่างจากสิงคโปร์เช่นกัน กลับสามารถผงาด ขึ้นเป็นเจ้าแห่งธุรกิจ private banking ได้ และทำาไมสิงคโปร์จะทำาเช่นนั้นไม่ได้ใน เอเชีย - สิงคโปร์ก็เริ่มศึกษาสวิตเซอร์แลนด์อย่างจริงจัง และได้พยายามลงมือสร้าง บรรยากาศให้สิงคโปร์สามารถดึงดูดเศรษฐีทั่วโลก ให้เคลื่อนย้ายทรัพย์สินไป ยังสิงคโปร์ ซึ่งรวมถึงการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับกองทุนจัดการมรดก (family trust) เพื่อให้การเคลือ ่ นย้ายถ่ายโอนทรัพย์สินไปสู่ทายาททำาได้ง่ายขึ้น และ ทำาให้สิงคโปร์เป็นแหล่งที่พักพิงสำาหรับเศรษฐีที่ไม่ต้องการจะเสียภาษี อสังหาริมทรัพย์ในอัตราที่สูงลิ่วในสหรัฐฯ และยุโรป นอกจากนี้ยังมีการฝึก อบรมประชาชนให้มีการย้ายงานไปสู่งานที่มีแนวโน้มกำาลังเติบโตอย่างเช่น ธุรกิจ private banking - สิงคโปร์ยังแก้ไขกฎเกณฑ์คุ้มครองความลับของลูกค้าให้เข้มงวดขึ้น โดยการ เปิดเผยข้อมูลการเงินส่วนตัว จะได้รับโทษปรับสูงสุด 78,000 ดอลลาร์ และ โทษจำาคุกสูงสุด 3 ปี ซึ่งเป็นโทษที่โหดกว่าโทษสูงสุดของสวิตเซอร์แลนด์เสีย อีก - แต่มีสิ่งหนึ่งที่สิงคโปร์ตั้งใจทีจ ่ ะไม่เลียนแบบสวิตเซอร์แลนด์ นั่นคือ การ เพิ่มภาษีด้วยแรงกดดันจากสหภาพยุโรป (EU) ทำาให้สวิตเซอร์แลนด์ต้องเริม ่ เก็บภาษีหัก ณ ทีจ ่ ่ายในอัตราร้อยละ 15 จากรายได้จากดอกเบี้ยที่ผู้ฝากเงิน

เป็นพลเมือง EU ตั้งแต่เมื่อปีกลาย (และอัตราภาษีนี้จะค่อยๆ เพิ่มขึ้นจนถึง ระดับร้อยละ 35 ในปี 2011) - ตรงข้าม สิงคโปร์กลับลดภาษีให้ตำ่าลง ผู้ฝากเงินในธนาคารสิงคโปร์ที่มิได้ เป็นพลเมืองสิงคโปร์ไม่ต้องเสียภาษีใดๆ ถ้าหากเงินนั้นเป็นรายได้ที่เกิดนอก สิงคโปร์ และรายได้ที่ได้จากการลงทุนในสิงคโปร์ (เช่นจากหุ้น) ก็ได้รับ ยกเว้นภาษีเช่นเดียวกัน - ประโยชน์ใหญ่หลวงที่สิงคโปร์ได้รับจากนโยบายภาษีเช่นนี้คือ การดึงดูด สินทรัพย์จากประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเดียวกัน เข้ามาสู่สิงคโปร์อย่างมหาศาล - สินทรัพย์ภายใต้การจัดการของ private bank ในสิงคโปร์ กำาลังขยายตัวในอัตรา ร้อยละ 20 ต่อปี ซึ่งทำาให้สิงคโปร์กลายเป็นตลาด private banking ที่มอ ี ัตราการ เติบโตรวดเร็วที่สุดในโลก - HSBC, UBS และ Cititgroup ต่างก็กำาลังขยายธุรกิจในสิงคโปร์ - Credit Suisse มีเจ้าหน้าที่ private banker อยู่ในสิงคโปร์แล้วประมาณ 500 คน ซึ่งเป็น จำานวนที่มากที่สุดนอกสวิตเซอร์แลนด์ และยังมีแผนจะเพิ่ม private banker อีก 100 คนในปีนี้ ส่วน Bank Julius Baer ซึ่งเป็น private bank ที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของสวิต เซอร์แลนด์ ก็กำาลังจะทำาให้สิงคโปร์เป็นตลาด private banking ที่ใหญ่เป็นอันดับ สองรองจาก Zurich ในสวิตเซอร์แลนด์ - ปัจจุบันมีสินทรัพย์ที่บริหารอยูใ่ น private banking ประมาณ $ 200 พันล้าน โดยการ ให้บริการดังกล่าวจะเป็นการให้บริการทั้งชาวสิงคโปร์และชาวต่างชาติ โดย เงินลงทุนส่วนหนึ่งนั้นจะไหลมาจากประเทศเพื่อนบ้านได้แก่ อินโดนีเซีย , ฟิลิปปินส์ , มาเลเซีย และโดยเฉพาะอย่างยิ่งพวก non-resident Indians ที่อาศัยอยู่ ตามภูมิภาคต่างๆ นอกจากนี้ธนาคารที่ให้บริการ private banking ยังเปรียบ สิงคโปร์เป็นตัวเชื่อมไปสู่การทำาการลงทุนยังประเทศอินเดียอีกด้วย Private Banking in Thailand - ในระบบธนาคารพาณิชย์ จะมีหน่วยงานที่ดูแลลูกค้ารายใหญ่ เขาเรียกว่า Private Banking ไม่ว่าจะเป็นธนาคารพาณิชย์ของไทย หรือต่างประเทศ เขาอาจจะ ให้หน่วยงานนั้นดูแลในเรือ ่ งนี้ให้ เพราะเวลาทีธ ่ นาคารพาณิชย์ส่งลูกค้ามาที่ กองทุนรวม เขาจะไม่เปิดเผยรายชื่อทีม ่ ีลูกค้ารายนั้นอยู่ เรามีธุรกรรมที่เรียก ว่า เป็นการเปิดบัญชีที่ไม่รู้ว่าเจ้าของบัญชีเป็นใคร เรื่องเหล่านี้จะมีขอ ้ กำาหนด ของ ก.ล.ต. อยู่ ทางต้นสังกัดหรือต้นเรือ ่ งที่เป็นผู้ที่คุยกับลูกค้า จะต้องมีการ จัดทำาเรือ ่ งประวัติ เรือ ่ งการรูจ ้ ักลูกค้า Know Your Customer (KYC ) หรือการสืบ ประวัติลูกค้า เพื่อทำาการประเมิน Customer Due Diligence (CDD) - ธนาคารไทยพาณิชย์ ( Siam Commercial Bank))จัดเป็นธนาคารแห่งแรกใน ประเทศไทยทีม ่ ีการให้บริการ private banking และจัดเป็นธนาคารที่ดีที่สุดใน ประเทศไทยประจำาปี 2006 จากการจัดลำาดับของ Euromoney, Asiamoney and Finance Asia - ธนาคารไทยพาณิชย์ถือเป็นผู้บุกเบิกและผู้นำาทางการธนาคารในการนำาเอา เทคโนโลยีทางธนาคารมาให้บริการที่ดีที่สุดเพื่อตอบสนองความต้องการของ

ลูกค้าเป็นหลัก เพื่อนำาไปสู่เป้าหมายในการเป็น 'the Premier Universal Bank in Thailand' โดยธุรกิจ private banking ก็ถือเป็นหนึ่งในเจ็ดเครือ ่ งมือที่สำาคัญในการทำาให้ ธนาคารก้าวไปดูความเป็น universal banking - ธนาคารไทยพาณิชย์ได้เลือกสถานีงาน Odyssey’s Portfolio Manager Workstation เป็น แนวทางในการทำาธุรกิจ private banking ในประเทศไทย เพือ ่ รองรับการขยายตัว ของการให้บริการจัดการทรัพย์สินแก่ HNWIs ให้มั่นคงแข็งแรง โดยจะทำา หน้าที่เป็นผู้ให้คำาปริกษาด้านหลักทรัพย์การลงทุนของ SCB ด้วยเครือ ่ งมือ วิเคราะห์ทางการเงินที่ทันสมัย , real-time portfolio valuation, flexible portfolio modeling and rebalancing และ performance attribution functions - การดำาเนินธุรกิจ private banking ของธนาคารไทยพาณิชย์นั้นจะมุ่งให้ลูกค้าเป็น ศูนย์กลาง (client-centric) และจะทำาหน้าทีจ ่ ัดการทรัพย์สินประเภทต่างๆ , การ ดำาเนินการทางบัญชี และการให้บริการด้านการลงทุนแก่ HNWIs โดยจะต้อง ให้กลุ่มลูกค้าได้รับบริการที่สะดวกสบายอย่างสมำ่าเสมอ มีกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ หลายหลาย รวมทั้งเก็บข้อมูลของลูกค้าเป็นความลับในขณะกำาลังสร้างมูลค่า