Praise

  • Uploaded by: chao seenan
  • 0
  • 0
  • July 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Praise as PDF for free.

More details

  • Words: 638
  • Pages: 11
อานุภาพแห่งคำาชม ผู้เขียน

Joseph Blasé และ

Peggy C. Kirby ผู้แปล

สัณหฉวี

ศาสตราจารย์อารี

ในบรรดายุทธวิธีของผูบ ้ ริหารสถานศึกษาที่มีอิทธิพลหรือ

ผลกระทบต่อการทำางานดูานดีของคร้น้ ั น การยกย่องชมเชยจะไดู รับการกล่าวถึงมากที่สุดจากการตอบแบบสอบถาม

เทอร์เรนซ์ ดีล(Terrence Deal, 1987) กล่าวว่า การ

ศึกษาประสิทธิภาพของผู้บริหารจำาเป็ นตูองศึกษาลักษณะที่หลาก

หลายของโรงเรียน ผู้บริหารสถานศึกษาไม่ใช่เป็ นแค่ผู้นำาทางการ สอนเท่านั้ น แต่ตูองเป็ นทั้งผู้ปกครอง นั กแนะแนว ที่ปรึกษา

วิศวกร ศึกษานิ เทศก์ ผูพ ้ ิพากษา กวี พระเอกหรือนางเอก ใน ฐานะผู้ปกครองและนั กแนะแนว ผู้บริหารสถานศึกษาจะพัฒนาคร้ ทั้งในดูานส่วนตัวและวิชาชีพ ใหูความรัก ความเมตตา แนะนำา

ชมเชยใหูกำาลังใจ มีบทบาทฟ้มฟั กเลี้ยงด้แบบพ่อแม่ เรื่องเช่นนี้ ทำาใหูตูองใชูเวลาของผู้บริหารมาก ผูบ ้ ริหารที่มุ่งเนูนเป็ นผู้นำา

ทางการสอนมากเกินไปก็อาจจะละเลยความสัมพันธ์แบบฟ้มฟั ก เลี้ยงด้

ในการพิจารณาบทบาทของผู้บริหารในฐานะผู้ปกครองและ

นั กแนะแนวตามที่ดีลกล่าวนี้ เป็ นแบบบิดาธิปไตย นั กการศึกษา ์ รของคร้ แต่ผู้เขียนก็ยืนยันจาก บางคนเห็นว่าเป็ นการลดศักดิศ

งานวิจัยฉบับนี้ ว่า “การชมเชยเป็ นยุทธวิธีที่ไดูผล ไดูรับการกล่าว

ถึงจากคร้มากที่สุด และมีอิทธิพลดูานดีมากที่สุด” ดังนั้ นจึงไม่

ควรมองขามบทบาทขงคำาชม หรือคิดว่าการชมเป็ นเรื่องที่ธรรมดา อย่้แลูว

ทำาไมตูองชม “ผู้บริหารสถานศึกษามีบทบาทและหนูาที่มากมายในการบริหาร

โรงเรียน แลูวทำาไมผู้บริหารจะตูองเสียเวลาอันมีค่ามานัง่ ชมเชยคร้ เล่า?”

งานวิจัยฉบับนี้ พยายามศึกษาถึงยุทธวิธีท่ีผู้บริหารสถาน

ศึกษาใชูแลูวมีประสิทธิภาพในการทำาใหูเกิดผลสะทูอนในดูานดีแก่ คร้ อันเป็ นผลดีต่อการปฏิบัติงานของคร้ การชมมีผลดีต่อคร้ เพราะเป็ นการสนองความตูองการของคร้ดูานการเห็นคุณค่าใน

ตนเอง(Self-esteem) ในขณะเดียวกันคำาชมก็สนองความตูองการ ส่วนตัวของผู้บริหารดูวย ผลงานเขียนของเบลส(Blasé and

Blasé, 1994, 1997, 1998) พบว่างานวิจัยหลายชิ้นที่ศึกษาเกี่ยว กับความสำาเร็จของผู้บริหารสถานศึกษา ผูบ ้ ริหารที่มีความ

ตูองการแสดงออกส้งและยอมรับในความรักความอบอุ่นจะเป็ นผู้ท่ี มีความรู้สึกไวต่อความตูองการดูานนี้ ของคร้ดูวย

ความสุขของผู้บริหารที่ไดูจากการชมเชยคร้ในงานวิจัยฉบับนี้

พบว่า ผูบ ้ ริหารที่มีประสิทธิภาพมักใชูยุทธวิธีการชมเชยในการ

สรูางอิทธิพลหรือผลสะทูอนดูานดีต่อเจตคติและพฤติกรรมของคร้ คร้จะนำาคำาชมของผู้บริหารไปเชื่อมกับจุดมุ่งหมายของผู้บริหารใน

