Pep 8 2549 Plastic-5

  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Pep 8 2549 Plastic-5 as PDF for free.

More details

  • Words: 589
  • Pages: 11
มหัศจรรย “พลาสติก” (ตอนที่ 5) ดร. อรสา ออนจันทร คําสําคัญ

พลาสติก พอลิเมอร

การเกิดพลาสติก (Polymerization)

รูปที่ 1 ภาพโมเดลของสายโซพอลิเมอร แทจริงแลวพลาสติกเกิดจากกระบวนการที่ทําใหโมเลกุลขนาดเล็กมาตอรวมกันจนมีขนาดเล็กมา ตอรวมกันเขาจนมีขนาดใหญขึ้น (เปรียบเสมือนการนําลูกปดมาเรียงรอยใหเปนสายสรอย) ซึ่งเรียกวา การ เกิดพอลิเมอร (Polymerization) ซึ่งจะแตกตางกันไปตามชนิดของพลาสติก แตมักตองอาศัยความดันสูง และใชตัวเรงปฏิกิริยา (Catalyst) กระตุนใหโมเลกุลขนาดเล็กมายึดตอเขาดวยกัน

1

รูปที่ 2 ปฏิกิรยิ าพอลิเมอรไรเซชัน ปฏิกิริยาพอลิเมอรไรเซชัน (Polymerization reaction) แบงออกไดเปน 2 แบบ ดังนี้ คือ 1. ปฏิกิริยาพอลิเมอรไรเซชันแบบเติม (Addition polymerization reaction) เปนการที่มอนอเมอรทุกหนวย มาตอกันเปนสายโซพอลิเมอรโดยไมมีสิ่งใดหลุดออกมา

ตัวอยาง เชน การพอลิเมอรไรเซชันของพอลิเอทิลีน

2

2. ปฏิกิริยาพอลิเมอรไรเซชันแบบควบแนน (Condensation polymerization reaction) เปนการที่มอนอ เมอรตางชนิดกันมีหมูฟ งกชนั ตางชนิดกันตอกันเปนพอลิเมอรโมเลกุลใหญและมีโมเลกุลเล็กอื่นหลุด ออกมาดวย

ตัวอยาง เชน การพอลิเมอรไรเซชันของพอลิเอสเทอร

อะตอมคารบอนและไฮโดรเจน ซึ่งเปนองคประกอบพื้นฐานของพลาสติกทุกชนิดนั้นไดมาจาก น้ํ า มั น ดิ บ ซึ่ ง ประกอบด ว ยไฮโดรคาร บ อน (โมเลกุ ล ของไฮโดรเจนและคาร บ อนมารวมกั น ) สาร ไฮโดรคาร บ อนมี ตั้ ง แต ช นิ ด โมเลกุ ล ไม ซั บ ซ อน เช น ก า ซมี เ ธน ประกอบด ว ยคาร บ อน 1 อะตอมกั บ ไฮโดรเจน 4 อะตอม จนถึงน้ํามันดินและยางมะตอย ซึ่งโมเลกุลประกอบดวยหลายรอยอะตอม ดังแสดงในแผนผังขางลางนี้ปโตรเลียมที่ขุดขึ้นมาได ทั้งน้ํามันดิบและกาซธรรมชาติจะถูกสงเขา โรงกลั่นน้ํามันดิบและโรงแยกกาซ กระบวนการนี้สามารถสกัดไฮโดรคารบอนออกมาไดเปนสวนตางๆ มากมายหลายรอยชนิดทีเดียว ซึ่งแนนอนที่สุดรวมไปถึงน้ํามันที่ใชกับรถยนตดวย จากสวนตางๆ ทั้งหมดนี้ กาซอีเทนและกาซโพรเพนเปนสองวัตถุดิบเริ่มตนหลักในการผลิตพลาสติก จากนั้นจะถูกสงตอไปเขาเครื่อง แครกเกอร (cracker) ที่ใชความรอนสูงเพื่อเปลี่ยนใหอยูในรูปของกาซเอทิลีนและกาซโพรพิลีน กาซทั้งสอง นี้จะถูกสงตอไปยังถังปฏิกิริยาทางเคมีเพื่อผลิตเปนพอลิเมอรในรูปเบื้องตน เชน เปนผง (powder) หรือ เม็ด (pellet) พอลิเมอรที่ไดจากขั้นตอนนี้สามารถนําไปใสตัวเติมตางๆ เชน สี สารปองกันรังสียูวี และ นําไปขึ้นรูปตามที่ตองการโดยกระบวนการขึ้นรูปที่เหมาะสม

