มหัศจรรย์อัลกุรอ่าน

  • Uploaded by: wanee
  • 0
  • 0
  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View มหัศจรรย์อัลกุรอ่าน as PDF for free.

More details

  • Words: 6,516
  • Pages: 90
ความมหัศจรรยแหงอัลกุรอาน (Edited version)

ฮารูน ยะหยา กลุมปญญากร

The Miracle (3rd Draft).doc

เขียน แปล

04/01/2005

Page 8

สารบัญ ความมหัศจรรยของอัลกุรอานที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร............................................................................................10 บทนํา ....................................................................................................................................................11 การกําเนิดจักรวาล .....................................................................................................................................12 การขยายตัวของจักรวาล ..............................................................................................................................14 การแยกตัวออกจากกันของชั้นฟาและแผนดิน ....................................................................................................16 วงโคจร ..................................................................................................................................................18 โลกมีสัณฐานกลม .....................................................................................................................................21 หลังคาเปนดังเกราะปองกัน ..........................................................................................................................22 ฟาที่กลับคืนมา .........................................................................................................................................26 ชั้นของบรรยากาศ .....................................................................................................................................28 หนาที่ของภูเขา .........................................................................................................................................31 การเคลื่อนไหวของภูเขา ..............................................................................................................................34 ความมหัศจรรยของเหล็ก.............................................................................................................................36 การสรางสรรคเปนคู ..................................................................................................................................37 สัมพันธภาพแหงเวลา .................................................................................................................................38 ดุลยภาพแหงฝน .......................................................................................................................................40 การกอตัวของฝน ......................................................................................................................................42 ลมที่ทําใหเกิดฝน ......................................................................................................................................46 ทะเลไมล้ําเขตกัน ......................................................................................................................................48 ความมืดในทะเล และคลื่นใตน้ํา ....................................................................................................................50 สวนที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของมนุษย...........................................................................................................53 การกําเนิดของมนุษย ..................................................................................................................................54 น้ํานมมารดา ............................................................................................................................................64 ลักษณะเฉพาะที่พบในลายนิ้วมือ ...................................................................................................................65

ขอมูลอนาคตที่ปรากฏในกุรอาน ..............................................................................................................66 ความนํา .................................................................................................................................................67 ชัยชนะของชาวไบเซนไทน ..........................................................................................................................68

ประวัติศาสตรกับความมหัศจรรยของอัลกุรอาน .........................................................................................72 “ฮามาน” ในอัลกุรอาน...............................................................................................................................73

ตําแหนงผูปกครองอียิปตในกรุอาน.................................................................................................................76

บทสงทาย อัลกุรอาน วจนะของพระผูเปนเจา.............................................................................................78 ความเขาใจผิดเรื่องวิวัฒนาการ .................................................................................................................80 The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 9

ความมหัศจรรยของอัลกุรอานที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 10

บทนํา กวา 14 ศตวรรษมาแลวทีเ่ อกองคอัลลอฮ (ซ.บ.) ไดประทานคัมภีรอัลกุรอาน ลงมายังมนุษยเพื่อใหเปน คัมภีรแหงทางนํา พระองคเรียกรองใหมนุษยรับการชีน้ ําสูสัจธรรมดวยการยึดมัน่ ตออัลกุรอาน นับตั้งแตวาระแรก แหงการประกาศโองการจวบจนกระทั่งถึงวันแหงการตัดสิน อัลกุรอานจะยังคงเปนทางนําหนทางเดียวสําหรับมวล มนุษยชาติ รูปแบบที่หาทีเ่ ปรียบไมไดของอัลกุรอาน ตลอดจนวิทยปญญาอันล้ําเลิศที่ปรากฏอยูในอัลกุรอาน เปน หลักฐานอยางชัดเจนวา อัลกุรอานนั้นเปนวจนะของเอกองคอัลลอฮ (ซ.บ.) ยิง่ ไปกวานัน้ อัลกุรอานยังไดแจงถึง เหตุการณที่อยูเหนือกฎเกณฑตางๆ เอาไวอยางมากมาย อันเปนขอพิสูจนวา อัลกุรอาน คือคัมภีรที่พระผูเปนเจา ประทานลงมา ลักษณะประการหนึ่งก็คือ เรื่องที่เปนความจริงทางวิทยาศาสตรจํานวนมาก ที่มนุษยเราเพิง่ คนพบ ดวยเทคโนโลยีในยุคศตวรรษที่ 20 นัน้ มีกลาวอางอยูในอัลกุรอานเมื่อ 1,400 มาแลว แนนอนอัลกุรอานไมใชหนังสือวิทยาศาสตร แตอัลกุรอานก็ไดระบุถึงขอเท็จจริงทางดานวิทยาศาสตร ที่ คนพบดวยเทคโนโลยีในยุคศตวรรษที่ 20 เอาไวอยางลึกซึ้งและรัดกุม ในชวงเวลาทีอ่ ัลกุรอานไดเริ่มเผยแพรนนั้ ขอเท็จจริงเหลานี้ยงั ไมเปนที่รูกัน จึงเปนขอพิสูจนได วาอัลกุรอาน เปนวจนะของพระผูเปนเจา เพื่อที่จะเขาใจความมหัศจรรยในเชิงวิทยาศาสตรของอัลกุรอาน เราควรจะทราบระดับของความรูทาง วิทยาศาสตรในขณะนัน้ ในชวงเวลาที่คัมภีรเลมนี้ประทานลงมา ในศตวรรษที่ 7 ซึง่ เปนชวงเวลาที่อัลกุรอานประทานลงมานัน้ สังคมอาหรับมีความเชื่อเรื่องอิทธิปาฏิหาริย อยางไรเหตุผลทางวิทยาศาสตร เพราะขาดวิทยาการที่จะศึกษาตรวจสอบหรือตั้งขอสังเกตตอจักรวาลและ ธรรมชาติ ชาวอาหรับในยุคแรกๆ เชื่อเรื่องตํานานที่เลาสืบทอดกันมาตั้งแตบรรพบุรุษ ตัวอยางเชนพวกเขาเชื่อวา ภูเขาชวยหนุนฟาเอาไว โดยโลกนั้นมีลกั ษณะแบนราบ มีภูเขาขนาดใหญอยูที่ปลายทัง้ สองขางของโลก ภูเขา เหลานั้นคือเสาที่ค้ํายันหลังคาฟาเบื้องบน อยางไรก็ตามความเชื่อเรื่องอิทธิปาฏิหาริยของสังคมอาหรับไดถูกขจัดออกไปโดยอัลกุรอาน ซูเราะฮอัร เราะอฺดฺ อายะฮที่ 2 ความวา “อัลลอฮ คือผูทรงยกชัน้ ฟาทั้งหลายเอาไวโดยปราศจากเสาค้ําจุน..” (13:2) อา ยะฮนี้ไดลบลางความเชื่อทีว่ า ทองฟาลอยอยูไดเพราะมีภูเขาค้ํายัน ยังมีขอเท็จจริงที่สาํ คัญอีกหลายเรื่องที่เปดเผย ขึ้นมาในชวงเวลาที่ผูคนยังขาดความรู ความเขาใจ อัลกุรอาน ซึง่ ถูกประทานลงมาในชวงเวลาที่มนุษยยังมีความรูอยางจํากัดในเรื่องดาราศาสตร ฟสกิ ส หรือ ชีววิทยานัน้ กลับปรากฏขอมูลที่สําคัญในเรื่องที่เกี่ยวของกับวิชาตางๆเหลานี้ เชน เรื่องการกําเนิดสุริยจักรวาล การกําเนิดมนุษย โครงสรางของชั้นบรรยากาศ และความสมดุลที่เหมาะสมที่สุดทีท่ าํ ใหชวี ิตบนโลกดํารงอยูได ทีนี้เรามาลองดูปรากฏการณตางๆทางวิทยาศาสตรทกี่ ลาวไวในอัลกุรอาน

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 11

การกําเนิดจักรวาล การปรากฏของจักรวาลนัน้ กุรอานไดอธิบายไวในซูเราะฮอันอาม อายะฮที่ 101 ความวา “อัลลอฮเปนผูทรงประดิษฐชั้นฟาและแผนดิน...” (อัลกุรอาน 6:101) สิ่งที่ไดระบุไวในอัลกุรอานนัน้ สอดคลองกับการคนพบทางวิทยาศาสตรในปจจุบันซึง่ มีขอสรุปของวิชาฟสกิ ส ทางดาราศาสตรวา ทัว่ ทัง้ จักรวาลตลอดจนมิติตางๆของสสารและเวลา บังเกิดขึ้นสืบเนื่องจากผลของการระเบิด ครั้งใหญที่เกิดขึ้นอยางฉับพลัน เหตุการณครั้งนั้นเรียกวา “บิ๊กแบง (Big Bang)” ซึ่งพิสูจนวาจักรวาลเกิดขึ้นมา จากการระเบิดของสิ่งๆหนึ่ง วงการวิทยาศาสตรสมัยใหมยอมรับวา “บิ๊กแบง” เปนเหตุผลเดียวเทานั้นที่ใชอธิบาย การกําเนิดและปรากฏของจักรวาล กอนหนา “บิก๊ แบง” ไมมสี ิ่งใดปรากฏอยูเลยไมวา จะเปนสสาร พลังงานหรือแมแตเวลา บิ๊กแบงจึงเปน คําอธิบายเชิงอภิปรัชญาไดประการเดียวเทานั้นวา สิ่งเหลานั้นถูกสรางขึ้นมา ขอเท็จจริงทางฟสกิ สสมัยใหมที่เพิ่ง จะคนพบเมื่อไมนานมานีน้ นั้ เปนสิง่ ที่ปรากฏอยูในอัลกุรอานเมื่อ 1,400 ปมาแลว สวนที่เปนสีน้ําตาล เขมแสดงถึงรังสีที่ ปรากฏอยูกอน

สวนที่เปนสีชมพู ออน แสดงถึงสวนที่ ยังรอนอยู

สวนที่เปนสีชมพูเขม แสดงถึงพื้นที่ที่รอ น ที่สุด

สวนที่เปนสีน้ําตาล ออน แสดงถึงสวนที่ เย็น

เครื่องตรวจจับภาพบนดาวเทียม Cobe ซึ่งองคการนาซาสงขึ้นสูอวกาศในป 1992 ไดจับภาพรองรอยที่เหลืออยูของ “บิ๊กแบง” การคนพบครั้งนี้ถือเปนหลักฐานในการอธิบายเชิงวิทยาศาสตรไดวาจักรวาลนั้น ถูกสรางขึ้นจากความวาง เปลา