การพัฒนาการสอนในหูองเรียน ยุทธวิธีการชมชยนี้ ผู้บริหารจะใชู

กับคร้แบบตัวต่อตัว การชมเชยหรือยอมรับความสามารถของคร้ ช่วยเสริมสรูางกำาลังใจใหูแก่คร้ และความพึงพอใจในการทำางาน ของคร้ การชมเชยยังช่วยสรูางบรรยากาศในโรงเรียน ความ สามัคคีของคณะคร้และการร่วมทำางานเพื่อจุดมุ่งหมายของ โรงเรียน

ปฏิกิรย ิ าของคร้ต่อคำาชม เรามักจะเคยไดูยินคำาบ่นของผู้บริหารเรื่องความอึดอัดใจที่จะ

แสดงความรักใคร่ใยดีและพ้ดยกย่องชมเชยอย่างเปิ ดเผย ใน

ทำานองเดียวกันคร้บางคนก็บ่นไม่ชอบที่ผู้บริหารพ้ดยกย่องชมเชย เพราะด้เป็ นการแสดงอำานาจส้งกว่าของผู้บริหาร

คร้ท่ีตอบคำาถามในงานวิจัยนี้ กล่าวถึงคำาชมของผู้บริหารว่า

มีส่วนในการสรูางความมัน ่ ใจและภาคภ้มิใจ มีสว่ นส่งเสริมใหูเกิด กำาลังใจ เห็นคุณค่าและยอมรับงานที่ทำา

“คร้ใหญ่มักจะเขียนขูอความสั้นๆ ถึงคร้แต่ละคน ใหูกำาลังใจ

ชมเชย หรือทักทาย ขูอความเหล่านี้ จะปรากฏที่ตู้จดหมายของ

โรงเรียน บางทีก็ส่งไปที่บูาน ถูาทำางานโรงเรียนเสร็จคร้ใหญ่ จะ

ส่งขูอความไปถึงคร้และชมเชยผลงาน คร้ใหญ่ทำาใหูฉันรู้สึกว่าฉันมี ค่า และทำาใหูฉันมีความรู้สึกที่ดีต่อคร้ใหญ่ ฉันรู้ดีว่าคร้ใหญ่มีงาน

มากแต่การที่คร้ใหญ่เห็นคุณค่าของฉันทำาใหู ฉันมีความรู้สึกที่ดีต่อ งานและพยายามที่จะทำางานใหูดีย่ิงขึ้น”

คร้มัธยมตูนคนหนึ่ ง

การชมนอกจากจะทำาใหูคร้รู้สึกพอใจและภาคภ้มิใจแลูว ยัง

ช่วยใหูคร้รู้สึกว่า “ตนเองมีกลุ่มและเป็ นสมาชิกที่สำาคัญของกลุ่ม” คร้บางคนกล่าวว่าการไดูรบ ั คำาชมเชยจากผู้บริหารทำาใหูรู้สึกว่าผู้ บริหาร “รัก” และ “ใหูเกียรติตน”

คร้บางคนบอกว่า คำาชมเชยทำาใหูเกิดแรงจ้งใจในการทำางาน

ทำาใหูรู้สึก “กระตือรือรูน ” และ “มีแรงบันดาลใจในการทำางาน” คร้

บางคนกล่าวว่า “ฉันพยายามทำาใหูดีท่ีสุด ใหูสมกับคำาชมเชยของคร้ ใหญ่”

การชมยังมีผลต่อพฤติกรรมโดยทัว่ ไป ซึ่งคร้จะพยายามทำา

ตนใหูสอดคลูองกับความคาดหวังของผู้บริหารสถานศึกษาในเรื่อง การเรียนการสอน เช่น คร้กล่าวว่า

 “ทำาใหูฉันพยายามคิดริเริม ่ สรูางสรรค์ในการสอนมากขึ้น ”  “ทำาใหูฉันมีเวลาวางแผนการสอนมากขึ้น”

 “ทำาใหูฉันทำางานหนักขึ้น ไม่ใช่เพียงแต่ทำางานเต็มเวลา

เพียง 8 ชัว่ โมงเท่านั้น และพยายามทำางานทุกชิ้นใหูเสร็จ”

เมื่อคร้เห็นว่าการชมมีผลดูานดีต่อตน คร้ก็นำาไปใชูกับ

นั กเรียน บางทีท้ งั โรงเรียนก็ใชูร้ปแบบนี้ ดังคำากล่าวต่อไปนี้

 “ตอนนี้ ฉันทำาอะไรไปในทางสรูางสรรค์มากขึ้น ฉันอดทน และยอมรับเด็กไดูดีข้ ึน”