3

รูปที่ 3 การผลิตพลาสติกจากน้าํ มันและกาซธรรมชาติ กาซอีเทน (โมเลกุลประกอบดวยคารบอน 2 อะตอมกับไฮโดรเจน 6 อะตอม) ถูกเปลี่ยนใหเปน กาซเอทิลีน เมื่อผานการเกิดพอลิเมอร จะไดพลาสติกที่เรียกวา พอลิเอทิลีน หรือ PE ซึ่งแบงเปน ประเภท หลัก ชนิดแรกคือ พอลิเอทิลีนความหนาแนนต่ํา หรือ Low Density Polyethylene (LDPE) พลาสติกชนิดนี้ นิยมใชทําถุงเย็น ถุงซิป ดอกไมพลาสติก หลอดยาสีฟน และฟลมหอรัดรูป เปนตน เนื่องจากมีราคาถูกและ มีความยืดหยุน เหนียวและแข็งแรงพอสมควร และอีกชนิดคือ พอลิเอทิลีนความหนาแนนสูง หรือ High Density Polyethylene (HDPE) เนื่องจากมีสมบัติแข็ง เหนียว ทนตอสารเคมี และมีคาการแพรผานของ กาซต่ํา จึงมักนํามาใชทําขวดน้ํา ขวดนม ขวดยาสระผม ของเลนเด็ก ภาชนะบรรจุเครื่องสําอาง ฉนวนหุม สายไฟ และสายเคเบิ้ล

4

สวนกาซโพรเพนก็จะรวมกันเปนพลาสติกที่เรียกวา พอลิโพรพิลีน (PP) ไดในทํานองเดียวกัน PP เปนพลาสติกประเภทเทอรโมพลาสติกที่เบาที่สุด มีสมบัติเชิงกลดีมาก เหนียว ทนตอแรงดึง แรงกระแทก และทรงตัวดี มีจุดหลอมตัวที่ 165 °C ไอน้ําและออกซิเจนซึมผานไดต่ํา เปนฉนวนไฟฟาที่ดีมาก มีการ นําเอา PP ไปใชงานในลักษณะเดียวกับ PE เมื่อตองการใหมีคุณสมบัติที่ดีขึ้น PP ไดถูกนําไปใชงาน อยางกวางขวาง ตัวอยางเชน ใชทําถุงรอน ฟลมใส ฟลมหอหุม หรือบรรจุอาหารที่ไมตองการใหออกซิเจน ซึมผาน พลาสติกหุมซองบุหรี่ โตะ เกาอี้หรือตะกราพลาสติกรูปแบบตางๆ และภาชนะเครื่องใชในครัวเรือน รวมถึงกลองสําหรับใชกับไมโครเวฟอีกดวย

พลาสติกอีกชนิดที่เรียกวาพีวีซี (PVC ยอมาจากพอลิไวนิลคลอไรด) นั้นมีองคประกอบทางเคมี คลายกับพอลิธีน ตางกันแตอะตอมของไฮโดรเจนจะถูกแทนที่ดวยอะตอมของคลอรีน พีวีซีเปนเทอรโม พลาสติกที่มีการใชงานอยางกวางขวาง มีคุณสมบัติที่สําคัญคือ เมื่อติดไฟจะดับไดดวยตัวเอง ทนตอน้ํา น้ํามัน กรด ดาง แอลกอฮอล และสารเคมีตางๆ ยกเวนคลอรีน ทนตอการขัดถู เปนฉนวนไฟฟาที่ดี และ 5

เนื่องจาก PVC มีคุณสมบัติแข็งแตเปราะ และสลายตัวไดงายเมื่อสัมผัสกับความรอน และแสงแดด ดังนั้น จึงมักนํา PVC ไปเติมสารเติมแตงตางๆ กอน เชน stabilizer และ plasticizer (เติมเพื่อใหนิ่มลง) เปนตน ตัว อย า งการใช งาน เชน ใช ทําท อ ขอตอ ฉนวนหุมสายไฟ สายเคเบิ้ล แผน พลาสติ ก ฟ ลม หนั งเทีย ม รองเทา บัตรเครดิต อุปกรณรถยนต ขวดพลาสติก ของเด็กเลน