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 12

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 13

การขยายตัวของจักรวาล อัลกุรอานประทานลงมาเมื่อ 14 ศตวรรษที่แลว ซึง่ ในขณะนัน้ ความรูทางดานดาราศาสตรยังอยูในชวงเริม่ ตน แตอลั กุรอาน ก็ได กลาวถึงการขยายตัวของจักรวาลไวแลว ในซูเราะฮอัซซาริยาต ความวา “และเราไดสรางฟามาใหแข็งแกรง และแทจริงเราเปนผูขยายมันออก” (อัลกุรอาน 51:47) คําวา “ฟา” ในอายะฮนี้ปรากฏอีกหลายแหงในอัลกุรอานโดยมี ความหมายถึงอวกาศและจักรวาล ในอายะฮนกี้ ็ใชในความหมายเชนนั้น กลาวอีกนัยหนึ่งวา อัลกุรอานไดเปดเผยวา จักรวาลนัน้ มีการแผขยายซึ่ง ก็เปนขอสรุปทีว่ ิทยาศาสตรเพิ่งคนพบนั่นเอง ตนศตวรรษที่ 20 นักฟสิกสชาวรัสเซียชือ่ อเล็กซานเดอร ฟรีด มันน (Alexander Friedmann) และนักดาราศาสตรชาวเบลเยี่ยม ชื่อวา จอรจ เลอแมตร (Georges Lemaitre) ไดคํานวณตามหลัก ทฤษฏีแลว พบวาจักรวาลนั้นมีการเคลื่อนไหวอยางคงที่และกําลัง คอยๆขยายตัวออก ขอเท็จจริงนี้ยงั ไดรับการพิสจู นอีกจากขอมูลในการศึกษา สังเกตในป ค.ศ.1929 นักดาราศาสตรชาวอเมริกนั เอ็ดวิน ฮับเบิล (Edwin Hubble) ซึ่งไดเฝาสังเกตทองฟาดวยกลองเทเลสโคปอยูนนั้ พบวา ดวงดาวตางๆและกาแลคซี ตางก็เคลื่อนตัวออกหางจากกัน อยางสม่ําเสมอ การที่สงิ่ ตางๆในจักรวาลเคลื่อนตัวออกหางจากกัน ยอมหมายความวาจักรวาลนัน้ มีการขยายตัวอยางตอเนื่อง นั้น การศึกษาสังเกตที่มีตอมาอีกหลายป ยืนยันไดวาจักรวาลแผ ขยายตัว ขอเท็จจริงในเรื่องนี้มีอธิบายอยูแ ลว ในอัลกุรอานตั้งแตยงั ไมมีผูใดรูเรื่องนี้เลย ทั้งนี้เพราะวาอัลกุรอานนั้นเปนวจนะของเอก องคอัลลอฮ (ซ.บ.) ผูทรงสรางและบริหารจักรวาล ทัง้ มวล

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

เอ็ดวิน ฮับเบิล และกลองเทเลสโคป ขนาดใหญของเขา

จอรจ เลอแมตร

Page 14

ในชวงเวลาที่เกิดปรากฏการณ “บิ๊กแบง” จักรวาลขยายตัวในอัตราคงทีด่ วยความเร็วสูงมาก นักวิทยาศาสตร ไดเปรียบเทียบการขยายตัวของจักรวาลเหมือนผิวของลูกโปงที่ขยายตัวออกมา

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 15

การแยกตัวออกจากกันของชั้นฟาและแผนดิน อีกตอนหนึ่งที่เกี่ยวกับการสรางชัน้ ฟาปรากฏอยูใน ซูเราะฮ อัลอัมบิยาอฺ อายะฮที่ 30 ความวา “และบรรดาผูปฏิเสธศรัทธาเหลานัน้ ไมเห็นดอกหรือวาแทจริงชั้นฟาทั้งหลายและแผนดินนั้น แตกอนนี้รวมติดเปนผืนเดียวกันแลวเราไดแยกมันทั้งสองออกจากกัน เราไดทําใหทกุ สิ่งมีชีวิตจากน้ํา ดังนั้น พวกเขายังไมศรัทธาอีกหรือ” (อัลกุรอาน 21:30) คําวา “รอตะกอ” ตามพจนานุกรม แปลวาเย็บติดกัน ซึ่งหมายความวา แตละอยางผสมกัน หรือผสม กลมกลืนกัน คํานี้จะใชกับสิ่งสองสิง่ ที่ตางกันแตนํามารวมเปนสิ่งเดียวกัน สวนวลีที่วา “เราไดแยกออก” มาจาก คํากริยา “ฟะตะกอ” ซึง่ ใชกบั สิ่งที่เกิดขึ้นใหมจากการแยกออกหรือการทําลายโครงสรางของ ”รอตะกอ“ (ยึดติดกัน ไว) การที่เมล็ดพืชงอกขึน้ มาจากพืน้ ดิน เปนตัวอยางหนึ่งของความหมายของกริยานี้ จากความรูนเี้ ราลองกลับไปดูอายะฮนี้อีกครั้งหนึง่ อายะฮนี้กลาวไววา ชั้นฟาและแผนดินนั้น ในระยะแรกได อยูในสภาพของ รอตะกอ (ยึดติดกันไว) และตอมาจึงถูก ฟะตะกอ (แยกออกจากกัน) เปนเรื่องทีน่ าทึ่งมาก ถาหาก เรานึกไปถึงระยะแรกของบิ๊กแบง เราจะพบวาเพียงจุดจุดเดียวนัน้ ไดรวมทุกๆสิง่ ในจักวาล ทัง้ “ชั้นฟาและแผนดิน” ซึ่งในขณะนั้นยังไมไดบังเกิดขึ้นมาดวยซ้าํ ทุกสิ่งรวมอยูในสภาพ รอตะกอ (ยึดติดกันไว) และเมือ่ มีการระเบิดขึ้น อยางรุนแรงก็เปนเหตุใหเกิด ฟะตะกอ (แยกออกจากกัน) แลวจึงเริ่มขัน้ ตอนในการสรางจักรวาล เมื่อเปรียบเทียบสิ่งที่อายะฮนี้ไดอธิบายไวกับสิ่งทีว่ ิทยาศาสตรไดคนพบ เราจะเห็นวา ขอมูลทั้งสองตาง ยืนยันความถูกตองของกันและกัน แตทวาสิ่งทีน่ าสนใจยิง่ กวานั้นก็คือ การคนพบเรื่องเหลานีโ้ ดยทางวิทยาศาสตร เพิ่งจะปรากฏในศตวรรษที่ 20 นี้เอง

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 16

ภาพนี้อธิบายถึง ทฤษฎีบิ๊กแบง ที่แสดงใหเห็นอีกครั้งหนึ่งวา พระผูเปนเจาไดสรางจักรวาลจากความวางเปลา บิ๊กแบง เปนทฤษฎีที่พิสูจนแลวโดยหลักฐานทางวิทยาศาสตร แมวานักวิทยาศาสตรบางคนพยายามโตแยงทฤษฎีนี้ดวยทฤษฏี อื่นๆ แตหลักฐานทางวิทยาศาสตรที่เปนตนกําเนิดของทฤษฎีนี้ ก็เปนที่ยอมรับกันอยางกวางขวาง ในวงการ วิทยาศาสตร

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 17

วงโคจร การกลาวถึงดวงอาทิตยและดวงจันทรในอัลกุรอานนั้น มีการเนนย้ําวาทัง้ สองตางมีวงโคจรที่แนนอนเฉพาะ ตน ในซูเราะฮ อัลอัมบิยาอฺ ความวา “และอัลลอฮ ทรงสรางกลางวันและกลางคืน ดวงอาทิตยและดวงจันทร ซึ่งทุกๆสิง่ ลวนโคจรในจักรราศี” (อัลกุรอาน 21:33) ในซูเราะฮยาซีนอายะฮหนึง่ กลาวเอาไวอกี วา ดวงอาทิตยนนั้ ไมไดอยูกับที่ แตเคลื่อนไปตามวงโคจรที่ แนนอน ความวา “และดวงอาทิตยยอมโคจรไปตามตําแหนงสถิตของมันเอง การนั้นเปนการกําหนดของผูทรงอํานาจยิ่ง ผูทรงรอบรูยิ่ง” (อัลกุรอาน 36:38) ความจริงทัง้ หลายทีป่ รากฏอยูในอัลกุรอานนัน้ เพิง่ ถูกคนพบโดยการศึกษาสังเกตทางดาราศาสตรในสมัย ของเรานี้เอง จากการคํานวณของนักดาราศาสตร ดวงอาทิตยจะเดินทางดวยความเร็วสูงถึง 720,000 กิโลเมตร/ ชั่วโมง ในทิศทางของดาวเวกา ที่วงโคจรเฉพาะตัว เรียกวาโซลาร เอเพ็กซ (Solar Apex) นั่นหมายความวา ดวง อาทิตยจะเดินทางประมาณวันละ 17,280,000 กิโลเมตร และทีเ่ ดินทางไปพรอมดวงอาทิตยดวยนัน้ มีทั้งดาว เคราะหตางๆและดาวบริวารในขอบเขตแรงดึงดูดของดวงอาทิตย ซึ่งโคจรไปในทิศทางเดียวกัน ยิ่งไปกวานัน้ ดวงดาวทัว่ ทัง้ จักรวาล ก็มีลกั ษณะการเดินทางที่ถกู กําหนดไวแลวเชนเดียวกัน ความจริงทีว่ า ทัง้ จักรวาลเต็มไปดวยเสนทางและวงโคจรที่มีลกั ษณะคลายกันเชนนี้ ไดปรากฏอยูในอัลกุรอานซูเราะฮ อัซซาริยาต วา “ขอยืนยันดวยฟากฟาที่มชี องการโคจร อยางมากมายยิ่ง” (อัลกุรอาน 51:7) ในจักรวาลมีกลุมดาวอยูประมาณ 2 แสนลานกลุม ในแตละกลุม มีดวงดาวประมาณ 2 แสนลานดวง ดวงดาวสวนใหญประกอบดวยดาวเคราะห และดาวเคราะหสวนใหญจะมีดาวบริวาร สวนประกอบของจักรวาล ทั้งหมดนี้ จะเคลื่อนไปในวงโคจรทีก่ ําหนดไวอยางเที่ยงตรง นับเปนเวลาหลายลานปมาแลวที่ดาวแตละดวง เดินทางหมุนเวียนอยูในวงโคจรอยางเปนระบบและสอดคลองกับดาวอื่นๆ ยิ่งไปกวานั้นยังมีดาวหางตางๆที่ เดินทางอยูในวงโคจรที่กําหนดไว

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 18

วงโคจรตางๆในจักรวาลนัน้ ไมไดมีเฉพาะวงโคจรของดวงดาวเทานัน้ กาแลคซีตางๆก็โคจรดวยความเร็วสูง มากบนวงโคจรที่คํานวณและกําหนดไวเชนกัน ในระหวางวงโคจรนัน้ จะไมมีดาวดวงใดเลยที่จะโคจรตัดขามไปยัง วิถีโคจรของดาวดวงอื่นหรือเกิดการปะทะกันกับดาวดวงอื่น