 “ฉันพยายามมองหาส่วนดีของนักเรียน และยกย่องชมเชย นักเรียนในส่วนนั้น ”

 “ฉันพยายามปฏิบัติตามคร้ใหญ่ในทางสรูางสรรค์ เพื่อไปใชู

กับนักเรียน อีกทั้งยังนำาไปใชูร่วมกับผู้ปกครองและคร้อ่ ืนๆ อีกดูวย”

คร้กล่าวต่ออีกว่าคำาชมของผู้บริหารมีผลทำาใหูคร้สนั บสนุ นผู้ บริหารยูอนกลับดูวย เช่น  “ฉันก็ชมคร้ใหญ่ดูวย”

 “ฉันกระตือรือรูนที่จะสนับสนุนคร้ใหญ่มากขึ้น ” คร้บางคนอาสาช่วยเหลือผูบ ้ ริหาร  “ฉันทำางานพิเศษใหูคร้ใหญ่”

 “ฉันเต็มใจที่ทำางานในโครงการใหม่ๆ ของโรงเรียน” การชมเชยยังช่วยสรูางบรรยากาศของโรงเรียน เพราะคร้มี

ขวัญกำาลังใจอันมีผลต่อนั กเรียน ทำาใหูคร้สอนดีข้ ึนและทุ่มเทใน การสอนมากขึ้น

อานุภาพของการชมเชย งานวิจัยฉบับนี้ ชี้ชัดถึงอานุ ภาพของการชมเชยว่าเป็ นยุทธวิธี

ที่มีประสิทธิภาพในการสรูางอิทธิพลหรือผลสะทูอนในดูานดีต่อคร้

แต่ผู้เขียนก็ตระหนั กถึงความขัดเขินอึดอัดใจของคร้ และผู้บริหาร หลายคนก็ไม่เห็นดูวยกับยุทธวิธีน้ ี จากงานวิจัยนี้ มี 2 คำาถามที่ผู้ อ่านอาจจะถามคือ หนึ่ ง เราจะถือว่ายุทธวิธีการชมเชยนี้ เป็ น

“เรื่องพิเศษ” หรือเป็ น “สามัญสำานึ ก” สอง ถูาการชมเชยเป็ น

เรื่องพิเศษ ทำาไมผู้บริหารทัว่ ไปจึงไม่ใชูยุทธวิธีน้ ี

แดน ลอร์ต(ี Dan Lortie, 1975) ตั้งขูอสังเกตว่าการสอนมี

ความยากลำาบากเฉพาะทูองถิ่น และการประเมินผลที่เกิดกับ

นั กเรียนและคุณภาพการสอนก็ประเมินไดูยาก ผลกระทบที่คร้มี

ต่อนั กเรียนไม่แน่นอน คร้จำาเป็ นตูองประเมินตนเอง แต่บุคคล ย่อมตูองการการยอมรับจากผู้อ่ ืน การประเมินตนเองจึงยังไม่

เพียงพอ ความไม่มัน ่ ใจในตนเองของคร้ช่วยไดูโดยการยอมรับ จากผู้อ่ ืน คร้ท่ีเก่งๆ ก็ยังตูองการความมัน ่ ใจ

จากการศึกษาวิจัยพบว่า การชมเชยที่มีอิทธิพลหรือผลดีต่อ

คร้เป็ นการชมเชยที่เกี่ยวกับงานในหนูาที่เท่านั้น มิไดูรวมถึงการ

ชมเชยทัว่ ไป เช่น เสื้ อชุดใหม่ ผมทรงใหม่ หรือการกระทำาอื่นๆ ที่มิใช่งานในโรงเรียน

โอกาสและวิธีการชมเชย ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพจะชมเชยการปฏิบัติงาน

ของคร้เมื่อไร และอย่างไร คำาตอบจากแบบสอบถามของคร้ระบุ ว่า ผู้บริหารใชูทุกโอกาสชมเชยคร้ บางทีดูวยวาจา บางทีดูวย ท่าทาง

ถึงแมูว่าผู้บริหารสถานศึกษาจะมีเวลาที่จะชมเชยคร้แต่ละคน

คร้หลายคนกล่าวว่าบางทีคร้ใหญ่จะชมเชยเป็ นกลุ่ม หรือชมเชย ในที่ประชุมคร้หรือในการประชุมกลุ่มย่อย หรือผ่านการสื่อสาร ภายใน ดังนี้