พลาสติกพีวีซีมีคุณสมบัติ “ทนไฟ” จึงปลอดภัยที่จะนํามาทําผลิตภัณฑในบาน แตจะใสอะตอม ของฟลูออรีน 4 อะตอมแทนที่จะเปนอะตอมของคลอรีน ก็จะไดสารที่เรียกวา พีทีเอฟอี(PTFE ) ยอมา จากพอลิเททระฟลูออโรเอธิลีน หรือที่รูจักทั่วไปวา “เทฟลอน” (TEFLON) ที่ใชเคลือบหมอและกระทะกัน ติด ตลอดจนลูกปนของเครื่องจักรกล เทฟลอนมีคุณสมบัติพิเศษที่เดนมากคือ สามารถทนทานตอความ รอนไดดีเยี่ยม โดยที่คุณสมบัติทางกายภาพเชิงกล และไฟฟาไมเปลี่ยนแปลงที่อุณหภูมิประมาณ 300 °C เปนเวลาแรมเดือน มีความเหนียว ขณะเดียวกันก็ยืดหยุนไดที่อุณหภูมิต่ํา เปนฉนวนไฟฟาที่ดีเยี่ยม เฉื่อย ตอสารเคมี และไมสามารถละลายไดเลยในตัวทําละลายใดๆ และเนื่องจาก PTFE มีราคาคอนขางแพง การ ใชงานจึงจํากัดเฉพาะงานที่ตองการความเหนียว สมบัติทางไฟฟา และสมบัติความทนทานตอความรอน เปนพิเศษเทานั้น

6

พอลิสไตรีน (Polystyrene, PS) เปนโพลิเมอรที่จัดเปนพวกเทอรโมพลาสติกที่มีการจัดเรียงตัวอยู ในรูปของโพลิเมอรอสัณฐาน (amorphous) จึงมีลักษณะโปรงแสงและใส นอกจากนี้ PS ยังมีคุณสมบัติ เดนๆ อีกคือ มีความแข็งมาก ไมยืดหยุน และเปราะ ไมดูดความชื้นและน้ํา ไมมีรส ไมมีกลิ่น เปน ฉนวนไฟฟา มีอุณหภูมิกลาสทรานซิชั่น (Tg) ประมาณ 100 C จึงทนความรอนไดต่ําถาสัมผัสกับแสงแดด ที่อุณหภูมิสูงเปนเวลานานๆ อาจเปลี่ยนเปนสีเหลืองและเกิดรอยแตกได เฉื่อยตอสารเคมี ทนตอกรดแก และเบสแก กันการซึมผานของกาซไดดี อีกทั้งยังขึ้นรูปแบบตางๆ ไดงายอีกดวย PS ไดถูกนําไปใชงาน อยางกวางขวาง เชน ใชทําอุปกรณเครื่องเขียน เครื่องประดับ สนรองเทา ตลับเครื่องสําอาง ภาชนะ และขวดบรรจุอาหาร เครื่องสุขภัณฑ ฝาครอบหลอดไฟหนารถยนต ตลับเทป หมวกกันน็อค นอกจากนี้ PS ยังไดถูกผลิตออกมาในรูปของโฟมที่เรียกกันวา EPS ซึ่งยอมาจากExpanded polystyrene อีกดวย โฟมโพลิสไตรีน เปนโพลิสไตรีนที่เติมกาซเพนเทน ใชทําภาชนะบรรจุอาหารฟาสตฟูด วัสดุกันกระเทือนใน หีบหอ นิยมนําไปใชในงานดานฉนวนกันความรอน เชน ใชเปนสารบุภายในตูเย็น

พลาสติกอีกชนิดที่เราคุนเคยกันและไดยินติดหูกันก็คือ “ขวดเพท” ที่ทํามาจากพลาสติกประเภท “เพท” (PET) ซึ่งยอมาจาก พอลิเอทิลีน เทเรฟทาเลท (Polyethylene terephthalate) เปนพอลิเอสเตอร เชิงเสนตรงที่อิ่มตัวที่สําคัญที่สุด ซึ่งมีลักษณะใส เหนียว ไมเปราะแตกงายจึงนิยมนํามาใชในงานเกี่ยวกับ อาหาร และยา ขวดเพทนี้จะใสเหนียว ไมแตกงายๆ ทนตอความดันกาซไดสูง ทั้งยังผาน FDA (คณะ กรรมการอาหารและยา) เรียบรอยแลว ใชบรรจุน้ําอัดลม น้ําดื่ม บรรจุอาหาร สุรา ยา เครื่องสําอาง ใน รูปของจาน ชาม สามารถแชตูเย็น อุนในหมอน้ําเดือด จนถึงเสริฟบนโตะอาหารไดเลย 7