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 19

ในชวงที่อัลกุรอานประทานลงมานัน้ ยังไมมีกลองดูดาวอยางทุกวันนี้ และไมมีเทคโนโลยีที่ทนั สมัย ในการศึกษาสังเกตอวกาศทีห่ างไกลออกไปนับ ลานๆกิโลเมตร อีกทั้งยังไมมีความรูท างฟสกิ สหรือดาราศาสตรที่ทนั สมัย ดังนัน้ ในชวงเวลาดังกลาว เปนไปไมไดที่จะใชความรูท างวิทยาศาสตรในสมัย นั้น มาอธิบายวา อวกาศ “เต็มไปดวยเสนทางและวงโคจร” เหมือนดังที่ปรากฏ อยูในอายะฮอลั กุรอาน ซึ่งเปนหลักฐานหนึ่งที่ยนื ยันวา อัลกุรอานนั้นเปนวจนะ ของพระผูเปนเจา

ดาวหางฮัลเลยก็เหมือนดาวหางอื่นๆในจักรวาล ที่โคจรตาม วงโคจรที่ถูกกําหนดไว เปนวงโคจรที่เฉพาะเจาะจงและมี เสนทางเดินอยางเปนระเบียบรวมกับดาวอื่นๆบนทองฟา ดาวทุกดวงบนทองฟารวมทั้งดาวเคราะหและดาวบริวาร ดาว ฤกษ หรือแมแตกาแลคซี ตางก็มีวงโคจรที่เปนของตนเอง ซึ่ง ไดถูกกําหนดไวจากการคํานวณอยางละเอียด และผูที่สราง ระบบที่สมบูรณแบบเชนนี้ขึ้นมา พรอมกับดูแลรักษาระบบ นั้น ก็คือพระผูเปนเจาผูทรงสรางสรรพสิ่งทั่วทั้งจักรวาล

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 20

โลกมีสัณฐานกลม “พระองคทรงสรางชั้นฟาทั้งหลาย และแผนดินดวยความจริงอันชัดแจง พระองคทรงให กลางคืนที่คาบเกี่ยวเขาไปในกลางวัน และทรงใหกลางวันคาบเกี่ยวเขาไปในกลางคืน…” (อัลกุรอาน 39:5) ในอัลกุรอาน คําที่ใชบรรยายถึงจักรวาลนั้นนาสนใจยิ่ง คํา ภาษาอาหรับวา “ ตักวีร ” หมายความวา “สิ่งหนึ่งเกยซอนกับอีก สิ่งหนึ่ง เหมือนกับการพับผา” (พจนานุกรมภาษาอาหรับอธิบาย วา เปนการพันสิ่งหนึ่งเขากับอีกสิ่งหนึ่ง) ขอความในอายะฮ เกี่ย วกับเวลากลางวันและกลางคืน ที่ คาบเกี่ยวซึ่งกันและกัน แสดงขอมูลที่ถูกตองเกี่ยวกับสัณฐานของ โลก การคาบเกี่ยวกันในลักษณะดังกลาวจะเปนไปไดก็ตอเมือ่ โลก มีรูปทรงกลมเทานั้น ความจริงขอนี้ไดปรากฏชัดอยูในอัลกุรอาน ตั้งแตศตวรรษที่ 7 แลว ทั้งที่ในขณะนั้นเรื่องสัณฐานกลมของโลก ยังไมมีใครรูเลย อย า งไรก็ ต ามเราควรตระหนั ก ว า ความเข า ใจทางดารา ศาสตรในเวลานั้น ทําใหเรารับรูเกี่ยวกับโลกไดแตกตางกัน แต กอนนั้นเคยเชื่อกันวา โลกแบน การคํานวณและการอธิบายทาง วิทยาศาสตรลวนอาศัยความเชื่อนี้ แตทวาขอความในอัลกุรอาน กลั บ มี ข อ มู ล ที่ ม นุ ษ ย เ พิ่ ง จะค น พบกั น เมื่ อ ศตวรรษที่ แ ล ว นี้ เ อง เนื่องจากอัลกุรอานเปนวจนะของพระผูเปนเจา ทุกถอยคําในอัลกุ รอานจึงเปนจริงเสมอ รวมทั้งเรื่องที่กลาวถึงจักรวาลก็เชนกัน

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 21

หลังคาเปนดังเกราะปองกัน พระผูเปนเจาทรงสอนใหเราตระหนักถึงลักษณะทีน่ า สนใจยิ่งของทองฟา ไวในอัลกุรอาน ซูเราะฮอัลอัมบิยาอ: “ และเราไดทําใหชั้นฟาเปนหลังคา ถูกรักษาไวไมใหหลนลงมา และพวกเขาก็ยังหันหลังใหสัญญาณตางๆของมัน ” (อัลกุรอาน 21:32) ลักษณะดังกลาวไดรับการพิสูจนแลวจากการวิจยั ทางวิทยาศาสตรในศตวรรษที่ 20 บรรยากาศที่ลอ มรอบโลกนัน้ มีหนาที่สาํ คัญตอการดํารง อยูของสิ่งมีชวี ติ สะเก็ดดาวทั้งเล็กและใหญจะถูกทําลายขณะที่ เขามาใกลพนื้ โลก เปนการปองกันมิใหตกสูพนื้ โลกและเปน อันตรายตอสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ ชั้นบรรยากาศยังกรองรังสีทเี่ ปนอันตรายตอ สิ่งมีชีวิตเอาไวดวย ที่นา สนใจก็คือจะมีเพียงรังสีที่ไมเปน อันตรายและมีประโยชนเทานัน้ ที่ผา นมายังโลกเรา นัน่ คือ แสงที่ สามารถมองเห็นได รังสีใกลอัลตราไวโอเลตและคลื่นวิทยุ ซึ่ง จําเปนตอสิง่ มีชีวิต รังสีใกลอัลตราไวโอเลต ซึ่งจะผานชั้น บรรยากาศลงมาบางสวน ใชสําหรับการสังเคราะหแสงของพืช และการดํารงอยูของสิ่งมีชวี ติ ทั้งหลาย สวนรังสีอัลตราไวโอเลต เขมขนจากแสงอาทิตยสวนใหญจะถูกกรองโดยชัน้ โอโซน มี เฉพาะบางสวนที่จาํ เปนเทานั้นที่มาถึงผิวโลก หนาที่ในการปองกันโลกยังไมหมดเพียงเทานี้ ชัน้ บรรยากาศยังปองกันโลกจากความหนาวเย็นของอวกาศที่มี ชั้นบรรยากาศจะปลอยใหแสงที่เปนประโยชน ตอสิ่งมีชีวิตผานมายังพื้นโลกเทานั้น ดัง อุณหภูมิถึง -270 องศาเซลเซียส อีกดวย ตัวอยางของรังสีอัลตราไวโอเลตที่สามารถผาน ลงมายังโลกเพียงบางสวน เฉพาะที่จําเปนใน การสังเคราะหแสงของพืช และในการดํารงชีพ ของสิ่งมีชีวิต

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 22

ภาพสะเก็ดดาวที่พุงมายังโลก เปนวัตถุที่ลองลอยอยูในอวกาศ และอาจเปนอันตรายอยางยิ่งตอ โลก แตพระผูเปนเจาทรงสรางทุก สิ่งอยางลงตัว ไดทรงสรางชั้น บรรยากาศมาเปนหลังคาปกปอง โลก ทําใหสะเก็ดดาวตางๆ กลายเปนเศษเล็กเศษนอยในชั้น บรรยากาศ กอนที่จะตกลงมาถึง โลก

ผูคนสวนมากที่มองทองฟามักไมไดนึกถึงความสําคัญของชั้นบรรยากาศในการปกปองโลก เราแทบไมทันคิดกันเลยวา โลกจะเปนอยางไรถาปราศจากระบบปองกันเชนนี้ ภาพนี้เปนภาพหลุมยักษอันเกิดจากสะเก็ดดาวที่ตกลงมายังเมือง อริโซนา สหรัฐอเมริกา หากไมมีชั้นบรรยากาศ สะเก็ดดาวจํานวนนับลานคงจะตกมายังโลก ซึ่งจะทําใหไมเหลือ สิ่งมีชีวิตอยูบนโลกอีกตอไป ชั้นบรรยากาศซึ่งทําหนาที่ปกปองโลกจึงชวยใหสิ่งมีชีวิตดํารงอยูไดอยางปลอดภัย นี่คือ การที่พระผูเปนเจาทรงปกปองคุมครองมนุษย นับเปนความมหัศจรรยทปี่ ระกาศไวในอัลกุรอานโดยแท

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 23

พลังเผาผลาญที่ปะทุจากดวงอาทิตย มีความ รุนแรงมากเกินกวาที่มนุษยจะประมาณได การ ปะทุเพียงครั้งเดียวเทากับ แรงระเบิดปรมาณูที่ ถลมเมืองฮิโรชิมาถึงหนึ่งแสนลานลูก แตโลกนี้ ก็ไดรับการปกปองจากชั้นบรรยากาศและแนว แวนอัลเลน

เหนือจากชั้นบรรยากาศของโลกขึ้นไป จะเปนอากาศที่ หนาวจัด โลกไดรับการปกปองจากชั้นบรรยากาศใหพน จากความหนาวจัดที่มีอุณหภูมิถึง - 270 องศาเซลเซียส

ชั้นบรรยากาศแมกเนโตสเฟยร เกิดจากสนามแมเหล็กโลกซึ่งทําหนาที่เปนเกราะปองกันโลกจากรังสีคอสมิกและจาก วัตถุตางๆในอวกาศ ภาพนี้แสดงชั้นบรรยากาศแมกเนโตสเฟยร ซึ่งเรียกไดอีกอยางวา “แนวแวนอัลเลน” แนวเหลานี้ อยูเหนือโลกขึ้นไปถึง 1,000 กิโลเมตร ทําหนาที่ปกปองสิ่งมีชีวิตในโลกจากอันตรายตางๆในอวกาศ ซึ่งการคนพบทาง วิทยาศาสตรพิสูจนแลววา เปนการปกปองที่ไดผล สิ่งที่สําคัญก็คือ การปกปองดังกลาวนี้ปรากฏอยูในอัลกุรอาน 1,400 ปมาแลวในอายะฮที่วา “เราไดทําใหชั้นฟาเปนหลังคาที่ปกปองและคุมครอง” The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 24