 “คร้ใหญ่แสดงความเชื่อใจ มัน ่ ใจในคณะคร้ และมักจะพ้ด เสมอ ๆ ว่าคณะคร้ของเราเป็ นผู้ท่ีไดูรับการคัดสรรมาแลูว เป็ นคณะคร้ช้ ันเยี่ยมของมลรัฐ”

 “ทุกครั้งในการปิ ดประชุม คร้ใหญ่จะชมเชยคณะคร้ท่ีต้ ังใจ ทำางานหนัก”

 “ทุกวันศุกร์คร้ใหญ่จะพ้ดว่า พวกเราไดูทำางานหนักมา ตลอดสัปดาห์แลูว”

จากงานวิจัยนี้ พบว่า การชมเชยที่เป็ นยุทธวิธีท่ีดี ไม่จำาเป็ น

ตูองชมเชยต่อหนูา อาจเป็ นคำาชมที่ถ่ายทอดมาอีกทีก็ไดู เช่น ผู้ บริหารสถานศึกษาชมคร้กับคนอื่น และในที่อ่ ืน ๆ คร้คนหนึ่ ง

กล่าวว่า “คร้ใหญ่ของเราเอ่ยถึงคุณภาพของคณะคร้เราทุกครั้งที่มี โอกาส”

ผู้บริหารที่มีประสิทธิภาพจะใชูการชมเชยเป็ นกลุ่มและเป็ น

รายบุคคลสลับกันไป มิไดูใชูแบบใดแบบหนึ่ งแบบเดียว คร้คน

หนึ่ งพ้ดถึงยุทธวิธีการชมเชยของผู้บริหารว่า “คำาชมหนึ่ งนาที” คร้

คนหนึ่ งเล่าว่า “คร้ใหญ่ของเธอชมเชยทันทีเวลาที่เห็นคร้ทำางานดี คร้ใหญ่บางคนจะเล่าถึงคำาชมที่นักเรียนหรือผู้ปกครองมีต่อคร้ใหู คร้ฟัง”

นอกจากการชมดูวยวาจา ผูบ ้ ริหารสถานศึกษาบางคนเขียน

ขูอความสั้นๆ ถึงคร้ หรือหลังจากการสังเกตการสอนในหูองเรียน

ผู้บริหารจะเขียนคำาชมย่อๆ ไวูใหูคร้ บางคนส่งจดหมายชมเชยไป ที่บูานของคร้ เช่น

บางทีผู้บริหารใชูวิธีชมโดยไม่พ้ด แต่แสดงใบหนูาท่าทาง

 “คร้ใหญ่แตะบ่าฉันแสดงความยินดี”

 “ยุทธวิธีชมเชยของคร้ใหญ่คือตบบ่าเบาๆ”  “คร้ใหญ่ย้ ิมก็ทำาใหูฉันดีใจแลูว”

โดยสรุปคร้ใหญ่ท่ีมีประสิทธิภาพใชูวิธีชมเชยแบบสั้นๆ อาจ

เป็ นทางวาจา หรือท่าทางที่ไม่เป็ นทางการในการสรูางอิทธิพลใน

แง่ดีใหูแก่คณะคร้และคร้แต่ละคน เทคนิ คที่คร้ใหญ่ใชูมีหลายแบบ เช่น เขียนจดหมายขูอความสั้นๆถึง ชมเชยกับผู้อ่ ืน ประกาศ

ชมเชยในที่สาธารณะ หรือการตบบ่าเบาๆ จุดสำาคัญที่ตูองเนูนใน ที่น้ ี คือ ผู้บริหารที่ใชูยุทธวิธีน้ ี มิไดูต้ ังใจที่จะสรูางอิทธิพล หากแต่ ด้เหมือนเป็ นไปตามธรรมชาติ เพราะฉะนั้ นคำาชมจึงจริงใจและ เป็ นธรรมชาติ ไรน์ฮาร์ต, ชอร์ต, ชอร์ตและเอคเล่ย์ (Rinchart,

Short, Short and Eckly, 1998) พบว่าความรู้สึกในพลังอำานาจ

ของคร้จะสัมพันธ์กับอิทธิพลในดูานดีทางสังคมของผู้บริหารสถาน ศึกษา

คำาแนะนำาจากคร้ จากขูอม้ลพบว่า ถึงแมูจะมีความไม่แน่นอนในแต่ละทูอง

ถิ่น และโครงสรูางของโรงเรียนที่ทำาใหูคร้แต่ละคนอย่้โดดเดี่ยว ผู้ บริหารที่มีประสิทธิภาพจะใชูทุกโอกาสในการชมเชยใหูกำาลังใจ