อยางไรก็ดีแมวาพลาสติกจะเปนผลิตภัณฑที่มีคุณสมบัติหลากหลาย แตความสวยงามเมื่อเทียบ กับภาชนะและบรรจุภัณฑตางๆ ที่ผลิตจากแกวก็ดอยกวามาก จึงไดมีการพัฒนาพลาสติกชนิดพอลิ คารบอเนต (Polycarbonate, PC) และ พอลิเมทิลเมตราอไครเลท (Polymethyl methacrylate, PMMA) แมความงามของพลาสติก 2 ชนิดนี้จะยังไมเทียบเทาแกวแตรวมคุณสมบัติ “ตกไมแตก” ก็นาจะเปนอีก ทางเลือกที่นาสน PC เปนพอลิเมอรในตระกูลพอลิเอสเทอร ถูกจัดอยูในกลุมพลาสติกวิศวกรรม ที่โปรงใส แข็ง เหนียว ทนความรอน ทนทานตอกรดแตไมทนดาง ทนแรงกระแทกและรอยขีดขวนไดดี ใชทําขวดนมเด็ก ถวยชาม สวนประกอบรถยนต กระจกหนาหมวกนักบิน แวนตานิรภัย เลนสกลองถายภาพ หลังคาโปรง แสง เครื่องปองกันอัคคีภัย ใชเปนสวนประกอบของอุปกรณทางการแพทยที่ตองฆาเชื้อโรคดวยความรอน PMMA เปนพอลิเมอรที่ใส ไมมีสี สามารถใหแสงสองผานไดถึง 92% มีความแข็งแกรง และ ทนทานตอดินฟาอากาศไดดีกวาพอลิสไตรีน สมบัติเชิงกล และความคงทนตอความรอนดีมาก สวนสมบัติ การเปนฉนวนไฟฟาดีปานกลาง เนื่องจากสมบัติเดนของ PMMA คือ ความโปรงใส และการนําไปยอมสีได งาย จึงถูกนําไปใชเปนสวนประกอบของเครื่องใชไฟฟา และสวนประกอบรถยนต เชน ไฟเลี้ยว ไฟทาย กระจกรถยนต หนาปดเข็มไมล ประโยชนการใชงานอื่นๆ เชน ปายโฆษณา แวนตา เลนส ใชทํา กระจกแทนแกว หลังคาโปรงแสง กอกน้ํา เครื่องสุขภัณฑ เครื่องประดับ เปนตน ยังมีพอลิเมอรอีกชนิดที่เราคุนเคยในดานความงามนั่นคือ “ซิลิโคน” ซึ่งเราๆ อาจจะรูจักในฐานะ วัสดุเสริมขนาดหนาอกหรือเสริมจมูกในการศัลยกรรมความงาม แตซิลิโคนยังใชในการผลิตเปนจุกนม สําหรับเด็ก แผนเจลรักษาแผลเปนที่ปูดนูน กาวซิลิโคน ฉนวนหุมสายไฟและสายยางได สําหรับผูคิดคน

8

ซิลิโคนคือ ดร.ยูจีน จอรจ โรเชาว (Dr.Eugene George Rochow) ซึ่งผลิตซิลิโคนขึ้นครั้งแรกใน ค.ศ. 1943

จากขางตนจะเห็นไดวา พลาสติกมีประโยชนมากจนกลาวไมหมดจริงๆ จนมีคาํ พูดทีน่ าประทับใน วา “Plastics Make It Possible” ซึ่งจะเห็นไดจากรูปขางลางนี้ (อยางที่เขาวากันวา รูปภาพสามารถแทน ลานคําพูด ใชไหมคะ?)

9

รูปที่ 4 ประโยชนของพลาสติก

10

เอกสารอางอิง 1. http://www.teachingplastics.org/hands_on_plastics/intro_to_plastics/teachers.html 2. http://www.plastiquarian.com 3. http://www.mtec.or.th/th/news/q_a/qa41.html 4. http://www.plasticsmakeitpossible.org 5. http://www.scienceandsociety.co.uk/results.asp?txtkeys1=French

โครงการฟสกิ สและวิศวกรรม โทร 0 2201 7161 e-mail [email protected] 1 สิงหาคม 2549

11

Related Documents

Pep 8 2549 Plastic-5
October 2019 8
2549
June 2020 3
Pep
June 2020 14
Pep
November 2019 32
Pep Cid
November 2019 31
2549-1-01
May 2020 4