ไมเพียงแตชั้นบรรยากาศเทานั้นที่ปกปองโลกจากสิ่งอันตรายตางๆ ยังมีชั้นบรรยากาศที่เรียกวา แนวแวนอัล เลน (Van Allen Belt ) ซึ่งเกิดจากสนามแมเหล็กของโลก ทําหนาที่เปนเกราะปองกันอนุภาคกัมมันตรังสีจากดวง อาทิตยและดาวอื่นๆ หากไมมีแนวแวนอัลเลน พลังงานที่เกิดจากการปะทุบนดวงอาทิตย (พลังงานโซลาร) มี ความรุนแรงจนสามารถทําลายสิ่งมีชีวิตทั้งหลายบนโลกนี้ ดังคํากลาวของ ดร. ฮิวจ รอสส (Dr. Hugh Ross) ดังนี้ “ในความเป น จริ ง แล ว โลกเป น ดาวที่ มี ค วามหนาแน น มากที่ สุ ด ในระบบสุ ริ ย จั ก รวาล แกนโลกซึ่ ง ประกอบดวยธาตุเหล็กและนิกเกิลนี้ ทําใหเกิดสนามแมเหล็กที่กอใหเกิดแนวแวนอัลเลน ซึ่งเปนเกราะปองกันมิให รังสีตางๆพุงตรงเขามา หากปราศจากเกราะกําบังนี้ สิ่งมีชีวิตตางๆก็ไมสามารถดํารงอยูไดในโลก ดาวพุธเปนดาว เคราะหอีกเพียงดวงเดียวที่มีสนามแมเหล็ก แตก็มีพลังนอยกวาโลกถึง 100 เทา แมแตดาวศุกรซึ่งมีลักษณะ ใกลเคียงกับโลก ก็ยังไมมีสนามแมเหล็ก แนวแวนอัลเลนจึงนับวาออกแบบมาเปนเอกลักษณเฉพาะโลกเราจริงๆ” 1 พลังโซลารจากดวงอาทิตยที่เพิ่งตรวจพบเมื่อเร็วๆนี้ เมื่อ เทียบกับแรงระเบิดปรมาณู ที่ถลมเมืองฮิโรชิมาก็จะเทากับ 1 แสนลานลูก หลังจากการปะทุ 58 ชั่วโมงจะสังเกตไดวาเข็มทิศชี้ ตางไปจากเดิม และที่ 250 กิโลเมตรเหนือชั้นบรรยากาศของ โลก อุณหภูมิจะสูงขึ้นถึง 2500 องศาเซลเซียส กลาวโดยสรุปวา ระบบที่สมบูรณแบบดังกลาวมาแลวนั้น ช ว ยปกป อ งโลกและป อ งกั น อั น ตรายจากนอกโลกนั้ น นักวิทยาศาสตรเพิ่งจะเรียนรูไมนานมานี้เอง แตพระผูเปนเจาได บอกแกเราในอัลกุรอานมาหลายศตวรรษแลว

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 25

ฟาที่กลับคืนมา อายะฮที่ 11 ซูเราะฮอัฏฏอริก ไดกลาวถึง “การกลับคืน” ของทองฟาไวดังนี้ “ ขอสาบานดวยชั้นฟาทีห่ ลั่งน้าํ ฝน” (อัลกุรอาน 86:11) คําวา “หลั่ง” ในอัลกุรอานมีความหมายถึง “สงกลับ” หรือ”การกลับคืนมา (วัฏจักร)” ดวย ดังที่รูกนั วา บรรยากาศรอบโลกนัน้ มีอยูห ลายชัน้ แตละชั้นลวนมีประโยชนตอสิ่งมีชวี ิตทั้งสิน้ จากงานวิจยั พบวา บรรยากาศชั้นตางๆมีหนาที่สะทอนสสารและรังสีกลับขึ้นไปยังอวกาศหรือสะทอนกลับลงมายังผืนโลก ลอง พิจารณาหนาที่ “วัฏจักร” ของชั้นบรรยากาศตางๆดังนี้ ชั้นโทรโพสเฟยร สูง 13 – 15 กิโลเมตรเหนือผิวโลก สามารถกลั่นไอน้ําที่ขึ้นมาจากผิวโลกใหยอนกลับลง มาเปนน้าํ ฝน ชั้นโอโซน ที่ระดับความสูง 25 กิโลเมตร สามารถสะทอนรังสีทเี่ ปนอันตรายและแสงอัลตราไวโอเลต ยอนกลับไปสูห วงอวกาศ ชั้นไอโอโนสเฟยร ทําหนาที่สะทอนคลื่นวิทยุจากจุดหนึ่งไปยังจุดอื่นๆบนผิวโลก เชนเดียวกับระบบ ดาวเทียมสื่อสารทางเดียว ซึง่ ทําใหการสื่อสารไรสาย การสงกระจายเสียงวิทยุ และการถายทอดโทรทัศนไดใน ระยะไกลมากขึ้น ชั้นแมกเนโทสเฟยร สะทอนอนุภาคกัมมันตรังสีที่เปนอันตรายจากดวงอาทิตยและดาวอื่นๆกลับไปยังหวง อวกาศกอนทีจ่ ะถึงโลก ขอมูลเกี่ยวกับคุณสมบัติของชั้นบรรยากาศที่คนพบเมื่อไมนานมานี้ กลับมีปรากฎอยูใ นอัลกุรอานหลาย ศตวรรษมาแลว เปนการย้ําอีกครั้งวา อัลกุรอานเปนวจนะของพระผูเปนเจา

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 26

น้ําในโลกนี้เปนสิ่งสําคัญสําหรับสิ่งมีชีวิต ปจจัย หนึ่งที่สําคัญตอการกําเนิดของน้ําก็คือ ชั้นโทร โพสเฟยร ซึ่งจะทําใหไอน้ําทีล่ อยขึ้นมาจากผิว โลกเกิดการควบแนนเปนฝนกลับไปตกลงบน พื้นโลก

โอโซโนสเฟยร คือ ชั้นบรรยากาศที่ชวยปองกัน รังสีที่อาจเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตบนโลก เชน อัลตราไวโอเลต โดยจะสะทอนรังสีนั้นกลับไป ยังอวกาศ

ชั้ น บรรยากาศแต ล ะชั้ น เป น ประโยชน ต อ สิ่งมีชีวิต ตัวอยาง ชั้นไอโอโนสเฟยรซึ่งเปนชั้น บรรยากาศสูงสุดชวยในการกระจายคลื่นวิทยุ เปนระยะทางไกลๆได

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 27

ชั้นของบรรยากาศ ขอเท็จจริงหนึง่ เกี่ยวกับจักรวาลที่ปรากฏในอัลกุรอาน คือ ทองฟาถูกสรางใหมี 7 ชั้น ดังซูเราะฮอัลบะเกาะ เราะฮ.: “พระองคคือผูที่ไดสรางสิง่ ทั้งมวลในโลกไวสาํ หรับพวกเจา ภายหลังไดทรงมุง สูฟากฟา และไดทําใหมันสมบูรณขนึ้ เปนเจ็ดชั้นฟา และพระองคนั้นทรงรอบรูในทุกสิ่งทุกอยาง ” (อัลกุรอาน 2:29) ซูเราะฮ อัลฟุศศิลัต : “ดังนั้นพระองคทรงสรางมันสําเร็จเปนชั้นฟาทั้งเจ็ดในระยะเวลา 2 วัน และทรงกําหนดในทุกชัน้ ฟาซึ่งหนาทีข่ องมัน ” (อัลกุรอาน 41:12) คําวา “ทองฟา” ซึ่งกลาวไวหลายอายะฮในอัลกุรอาน หมายถึง ทองฟาที่อยูเ หนือผิวโลก หรือหมายถึง จักรวาลทั้งหมดก็ได นั่นแสดงวา ทองฟาหรือบรรยากาศทีห่ อหุมโลกนัน้ มี 7 ชั้น ในปจจุบันมีการศึกษาพบวา บรรยากาศของโลก ประกอบดวยชั้นหลายชั้นที่แตกตางกัน และยิง่ กวานั้นยังพบวามี 7 ชั้น ดังที่ไดกลาวไวในอัลกุ รอานดวย

คุณสมบัติตางๆทั้งหมดของโลกลวนจําเปนตอสิ่งมีชีวิต ซึ่งสิ่ง หนึ่งคือ ชั้นบรรยากาศซึ่งทําหนาที่เปนเกราะกําบังแกสิ่งมีชีวิต ปจจุบันมีขอเท็จจริงที่วา ชั้นบรรยากาศประกอบดวยชั้นที่ แตกตางกันทับซอนกันอยู 7 ชั้น ตรงตามที่อัลกุรอานไดกลาว ไว แนนอนวานี่คือความมหัศจรรยประการหนึ่งของอัลกุรอาน

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 28

แหลงขอมูลดานวิทยาศาสตรไดอธิบาย เรื่องดังกลาวไวดังนี:้ นักวิทยาศาสตรพบวา บรรยากาศ ประกอบดวยชั้นตางๆ ซึ่งมีความแตกตาง กันทางกายภาพ ในเรื่องความดัน และ ชนิดของกาซที่เปนองคประกอบ โดยชัน้ โทรโพสเฟยร (TROPOSPHERE) เปนชัน้ ที่อยูใกลพื้นโลกมากที่สุด และมีมวลถึง 90 เปอรเซ็นตของบรรยากาศทั้งหมด ชัน้ ที่อยูถัดขึ้นไปคือ ชั้นสตารโทสเฟยร (STARTOSPHERE) และชั้นโอโซนซึ่ง เปนสวนหนึง่ ของชั้นสตารโทสเฟยร มี หนาที่ดูดซับรังสีอัลตราไวโอเลต ชั้นที่อยู ถัดขึ้นไปอีกคือ ชั้นเมโสสเฟยร (MESOSPHERE) ถัดไปคือ ชั้นเทอรโมส เฟยร (THERMOSPHERE) ซึ่งมีกาซแตก ตัวเปนประจุเกิดเปนอีกชัน้ หนึง่ อยูภายใน เรียกวา ชัน้ ไอโอโนสเฟยร (IONOSPHERE) สวนชัน้ ทีอ่ ยูนอกสุดมี ขอบเขตประมาณ 480 ถึง 960 กิโลเมตร เหนือพืน้ โลก คือชั้นเอกโซสเฟยร (EXOSPHERE) 2

เมื่อกวา 1,400 ปกอน ยังมีความเชื่อกันวา ทองฟาเปนสวนเดียวกันทัง้ หมด แตอัลกุร อานไดแสดงความมหัศจรรย โดยกลาววา ทองฟาประกอบดวย 7 ชั้น ในขณะที่ นักวิทยาศาสตรเพิ่งจะคนพบ ความจริง ดังกลาว เมื่อไมนานนี้ The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 29