กลุ่มแนวทางของ Odyssey จะช่วยวิเคราะห์หลักทรัพย์ทางการลงทุนของลูกค้า ล่วงหน้า และให้ข้อแนะนำาด้านการลงทุนที่มีประสิทธิภาพ - กลุ่มผู้เล่นหลักในอุตสาหกรรม private banking ที่จะมีผลต่อผู้ดำาเนินธุรกิจ private banking ของไทย คือกลุ่มธนาคารต่างชาติ เนื่องจากธนาคารเหล่านี้สามารถที่ จะขยายเครือข่ายระหว่างประเทศและมีกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ค่อนข้างกว้างที่จะ สามารถดึงดูดลูกค้าให้มาใช้บริการของตนได้ - Odyssey Asset Management Systems (Odyssey) จัดเป็นผู้จัดหาแนวทางด้านการบริหาร จัดการทรัพย์สินชั้นนำาให้แก่สถาบันการเงินต่างๆของโลก การเข้ามาเป็นที่ ปรึกษาให้คำาแนะนำาแก่ธนาคารไทยพาณิชย์นั้นถือเป็นอีกก้าวหนึ่งในการ เข้ามาเติบโตในภูมิภาค Asia Pacific ในขณะนี้ Odyssey จัดเป็น market-leading solutions provider ชั้นนำาให้แก่ธุรกิจ private banking ในทวีปเอเชีย โดยมีพนักงานที่คอยให้ บริการเพิ่มขึ้นเป็น 3 เท่าเมื่อเทียบจาก 2 ปีก่อน ซึ่งถือเป็นสัญญาณการ เติบโตที่ดี ปัญหาของ Private Bank in Asia - การคัดสรรและฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ทจ ี่ ะทำาหน้าที่เป็น private banker ให้แก่ลูกค้า เศรษฐีให้มีจำานวนเพียงพอและมีความเชี่ยวชาญไม่ใช่การแย่งลูกค้ากันแต่ อย่างใด (UBS แม้จะเป็น private bank ที่ใหญ่ที่สุดในโลก แต่กลับมี private banker เพียง 153 คนในเอเชียแปซิฟิกเมื่อ 6 ปีก่อน ก่อนทีจ ่ ะเพิ่มจำานวนเป็น 600 คน เมือ ่ ต้นปีที่ ผ่านมา ส่วนใหญ่ทำางานในฮ่องกงและสิงคโปร์ Credit Suisse ระบุว่า private banker ในเอเชียจะแตกต่างจากในยุโรป โดยจะมีอายุ น้อยกว่า คือเฉลี่ยเพียง 35 ปีเท่านั้น แต่งานที่ตอ ้ งรับผิดชอบกลับซับซ้อนกว่า มากนัก เนื่องจากลูกค้าในเอเชีย มีความต้องการผลิตภัณฑ์การลงทุนใน

เอเชียที่หลากหลายมาก จึงต้องการ private banker มีความเชี่ยวชาญมากกว่าการ ทำาหน้าที่เป็นเพียงโบรกเกอร์หรือตัวแทนของลูกค้า ในการลงทุนในกองทุน เก็งกำาไรหรือตราสารอนุพันธ์ของ private banker อย่างที่เคยเป็นมา กลับไม่เพียง พอเสียแล้วในเอเชีย ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือ ลูกค้าเรียกร้องผู้ให้บริการที่มีความ ชำานาญมากขึ้น แต่เจ้าหน้าที่กลับยังมีฝีมอ ื ไม่ถึงพอทีจ ่ ะตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าที่มากขึ้นได้) (ผลของการที่ private banker เพียงรายเดียว ไม่อาจตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าได้เพียงพอ ทำาให้ลูกค้าเอเชียที่หัวใสเปิดบัญชีหลายบัญชี เพื่อบีบให้ private bank แข่งกันเสนอราคาที่ถูกที่สุด ผลที่เกิดขึ้นอีกอย่างคือ ทำาให้เงินเดือน ของ private banker พุ่งสูงลิ่ว และทำาให้เกิดการขโมยตัว private banker จากสถาบัน การเงินคู่แข่ง