ซึ่งคำาชมนั้ นมักจะสั้นๆ ไม่เป็ นทางการ และเป็ นการชมเชยเกี่ยว กับงานในวิชาชีพ อาจสรุปคำาแนะนำาสั้นๆ จากคำาตอบของคร้ใน การนำาไปใชู ดังนี้

1. ชมเชยอย่างจริงใจ

คร้ท่ีตอบแบบสอบถามมีความเห็นว่าผู้บริหารชมเชย

อย่างจริงใจมิใช่เจตนาจะใชูอิทธิพล และการแสดงออกของผู้ บริหารเป็ นกันเอง สบายๆ และเป็ นไปตามธรรมชาติ 2. พยายามใชูการสื่อสารทางกายใหูมากขึ้น

ผู้บริหารที่มีประสิทธิภาพใชูภาษาท่าทาง เช่น ยิ้ม พยัก

หนูา แตะบ่า เพื่อแสดงความเห็นดูวยและยกย่อง เทคนิ คนี้ มัก

จะใชูเวลาที่ผู้บริหารสังเกตการสอนในชั้นเรียนของคร้แทนการพ้ด ซึ่งจะทำาใหูขัดจังหวะการสอนของคร้

3. กำาหนดเวลาสำาหรับการยกย่องคร้

คร้หลายคนรายงานว่า ผู้บริหารจะชมเชยคร้ในระหว่าง

การประชุม ผู้บริหารบางคนใชูเวลาตอนเริม ่ ประชุม บางคนใชู

เวลาตอนจะปิ ดประชุม การยกย่องชมเชยในการประชุมนั กเรียนก็

มักปฏิบัติเช่นกัน หรือการชมเชยผ่านทางเสียงตามสาย ผูบ ้ ริหาร ที่มีประสิทธิภาพจะกำาหนดเวลาประจำาในการชมเชยคร้ ถึงแมูว่า

การใชูยุทธวิธีการชมเชยจะด้เป็ นธรรมชาติ หากเป็ นผู้ปฏิบัติใหม่ คงจะตูองศึกษาและกำาหนดเวลาใหูแน่นอน

4. เขียนขูอความสั้นๆ ในการชมเชยคร้แต่ละคน

ผู้บริหารที่มีประสิทธิภาพมักจะใชูวิธีเขียนขูอความสั้นๆ

ชมเชยคร้เป็ นรายบุคคล ผู้บริหารมักจะเขียนดูวยลายมือของ ตนเองซึ่งทำาใหูเกิดความรู้สึกใกลูชิดสนิ ทสนม

5. พ้ดถึงความภาคภ้มิใจกับความสามารถของคร้

คร้มักจะรู้สึกว่าผู้บริหารตัดสินผลงานของตนจากผู้อ่ ืน

เพราะฉะนั้ นผู้บริหารควรแสดงความภาคภ้มิใจในคณะคร้ต่อผู้ ปกครอง เพื่อนนั กบริหาร และบุคคลในชุมชน 6. ชมเชยสั้นๆ

การชมเชยที่มีผลไม่จำาเป็ นตูองเป็ นการชมเชยที่ยืดยาว

และเป็ นการเป็ นงาน คร้จะเห็นคุณค่าในคำาชมสั้นๆ เพียงไม่ก่ี

วินาที การชมเชยสั้นๆ ทางวาจาและทางกาย หรือชมเชยดูวย ภาษาท่าทางจะมีประสิทธิภาพมากสำาหรับผู้บริหารที่มีกิจธุระวุ่น ไม่มีเวลามาก

7. เปู าหมายของการชมเชยคืองานของคร้

เนื่ องจากคร้แต่ละคนมักโดดเดี่ยวอย่้ในหูองเรียนของ

ตน ผูบ ้ ริหารจึงควรชมเชยการทำางานของคร้เป็ นรายบุคคล การ ์ อง ชมเชยเป็ นกลุ่มก็จำาเป็ นตูองสัมพันธ์กับงานและผลสัมฤทธิข งานนั้ น

ที่มา คร้ใหญ่คือแรงจ้งใจของคร้(Bringing out the Best in Teachers : What Effective Principals Do) ผู้เขียน

Joseph Blasé และ

Peggy C. Kirby ผู้แปล

สัณหฉวี

ศาสตราจารย์อารี

Related Documents

Praise
November 2019 21
Praise
May 2020 12
Praise
July 2020 17
Praise Song
May 2020 22
Praise Words
April 2020 18
Praise Song
November 2019 18

More Documents from ""

Praise
July 2020 17
May 2020 1
June 2020 5
Fase I -- Copia.docx
October 2019 21
June 2020 5
June 2020 5