หากเรานับจํานวนชั้นที่ไดรับการกลาวอางไวแลว จะพบวาชัน้ บรรยากาศประกอบดวย 7 ชั้น ดังนี้ 1. ชั้นโทรโพสเฟยร ( TROPOSPHERE ) 2. ชั้นสตารโทสเฟยร ( STARTOSPHERE ) 3. ชั้นโอโซโนสเฟยร ( OZONOSPHERE ) 4. ชั้นเมโสสเฟยร ( MESOSPHERE ) 5. ชั้นเทอรโมสเฟยร ( THERMOSPHERE ) 6. ชั้นไอโอโนสเฟยร ( IONOSPHERE ) 7. ชั้นเอกโซสเฟยร ( EXOSPHERE ) ความมหัศจรรยอีกประการหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องนี้ มีกลาวไวในอายะฮที่ 12 ของซูเราะฮ อัลฟุศศิลัต ความวา “...และ(พระองค)ทรงกําหนดในทุกๆชั้นซึ่งหนาทีข่ องมัน...” หมายความวาพระองคไดสรางใหแตละชัน้ ฟามี หนาทีเ่ ฉพาะแตกตางกัน ซึ่งมีความสําคัญในการดํารงชีวิตของมนุษยและสิ่งมีชีวิตตางๆบนโลก เชน การเกิดฝน, การปองกันรังสีที่เปนอันตราย, การสะทอนคลื่นวิทยุ และการปองกันภัยจากอุกกาบาต หนาที่ดงั กลาวปรากฏ ในแหลงขอมูลทางวิทยาศาสตรเปนตัวอยางหนึ่งดังนี้ : ชั้นบรรยากาศมีทั้งสิน้ 7 ชั้น ชั้นลางสุดคือ ชั้นโทรโพสเฟยร ซึ่งเปนเพียงชั้นเดียวเทานั้นที่มีการเกิดฝน หิมะ และลม3 ขอเท็จจริงที่ไมสามารถคนพบไดหากปราศจากเทคโนโลยีในศตวรรษที่ 20นั้น อัลกุรอานไดเปดเผยแกเรา ตั้งแตเมื่อ 1,400 ปมาแลว นับเปนความมหัศจรรยอยางยิ่ง

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 30

หนาที่ของภูเขา อัลกุรอานไดกลาวไวเกี่ยวกับคุณสมบัติทางดารธรณีวทิ ยาที่สาํ คัญของภูเขาดังซูเราะฮอัลอัมบิยาอ : “และเราไดทาํ ใหเทือกเขามั่นคงในแผนดิน เพื่อมันจะมิไดเคลื่อนไหวภายใตพวกเขา…” (อัลกุรอาน 21:31) ภูเขามีรากฝงลึกลงไปในพื้นผิวดิน (Earth Press and Siever , p 413 )

ภาพตัดของภูเขาแสดงใหเห็นถึงลักษณะ เหมือนหมุดฝงลึกลงไปในพื้นดิน (Anatomy of the Earth , Cailleux , p 220)

ภาพแสดงวาภูเขามีลักษณะเหมือนหมุด จากการทีร่ ากฝงลึกลงไปในพื้นดิน ( Earth Science ,Tarbuck and Lutgens , p 158 )

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 31

ดังที่ปรากฏในอายะฮขางตนวา ภูเขามีหนาที่ในการปองกันการสั่นไหวของแผนดิน ความรูทางธรณีวิทยาทีเ่ พิง่ คนพบเมื่อไมนานมานี้ เปนขอเท็จจริงทีย่ ังไมมีผูใดรูในขณะที่อัลกุรอานประทาน ลงมา จากการคนพบวาภูเขาเกิดจากการเคลื่อนที่เขาปะทะกันของแผนทวีปขนาดใหญทกี่ ลายเปนผิวโลก แผนที่ แข็งกวาจะแทรกเขาไปใตอีกแผนหนึ่ง ชัน้ ที่อยูขางบนจะมีการโคงงอเกิดเปนภูเขาขึน้ ชั้นที่อยูขา งใตจะเปนสวนที่ ลึกลงไปดานลาง นัน่ หมายถึง จริงๆแลวภูเขาที่เราเห็นวาสูงตระหงานเสียดฟานั้น มีสวนที่ลกึ ลงไปใตดินพอๆกับ สวนที่เราเห็นบนผืนโลก ขอความทางวิทยาศาสตรไดอธิบายโครงสรางของภูเขาไวดังนี้ :

ลักษณะที่ภูเขาฝงลึกลงไปในพื้นดินและยื่นขึ้นเหนือพื้นโลก ทําใหมี คุณสมบัติเหมือนหมุดที่ยึดผิวโลกเขาไวดวยกัน เปลือกโลกประกอบดวยสวน ที่ยังคงมีการเคลื่อนตัวอยางสม่ําเสมอ การยึดติดของภูเขานี้ชวยปองกันการ สั่นสะเทือนอยางรุนแรงของเปลือกโลก ซึ่งมีโครงสรางที่เคลื่อนไหวได

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 32

“แผนทวีปสวนทีห่ นากวาไดแกสวนที่เปนเทือกเขานัน้ เปลือกโลกชัน้ นอกฝงลึกลงไปในเปลือกโลกชั้นใน” 4 อัลกุรอานไดเปรียบเทียบหนาที่ของภูเขาเหมือนกับตะปูหมุด ดังซูเราะฮอันนะบะอ : “เรามิไดทําใหแผนดินเปนพื้นราบดอกหรือ และมิไดใหเทือกเขาเปนหลักตรึงไวดอกหรือ” (อัลกุรอาน 78:6–7) กลาวอีกอยางหนึง่ ไดวาภูเขาจะยึดชัน้ หินใตเปลือกโลกเขาไวดวยกันโดยมีจุดยึดทัง้ ดานบนและดานลางของ ผิวโลก ทําใหเปลือกโลกไมไหวเลื่อน อาจเปรียบไดวาภูเขาเหมือนตะปูที่ตรึงแผนไมเขาไวดวยกัน ลักษณะการยึดของภูเขาในทางวิชาการเรียกวา “ดุลเสมอภาคของเปลือกโลก” (Isostasy) ซึ่งมีความหมาย วา : “เปลือกโลกรักษาภาวะสมดุลได ดวยการเคลื่อนไหวเปนครั้งคราวของหินใตเปลือกโลก” 5 หนาที่สาํ คัญของภูเขาที่คน พบจากความรูดา นธรณีวิทยา ซึ่งเปนตัวอยางการสรางสรรคอันยิ่งใหญของพระ ผูเปนเจา มีกลาวไวในอัลกุรอานมากอนหนาแลว ดังซูเราะฮอัลอัมบิยาอ. “ และเราไดทําใหเทือกเขามั่นคงในแผนดิน เพื่อมันจะมิไดหวัน่ ไหวไปกับพวกเขา และเราไดทําใหหุบเขาเปนทางกวางในแผนดินนั้น เพื่อวาพวกเขาไดใชเปนทางเดินอยางถูกตอง ” (อัลกุรอาน 21:31)

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 33

การเคลื่อนไหวของภูเขา จากอายะฮหนึ่งในซูเราะฮ อันนัม ทําใหเราไดรูวา ภูเขาที่เราเห็นเหมือนวามิไดเคลื่อนไหวใดๆ แทจริงแลว ภูเขานั้นเคลื่อนไหวอยูเสมอ “และเจาจะเห็นขุนเขาทัง้ หลาย เจาจะคิดวามันติดแนนอยูกับที่ แตมันลองลอยไป เชนการลองลอยของเมฆ นั่นคือการงานของอัลลอฮซึ่งพระองคผูทําทุกสิ่งทุกอยางเรียบรอย แทจริงพระองคเปนผูทรงตระหนักในสิ่งที่พวกเจากระทํา” (อัลกุรอาน 27:88) การเคลื่อนไหวของภูเขาเกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกชัน้ นอกที่อยูเหนือเปลือกโลกชัน้ ในทีห่ นาแนน กวา ในชวงตนศตวรรษที่ 20 นักวิทยาศาสตรชาวเยอรมันทีช่ ื่อ อัลเฟรด เวเกเนอร (Alfred Wegener) เสนอ สมมุติฐานเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรวา ทวีปตางๆนัน้ แตเดิมเปนผืนเดียวกัน ตอมาไดเคลื่อนตัวแยกออกจาก กัน นักธรณีวทิ ยาเพิง่ เขาใจและยอมรับทฤษฎีนี้ในทศวรรษ 1980 ซึ่งเปนเวลากวา 50 ป หลังจากที่เวเกเนอร เสียชีวิตไปแลว เวเกเนอรอธิบายไวในบทความที่ตีพิมพในป 1915 วา เมื่อประมาณ 500 ลานปกอน พืน้ โลก ปจจุบันซึง่ เปนทวีปตางๆ ยังเปนผืนเดียวกัน อยูบริเวณขั้วโลกใต เรียกวา ปนเจีย (Pangaea) ประมาณ 180 ลานปกอน ปนเจียแยกออกเปนสองสวนและ เคลื่อนออกจากกัน สวนหนึ่งเรียกวา กอนดวา นา (Gondwana) ประกอบดวยทวีปแอฟริกา ออสเตรเลีย แอนตารกติกา และอินเดีย และอีกสวนหนึง่ เรียกวา ลอเรเซีย (Laurasia) ประกอบดวยทวีปยุโรป อเมริกาเหนือและเอเชีย (ยกเวนอินเดีย) อีก 150 ลานปตอมา กอนด วานาและลอเรเซียตางก็แยกออกเปนสวนยอยๆ ทวีปตางๆทีเ่ กิดจากการแยกของปนเจียนัน้ ปจจุบนั ยังคงเคลื่อนตัวอยูห ลายเซ็นติเมตรตอปซึ่งทําใหสัดสวน ของผืนดินกับผืนน้าํ บนโลกนี้เปลี่ยนไปดวย ตนศตวรรษที่ 20 มีการศึกษาทางธรณีวิทยาและพบวาการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกเปนดังนี้

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 34

ภาพทางดานซายแสดงตําแหนงของ ทวีปในอดีต ถาเราคาดเดาเอาวาการ เคลื่อนตัวของทวีปนั้น จะยังคงดําเนิน ไปในลักษณะนี้ ในอีกลานปขางหนา ตําแหนงของมันจะอยูในลักษณะดัง ในภาพทางดานขวา