และยังส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ตอ ่ ไปยัง private bank ขนาดกลาง โดยอาจทำาให้ private bank รายที่เล็กกว่า ซึ่งไม่อาจเสนอเงินเดือนสูงๆ แข่งกับ private bank รายใหญ่ได้ อาจต้องหายไปจากตลาด) - ปัญหาการขาดแคลน private banker รุนแรงเป็นพิเศษในสิงคโปร์ ซึ่งตั้งเป้าจะ เป็นศูนย์กลางของอุตสาหกรรม private banking จนรัฐบาลสิงคโปร์ถึงกับต้องช่วย ตั้งโรงเรียนผลิต private banker โดยเฉพาะ เพือ ่ ให้ทันกับความต้องการ Case Study : An insufficiency of private bankers in Singapore - เอเชียผลิตเศรษฐีใหม่อย่างรวดเร็วมาก ทำาให้ธร ุ กิจจัดการบริหารสินทรัพย์ เติบโตอย่างรวดเร็วตามไปด้วย จนกระทั่งเกิดการขาดแคลนเจ้าหน้าที่ที่ เชี่ยวชาญในด้านนี้ ซึ่งเรียกว่า private banker การขาดแคลนวิกฤติถึงขั้นที่ ธนาคารในสิงคโปร์ ต้องรับช่างทำาผมและเซลส์ขายรถ มาฝึกให้เป็น private banker และเกิดการขโมยตัวบุคลากรด้านนี้จากธนาคารคู่แข่ง จนเกิดการร้อง เรียนไปถึงเจ้าหน้าที่ด้านการเงินของสิงคโปร์เป็นจำานวนมาก ในขณะที่ ลูกค้าของธนาคารก็รอ ้ งเรียนปัญหาในการรับบริการเช่นกัน - รัฐบาลสิงคโปร์ตัดสินใจแก้ปัญหาดังกล่าวโดยการเปิดหลักสูตรปริญญาโท 1 ปีที่มหาวิทยาลัย Singapore Management University (SMU) ขึ้นในปี 2004 เพือ ่ ไว้สำาหรับ ผลิต private banker โดยเฉพาะหลักสูตรนี้ไม่เพียงสอนความรู้พื้นฐานด้านการ เงินอย่างเศรษฐกิจมหภาค และการวิเคราะห์เชิงปริมาณเท่านั้น แต่ยังสอน เรือ ่ ง "soft skill" ทั้งหลาย ซึ่งได้แก่การสร้างความสัมพันธ์ ทักษะในเชิงสังคม รวมทั้งมารยาทในการเข้าสังคมต่างวัฒนธรรมต่างๆ เพื่อให้สามารถสร้าง และรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าระดับเศรษฐี ซึ่งมักจะเรียกร้องสูง - ด้วยเหตุนี้ นักศึกษาในหลักสูตรนี้จึงถูกสอนว่า เมือ ่ ไปงานวันเกิดของชาว จีนจะต้องไม่แต่งชุดดำา และคนไทยถือว่าศีรษะเป็นของสูงและไม่ชอบให้ใคร มาถูกศีรษะ บัณฑิตที่ประสบความสำาเร็จของสถาบันแห่งนี้จะมีลักษณะ นอบน้อมถ่อมตน และรูจ ้ ักสร้างความสัมพันธ์กับคนอื่น - หลักสูตรที่ SMU ดังกล่าวยังสะท้อนถึงความมุ่งมั่นของสิงคโปร์ ทีต ่ ้องการจะ เป็นศูนย์กลาง private banking แข่งกับสวิตเซอร์แลนด์ให้ได้

- นอกจากนี้ยังมี the Wealth Management Institute ซึ่งเป็นสถาบันที่มีจุดหมายสร้าง ที่มี คุณภาพเพื่อรองรับการเติบโตของผู้รำ่ารวยในเอเชีย โดยหลักสูตรในสถาบัน แห่งนี้จะสอนตั้งแต่อนุพันธ์ทางการเงิน (Financial Derivatives)ไปจนถึงมารยาทใน สังคม เพือ ่ เสริมสร้างทักษะส่วนบุคคลให้สามารถรับมือกับความต้องการของ HNWIs ทั้งด้านธุรกิจและสังคม

Related Documents

Private Banking All
November 2019 5
Private Banking Cv
May 2020 4
All Private Menus
October 2019 2
Private
November 2019 37