เปลือกโลกชัน้ นอกกับสวนบนสุดของเปลือกโลกชัน้ ใน ซึง่ หนาประมาณ 100 กิโลเมตร ถูกแบงออกเปนสวน เรียกวา แผนทวีป (Plate) ประกอบดวย 6 แผนทวีปใหญ และหลายแผนทวีปเล็ก ตามทฤษฎีการแปรโครงสราง แผนทวีปเหลานี้จะเคลื่อนตัวจนทําใหทวีปและพื้นมหาสมุทรเคลื่อนที่ไปดวย การเคลื่อนตัวของทวีปวัดได ประมาณ 1-5 เซนติเมตรตอป การเคลื่อนตัวของแผนทวีปนั้นทําใหลักษณะทางภูมิศาสตรของโลกเปลี่ยนแปลงไป อยางชาๆ เชน มหาสมุทร แอตแลนติค จะกวางออกเล็กนอยในแตละป 6 ประเด็นสําคัญมากที่จะกลาวถึงในทีน่ ี้ก็คอื อัลลอฮไดตรัสเรื่องการเคลื่อนไหวของภูเขานี้ไวในอายะฮกุรอาน แลว ในปจจุบัน นักวิทยาศาสตรสมัยใหมไดใชคําวา การเลื่อนของทวีป (Continental Drift) เพื่อแสดงถึงการ เคลื่อนไหวเหลานัน้ 7 เปนที่แนชัดแลววานี่คือ ความมหัศจรรยประการหนึ่งของอัลกุรอาน ที่ไดเปดเผยขอเท็จจริงที่วทิ ยาศาสตร เพิ่งคนพบ

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 35

ความมหัศจรรยของเหล็ก เหล็กเปนธาตุหนึง่ ที่อัลกุรอานกลาวถึงไวในซูเราะฮ อัล ฮะดีด ซึง่ หมายถึงเหล็ก ความวา “...และเราได (สงลงมา) ใหมีเหล็กขึ้นมา เพราะในนั้นมีความแข็งแกรงมาก และมีประโยชนมากหลายสําหรับมนุษย...” (อัลกุรอาน 57:25) คําวา “สงลงมา” ในทีน่ ี้หากพิจารณาในเชิงอุปมาอุปมัยก็อาจหมายความวา “ประทานลงมาเพื่อเปน ประโยชนแกมนุษย” แตเมื่อเราพิจารณาความหมายตามตัวอักษร จะหมายถึง “วัตถุนนั้ ถูกสงลงมาจากฟากฟา จริงๆ ” ซึ่งทําใหเราประจักษวาอายะฮนี้มนี ัยแสดงความมหัศจรรยทางวิทยาศาสตรที่สําคัญยิ่ง นั่นก็เพราะวาในปจจุบันมีการคนพบทางดาราศาสตรวา เหล็กที่พบในโลกนั้นมาจากดาวฤกษขนาดใหญใน อวกาศ โลหะหนักในจักรวาลกําเนิดจากนิวเคลียสของดาวฤกษขนาดใหญ ซึ่งใน ระบบสุริยะของเราไมมีโครงสรางของสภาวะทีจ่ ะทําใหเหล็กเกิดขึ้นได โดยที่เหล็ก จะเกิดขึ้นเฉพาะในบรรดาดาวฤกษที่ใหญกวาดวงอาทิตยมากที่มีอุณหภูมิสูงถึง 23 รอยลานองศาเซลเซียส เมื่อเหล็กมีจํานวนมากขึ้น จนถึงระดับที่ดาวดวงนัน้ รับไม ไหว ดาวดวงนัน้ ก็จะระเบิดขึ้น เรียกวา โนวา (nova) หรือ ซุปเปอรโนวา (supernova) ซึ่งทําใหเกิดอุกกาบาตที่มีสว นประกอบของเหล็กกระจายอยูในอวกาศ จนกระทัง่ เขาสูแรงโนมถวง ของดาวตางๆ ความจริงดังกลาวที่วา เหล็กไมไดกําเนิดบนโลก แตมาจากการระเบิดของดาวฤกษ และเกิดเปนอุกกาบาต ในอวกาศสงมายังโลก ตรงกับที่กลาวไวในอัลกุรอาน จึงเปนที่แนชัดแลววา ขอเท็จจริงที่เพิ่งมารูกนั เมื่อคริส ศตวรรษที่ 7 นั้น อัลกุรอานไดประกาศไวกอนแลว

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 36

การสรางสรรคเปนคู อัลกุรอานใน ซูเราะฮ ยาซีน ความวา “มหาบริสทุ ธิย์ ิ่งแดพระผูทรงสรางทุกสิง่ ทั้งหมดเปนคูๆจากสิ่งทีแ่ ผนดินได (ใหมัน) งอกเงยขึ้นมา และจากตัวของพวกเขาเอง และจากสิ่งที่พวกเขาไมร”ู (อัลกุรอาน 36:36) แมวาบทสรุปโดยทั่วไปที่กลาวถึงเรื่องของ คําวา”คู” หรือ “สองสิ่ง”มักจะหมายถึง ชาย-หญิง, เพศผู-เพศเมีย แตโองการทีก่ ลาววา “จากสิ่งที่พวกเขาไมรู” มีความหมายที่มากกวานัน้ และในปจจุบัน หนึง่ ในความหมาย ดังกลาว ก็เปนที่เขาใจแลว นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ ที่ชื่อ พอล ดิรัก (Paul Dirac) ไดรับรางวัลโนเบล สาขาฟสิกส ในป 1933 จาก การเสนอสมมติฐานวาสิง่ ตางๆ ถูกสรางมาเปนคูๆ การคนพบครั้งนี้เรียกวา ปาริเต (Parite´) ซึ่งหมายถึง สิง่ ตางๆ จะมีสิ่งที่มีคุณสมบัติตรงกันขามเปนคูกนั ตัวอยางเชน อิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบ มีสิ่งที่ตรงกันขาม คือ โปรตอนที่มี ประจุบวก ขอเท็จจริงดังกลาวนี้มีระบุไวในแหลงขอมูลทางวิทยาศาสตรวา “…..ทุกอนุภาคมีอนุภาคที่มปี ระจุตรงกันขาม… และ ความสัมพันธที่ไมมีความแนนอนตายตัวนั้น บงบอกวาการกําเนิดเปนคู และการสูญสิน้ เปนคูเกิดขึ้นในทุกเวลาทุกสถานที่ “ 8

Prof. Paul Dirac

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 37

สัมพันธภาพแหงเวลา ในปจจุบันนี้เรือ่ งสัมพันธภาพแหงเวลาไดรับการพิสูจนทางวิทยาศาสตรแลวจากทฤษฎีสัมพันธภาพของ อัลเบิรต ไอนสไตน ในศตวรรษที่ 20 แตกอนนั้นมนุษยยังไมรูวา เวลามีมิติสัมพันธภาพ สามารถเปลี่ยนแปลงตาม สภาพแวดลอมได จนกระทัง่ นักวิทยาศาสตรที่ยิ่งใหญอยางอัลเบิรต ไอนสไตน ไดคนพบขอพิสูจนเกีย่ วกับทฤษฎี สัมพันธภาพวา เวลาขึน้ อยูกบั มวลและความเร็ว ในประวัติศาสตรแหงมนุษยชาติไมมีใครสามารถสรางความ กระจางในเรื่องนี้ไดมากอน อยางไรก็ตามอัลกุรอานไดกลาวถึงขอมูลเกี่ยวกับสัมพันธภาพของเวลาในซูเราะฮ อัลฮัจญ ความวา “และพวกเขาไดเรงเราเจา ใหมีการลงโทษ แตวาอัลลอฮ (ซ.บ.) นั้น จะไมทรงผิดสัญญาของพระองคเปนอันขาด และแทจริง วันนั้น ณ ทีพ ่ ระเจาของเจานั้น เทากับหนึ่งพันป ตามที่พวกเจาคํานวณนับ” (อัลกุรอาน 22: 47)

เวลาเปนเรื่องที่ขึ้นอยูกับเงื่อนไขของผูสังเกตทั้งสิ้น ขณะที่ชวงเวลาหนึ่งดูเหมือนวาจะยาวนาน สําหรับคนคนหนึ่ง แต กลับสั้นสําหรับอีกคนหนึ่ง เพื่อความเขาใจที่ตรงกัน เราจึงตองมีสิ่งที่บอกเวลา เชน นาฬิกา หรือปฏิทิน เราจะไม สามารถตัดสินเกี่ยวกับเวลาไดอยางเที่ยงตรงเลย ถาปราศจากสองสิ่งนี้

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 38

ซูเราะฮ อัซซัจญดะฮ. “พระองคทรงบริหารกิจการจากชั้นฟาสูแผนดิน แลวมันจะขึน้ ไปสูพระองคในวันหนึง่ ซึ่งกําหนดของมันเทากับหนึ่งพันปตามที่พวกเจานับ” (อัลกุรอาน 32:5) ซูเราะฮ อัลมะอาริจญ “มาลาอิกะหและอัรรูห (ญิบริล) จะขึน้ ไปหาพระองค ในวันหนึ่งซึ่งกําหนดของมันเทากับหาหมื่นป (ของโลกดุนยานี้)” (อัลกุรอาน 70:4) บางอายะฮในอัลกุรอาน บงบอกไววามนุษยสามารถรับรูเวลาที่แตกตางกัน บางครั้งมนุษยจะรูสึกวา ชวงเวลาสัน้ ๆนั้นแสนยาวนาน ตัวอยางทีด่ ีในเรื่องนี้ปรากฏอยูในอัลกุรอาน ซูเราะฮ อัลมุอ.มินูน ความวา “พระองค ตรัสวา พวกเจาพํานักอยูใ นแผนดินนี้เปนจํานวนกี่ป พวกเขากลาวตอบวา เราพํานักอยูว ันหนึ่งหรือสวนหนึ่งของวัน ขอพระองคโปรดถามนักคํานวณที่เชีย่ วชาญเถิด พระองคตรัสวา พวกเจามิไดพํานักอยู เวนแตเพียงเล็กนอยเทานัน้ หากพวกเจารู (อัลกุรอาน 23:112-114 ) การที่เรื่องสัมพันธภาพของเวลามีกลาวไวอยางชัดเจนในอัลกุรอาน เปนเวลา 14 ศตวรรษมาแลวนัน้ ยืนยันไดวาเพราะอัลกุรอานเปนวจนะของพระผูเปนเจา

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 39

ดุลยภาพแหงฝน อัลกุรอานกลาวถึงฝนที่ตกลงสูพนื้ โลกนัน้ วา มีปริมาณที่เหมาะสม ดังความในซูเราะฮ อัซซุครุฟ ความวา “และเปนผูทรงหลั่งน้ําลงมาจากฟากฟาตามปริมาณ และดวยน้ํานั้นเราไดทําใหแผนดินที่แหงแลง มีชีวิตชีวาขึน้ และเชนนั้นแหละพวกเจาจะถูกใหออกมา(จากกุบรู )” (อัลกุรอาน 43:11) เรื่องปริมาณของฝนนั้นมีการคนพบโดยการวิจัยสมัยใหม ประมาณวาในหนึ่งวินาทีมีปริมาณน้ําระเหยจาก พื้นดิน 16 ลานตัน ในหนึง่ ปมีจํานวนน้าํ ประมาณ 513 ลานลานตันที่ระเหยจากพื้นโลก เปนปริมาณเทากับฝนที่ ตกมาบนพืน้ โลกในหนึง่ ป นัน่ ยอมหมายความวาการหมุนเวียนของน้าํ ในโลกมีปริมาณที่สมดุลและตอเนื่องเปน วงจร สรรพชีวิตบนโลกลวนตองอาศัยวงจรของน้ํานี้ แมในปจจุบันมนุษยสามารถใชเทคโนโลยีทั้งหลายที่มีอยูใน โลกก็ไมสามารถทําใหเกิดวงจรของน้าํ ดังกลาวได หากวันใดดุลยภาพนั้นเกิดการเบี่ยงเบนเพียงเล็กนอย ก็ จะเกิดความไมสมดุลของระบบนิเวศครั้งใหญจนทําใหสงิ่ มีชีวิต ไมอาจดํารงอยูได อยางไรก็ตามเหตุการณทํานองนีย้ ังไมเคย เกิด ทุกปฝนก็ยงั ตกอยูอ ยางสม่ําเสมอดวยปริมาณที่แนนอน เหมือนในโองการที่ปรากฏอยูในอัลกุรอาน

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 40

ในทุกๆปปริมาณของน้ําที่ระเหยและตกลงสูพื้นโลกในลักษณะของฝน จะมีปริมาณที่คงที่ 513 ลานลานตัน โดย ปริมาณที่คงที่นั้น ถูกกลาวไวในอัลกุรอานในโองการที่วา “…น้ําลงมาจากฟากฟาตามปริมาณ” ปริมาณที่คงที่นี้มี ความสําคัญมากความตอเนื่องในการตกนัน้ จะมีความสําคัญมากตอระบบนิเวศวิทยาที่สมดุลและตอสิ่งมีชีวิต.

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 41

การกอตัวของฝน การที่ฝนกอตัวขึ้นไดอยางไรนั้นเคยเปนทีส่ งสัยมาเปนเวลายาวนาน จนกระทั่งหลังจากมีการประดิษฐเครื่อง ตรวจวัดสภาพอากาศ เราจึงรูขั้นตอนที่ฝนกอตัวขึน้ การกอตัวของฝนนัน้ มีอยู 3 ขั้นตอน โดยในขั้นตอนแรกนั้น ไอน้ําซึง่ เปน ”วัตถุดิบ” ของฝน จะลอยตัวขึ้นสู อากาศโดยการพัดพาลม หลังจากนัน้ ก็กอ ตัวขึ้นเปนเมฆ และสุดทายก็กลายเปนเม็ดฝนตกลงมา อัลกุรอานไดอธิบายขัน้ ตอนการกอตัวของฝนไวในซูเราะฮ อัรรูม ความวา “อัลลอฮทรงเปนผูสงลมทัง้ หลาย แลวมันไดรวมตัวกันเปนเมฆ แลวพระองคทรงใหมัน แผกระจายไปตามทองฟา เทาที่พระองคทรงประสงค และพระองคทรงทําใหมันเปนกลุมกอน แลวเจาจะเห็นฝนตกลงมาจากทามกลางมัน เมื่อมันไดตกลงมายังผูที่พระองคทรงประสงค จากปวงบาวของพระองค เมื่อนั้นพวกเขาก็ดีใจ” (อัลกุรอาน 30:48) เรามาพิจารณาถึงการกอตัวของฝนตามหลักวิชาการ ทัง้ 3 ขัน้ ตอนทีก่ ลาวไวในอายะฮดังกลาวขางตน ดังนี้ ขั้นตอนแรก: “อัลลอฮทรงเปนผูสงลมทัง้ หลาย...” ฟองอากาศจํานวนมหาศาลที่เกิดในมหาสมุทรจะแตกตัวอยางตอเนื่อง และกลายเปนอนุภาคเล็กๆของน้ํา พุงขึ้นสูท องฟา โดยแรงลมจะพัดพาอนุภาคที่เต็มไปดวยเกลือนี้ขนึ้ สูชนั้ บรรยากาศ ซึ่งอนุภาคของน้าํ ที่แขวนลอย อยูในอากาศนีเ้ รียกวาแอโรซอล (Aerosol) ทําหนาทีก่ ักเก็บน้ํา โดยดึงไอน้ําที่อยูรอบๆมากอตัวเปนหยดน้าํ เล็กๆ ขั้นตอนที่สอง: “...แลวมันไดรวมตัวกันเปนกอนเมฆ แลวพระองคทรงใหมันแผกระจายไปตาม ทองฟาเทาทีพ ่ ระองคทรงประสงค และพระองคทรงทําใหมนั เปนกลุมกอน...” เมฆกอตัวขึ้นจากไอน้าํ ที่เกาะอยูรอบๆผลึกเกลือหรือฝุน ละอองในอากาศ เนื่องจากหยดน้าํ ในเมฆนั้นมี ขนาดเล็กมาก (โดยมีเสนผาศูนยกลางอยูระหวาง 0.01 ถึง 0.02 มิลลิเมตร) จึงลอยอยูในอากาศได และกลายเปน เมฆแผกระจายเต็มทองฟา

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 42

ภาพนี้แสดงใหเห็นละอองน้ําที่ระเหยขึ้นสูอากาศ ซึ่งเปนขั้นตอนแรกของการกอตัวของฝน หลังจากนั้น ละอองน้ํา เหลานี้จะกอตัวเปนเมฆ และแขวนลอยอยูในอากาศกอนที่จะกลั่นตัวเปนเม็ดฝน ขั้นตอนทั้งหมดนี้ไดกลาวไวแลว ในอัลกุรอาน

ขั้นตอนที่สาม:“...แลวเจาจะเห็นฝนตกลงมาจากทามกลางมัน...” อนุภาคของน้าํ ที่อยุรอบๆผลึกเกลือและฝุน ละอองจะควบแนนแลวกอตัวเปนเม็ดฝน เม็ดฝนที่มีนา้ํ หนัก มากกวาอากาศ จะแยกตัวจากกอนตกลงสูพื้นดิน จะเห็นไดวา ทุกๆขั้นตอนในการกอตัวของฝนนั้นสอดคลองกับอัลกุรอาน นอกจากนัน้ ยังเปนไปตามลําดับ ขั้นตอนอยางถูกตอง ปรากฏการณธรรมชาติอีกหลายอยางในโลกก็เชนกัน อัลลอฮ (ซ.บ.) ไดใหคําอธิบายอยาง ถูกตองที่สุดไวแลวในอัลกุรอาน ใหมนุษยไดเรียนรูหลายศตวรรษ กอนหนาที่จะมีการศึกษาคนพบเสียอีก ยังมีอีกอายะฮหนึง่ ที่ใหขอมูลเกี่ยวกับการกอตัวของฝนดังนี้

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 43

ซูเราะฮ อันนูร “เจาไมเห็นดอกหรือวา แทจริงนั้นอัลลอฮไดทรงใหเมฆลอย แลวทรงทําใหประสานตัวกัน แลวทรงทําใหรวมกันเปนกลุมกอน แลวเจาจะเห็นฝนโปรยลงมาจากกลุม เมฆนั้น แลวพระองคทรงใหมันตกลงมาจากฟากฟา มีขนาดเทาภูเขา ในนั้นมีลกู เห็บ แลวพระองคจะทรงใหมันหลนลงมาโดนผูที่พระองคทรงประสงค และพระองคจะทรงใหมันผานพนไป จากผูที่พระองคทรงประสงค แสงประกายของสายฟาแลบเกือบจะเฉี่ยวสายตาผูมอง” (อัลกุรอาน 24:43) นักวิทยาศาสตรที่ศึกษาชนิดของเมฆไดคนพบคําตอบทีน่ าประหลาดใจเกี่ยวกับการกอตัวของฝน เมฆฝนกอ ตัวเปนรูปรางตามระบบและขั้นตอนที่แนนอน เมฆฝนขนาดใหญที่เรียกวา เมฆคูมโู ลนิมบัส (Cumulonimbus) นัน้ มีขั้นตอนการกอตัวดังนี้ 1. พัดพา: ลมพัดพาเมฆกอนเล็กๆ 2. รวมตัว: เมฆกอนเล็กๆทีเ่ รียกวาเมฆคูมูลสั (Cumulus) นี้ จะรวมกันเขา กอตัวขึน้ เปนเมฆที่ใหญขึ้น 3. กองสุม: เมื่อเมฆมีขนาดใหญขึ้น แรงดันภายในกอนเมฆก็เพิ่มมากขึ้น บริเวณสวนกลางของกอนเมฆจะมี แรงดันสูงมากจนทําใหกอนเมฆโปงขึน้ ดานบนในแนวตั้ง สวนของกอนเมฆที่สูงขึ้นไปนั้นจะกระทบกับ ความเย็นของชั้นบรรยากาศจึงกลัน่ เปนหยดน้ําและลูกเห็บที่มีขนาดใหญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อหยดน้ําและ ลูกเห็บเหลานีห้ นักเกินกวาแรงดันของเมฆจะรับไวได ก็จะตกลงมาเปนฝนและกอนลูกเห็บ

เราตองไมลืมวานักอุตุนยิ มวิทยาเพิ่งจะรูรายละเอียดการกอตัวของฝนไดเมื่อไมนานนี้ โดยใชเครื่องมืออัน ทันสมัย เชน ดาวเทียม หรือ คอมพิวเตอร เปนตน นี่กเ็ ปนหลักฐานอันชัดแจงที่อลั ลอฮ (ซ.บ.) ไดใหขอมูลที่ไมมี ผูใดลวงรูมากวา 1,400 ปมาแลว The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 44

A เมฆกอนเล็กๆ (เมฆคูมูลัส) B เมื่อรวมตัวกันเขาเปนเมฆกอนใหญ แรงดันที่อยูภายในก็เพิ่มขึ้น จึงดันใหกอนเมฆขยายตัวขึ้นในแนวตั้ง แรงดันภายในกอนเมฆทําใหเมฆขยายตัวขึ้นในแนวตั้ง เมื่อสวนบน ของกอนเมฆขึน้ ไปสัมผัสบริเวณทีเย็นกวา จึงกอตัวเปนหยดน้ําและ ลูกเห็บทีใหญขึ้นๆ เมื่อหยดน้ําและลูกเห็บมีขนาดใหญจนเกินกวา แรงดันของกอนเมฆจะรับไหว จึงตกลงมาเปนฝนและลูกเห็บ ขอเท็จจริงทางวิทยาศาสตรนี้ปรากฏอยูในอายะฮที่ 43 ซูเราะฮอันนูร เมื่อ 14 ศตวรรษมาแลว “...แลว (พระองค) ทรงทําใหรวมกันเปนกลุม กอน แลวเจาจะเห็นฝนโปรยลงมาจากกลุมเมฆนั้น...” (อัลกุรอาน 24:43) เมฆกอนเล็กๆ (เมฆคูมูลัส) ถูกลมพัดไปรวมตัวกัน อัลกุรอานตรัสไววา “...อัลลอฮทรงเปนผูสงลมทั้งหลายแลวมันไดรวมตัวกันเปนกอนเมฆ...”

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 45

ลมที่ทําใหเกิดฝน ในซูเราะฮอัลฮิจร อายะฮที่ 22 ไดกลาวถึงลมที่ทาํ ใหเมฆกอตัวขึ้นจนกลายเปนฝนวา “และเราไดสง ลมผสมเกสร* แลวเราไดใหน้ําลงมาจากฟากฟา แลวเราไดใหพวกเจาดื่มมัน…” (อัลกุรอาน 15:22) ในอายะฮนี้ ไดบงชี้วา ขั้นตอนแรกในการกอตัวของฝนคือลม ซึ่งในตอนตนคริสตศตวรรษ 20 ผูคนรูจัก ความสัมพันธระหวางลมและฝนแตเพียงวา ลมนั้นพัดพาเมฆฝน อยางไรก็ตามความรูทางอุตุนิยมวิทยาในสมัยนี้ แสดงใหเห็นวาลมทําหนาทีอ่ ยางไรในการกอตัวของฝน กระบวนการของลมในการทําใหเกิดฝนมีดงั นี้ บนพืน้ ผิวของทะเลและมหาสมุทรอันกวางใหญ มีฟองอากาศเกิดขึ้นมากมายนับไมถวน เนื่องจากปฏิกิริยา การแตกตัวของน้าํ ซึง่ อนุภาคน้ําที่แตกตัวออกมาในอากาศนั้นมีขนาดเศษหนึ่งสวนรอยมิลลิเมตร อนุภาคที่ แขวนลอยในอากาศเหลานี้จะผสมกับฝุน ละอองที่ลมพัดมาจากแผนดิน และถูกลมพัดพาขึ้นไปสูชั้นบรรยากาศ เบื้องบน เมื่อไปปะทะกับไอน้ําในชั้นบรรยากาศขางบน ก็จะเกิดการควบแนนรอบๆอนุภาคนัน้ ทําใหเกิดเปนหยด น้ําเล็กๆขึ้น และหยดน้ําเหลานี้กจ็ ะรวมตัวกันเปนเมฆฝน จากนั้นจึงตกลงมาบนพื้นโลก กลายเปนน้าํ ฝน เปนทีป่ ระจักษวา ”ลมผสมเกสร*” นัน้ นําไอน้ําในอากาศมาผสมกับอนุภาคของฟองอากาศที่แตกตัวจาก ทะเลมาชวย ในการกอตัวใหเกิดเมฆฝน ถาลมไมมีคุณสมบัตินี้ หยดน้ําเล็กๆในบรรยากาศเบื้องบน ก็จะไมกอตัวขึ้นเปนเมฆฝน และฝนก็จะไมตกลง มา สิ่งสําคัญที่สุดในทีน่ ี้ก็คือ อัลกุรอานไดชี้ใหเห็นถึงหนาที่ของลมทีท่ ําใหเกิดฝน มานานหลายรอยปแลว ในขณะที่ผูคนในยุคนัน้ ยังมีความรูเพียงนอยนิดเกีย่ วกับปรากฏการณทางธรรมชาติ

ลมผสมเกสร ในภาษาอาหรับคือ ละวากิฮ มีความหมายวา ทําใหเกิดผล ทําใหมีผล เชนการที่ลมพัดพาเกสรตัวผูไปผสมกับเกสร ตัวเมีย (จาก อัลกุรอานฉบับภาษาอังกฤษ The Glorious Qur’an, Translation and commentary, A Yusuf Ali 2nd Edition, 1977, หนา 641 หรือในความหมายเปรียบเทียบอีกอยางหนึ่ง คือลมที่พัดพาและทําใหเมฆอุมฝน ( Saheeh International หนา 346 ) The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 46

ภาพบนอธิบายขั้นตอนการกอตัวของคลื่น โดยคลื่นถูกสรางมาจากลมที่กําลังพัดอยูเหนือผิวน้ํา อนุภาคของน้ําเริ่ม เคลื่อนตัวในลักษณะหมุนวนเปนวงกลม การเคลื่อนไหวของน้ําในลักษณะนี้จะกอใหเกิดคลื่นลูกแลวลูกเลา และ กอใหเกิดฟองอากาศกระจายขึ้นไปในอากาศ และนี่คือขั้นตอนแรกในการกอตัวของฝน ซึ่งอัลกุรอานไดบอกถึง กระบวนการนี้เอาไววา “...และเราไดสงลมผสมเกสร แลวเราไดใหน้ําลงมาจากฟากฟา...”

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 47

ทะเลไมล้ําเขตกัน ลักษณะทางภูมิศาสตรของทะเลประการหนึ่ง ที่เพิ่งคนพบเร็วๆนี้ เกี่ยวของกับสิ่งที่ไดกลาวไวแลวในอัลกุ รอาน ซูเราะฮ อัรรอห.มาน ดังนี้ “พระองคทรงทําใหนา นน้าํ ทั้งสอง (ทะเลและแมน้ํา) ไหลมาบรรจบกัน ระหวางมันทัง้ สองมีทกี่ ั้นกีดขวาง มันจะไมลา้ํ เขตตอกัน” (อัลกุรอาน 55:19-20) ลักษณะของทะเลดังกลาว ซึ่งเพิง่ คนพบเมื่อเร็วๆนี้โดยนักสมุทรศาสตร คือการที่ทะเลสองแหงมาบรรจบกัน แตน้ําจากทะเลทั้งสองนัน้ ก็ไมไดหลอมรวมเขาหากัน เนือ่ งจากลักษณะตามธรรมชาติที่เรียกวา “แรงตึงผิว” ซึ่งเกิด จากความหนาแนนของน้าํ ที่แตกตางกัน ทําใหนา้ํ จากทะเลแตละแหงไมผสานรวมกัน เหมือนกับมีแนวกัน้ บางๆมา ขวางไว 11 สิ่งทีน่ าสนใจก็คือ เรื่องราวเหลานี้ไดกลาวไวกอนแลวในอัลกุรอาน ตัง้ แตในยุคสมัยที่ผูคนยังไมมีความรูใน เรื่องวิชาฟสิกส แรงตึงผิว หรือ ลักษณะภูมิศาสตรทางทะเลมากอน

ในทะเลเมดิเตอรเรเนียนและมหาสมุทรแอตแลนติกนั้นมีทั้งคลื่นขนาดใหญ กระแสน้ําที่เชี่ยวกราก และกระแสน้ําขึ้น น้ําลง น้ําจากทะเลเมดิเตอรเรเนียนไหลเขามาในมหาสมุทรแอตแลนติกผานชองแคบยิบรอลตา แตอุณหภูมิ ระดับ ความเค็ม และความหนาแนนของน้ําก็ยังคงไมเปลี่ยนแปลง เพราะมีแนวกั้นที่แบงแยกน้ําจากทะเลทั้งสองออกจากกัน

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 48

ภาพถายจากดาวเทียมของชองแคบยิบรอลตา The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 49

ความมืดในทะเล และคลื่นใตน้ํา “หรือเปรียบเสมือนความมืดมนทั้งหลายในทองทะเลลึก มีคลื่นซอนคลื่นทวมมิดตัวเขา และเบือ้ งบนของมันก็มีเมฆหนาทึบซอนกันชั้นแลวชั้นเลา เมื่อเขาเอามือของเขาออกมา เขาแทบจะมองไมเห็นมัน และผูใดที่อัลลอฮ ไมทรงทําใหเขาไดรับแสงสวาง เขาก็จะไมไดรับแสงสวางเลย” (อัลกุรอาน 24:40) หนังสือชื่อ “Oceans” ไดบรรยายสภาพทัว่ ไปของทะเลลึกไวดังนี้ ความมืดในทะเลลึกและมหาสมุทรนั้น เริ่มตั้งแตระดับความลึกที่ 200 เมตรลงไป เกือบจะไมมีแสงสวางอยู เลย และในระดับความลึกทีต่ ่ํากวา 1,000 เมตรลงไปนัน้ ไมมีแสงสวางแมแตนอย 12 ทุกวันนี้ เราไดเรียนรูลักษณะโครงสรางทั่วไปของทะเล ลักษณะของสิง่ มีชีวิตที่อาศัยอยูในทะเล ระดับ ความเค็ม ตลอดจนปริมาณน้ําในทะเล พืน้ ที่ของผิวน้ําและระดับความลึก นักวิทยาศาสตร สามารถรับรูขอมูล ตางๆเหลานี้ได โดยใชเรือดําน้าํ และอุปกรณพิเศษอื่นๆซึง่ พัฒนาขึน้ มาดวยเทคโนโลยีสมัยใหม มนุษยไมสามารถดําน้าํ ไดลึกมากกวา 40 เมตรโดยไมใชอุปกรณพิเศษชวย เราไมสามารถมีชีวิตรอดไดใต น้ําลึกและมืดมิดเชนในระดับที่ต่ํากวา 200 เมตรลงไป นักวิทยาศาสตรเพิง่ คนพบขอมูลรายละเอียดดังกลาว เกี่ยวกับทะเล เมื่อไมนานมานี้เอง แตคําวา “ความมืดในทะเลลึก” ปรากฏอยูในซูเราะฮอันนูร เมื่อกวา 1,400 ป มาแลว และนี่ก็เปนอีกสวนหนึ่งของความมหัศจรรยของอัลกุรอานโดยแทจริง ทีไ่ ดกลาวเรื่องราวเหลานี้ไวตงั้ แต ชวงเวลาที่ยงั ไมมีเครื่องมือหรืออุปกรณใดๆแมแตอยางเดียวทีท่ ําใหมนุษยสามารถเรียนรูเกี่ยวกับความลึกของ มหาสมุทรได นอกจากนัน้ ขอความในอายะฮที่ 40 ของซูเราะฮ อันนูร ยังไดกลาวอีกวา “...เปรียบเสมือนความมืดมน ทั้งหลายในทองทะเลลึก มีคลื่นซอนคลื่นทวมมิดตัวเขา และเบือ้ งบนของมันก็มีเมฆหนาทึบซอนกันชั้น แลวชัน้ เลา…” ซึ่งขอความนี้ไดนําไปสูสงิ่ ทีน่ าสนใจอีกสิ่งหนึ่ง ที่สามารถยืนยันถึงความหัศจรรยของอัลกุรอานได เปนอยางดี เมื่อไมนานมานี้ นักวิทยาศาสตรคนพบวามีคลื่นใตน้ํามากมาย “ปรากฏอยูในบริเวณรอยตอของระดับชั้น ของน้ําที่มีความหนาแนนแตกตางกัน” คลื่นใตน้ําเหลานีค้ รอบคลุมไปทั่วบริเวณในระดับน้ําลึกของทัง้ ทะเลและ มหาสมุทร เนือ่ งจากน้าํ ที่อยูใ นระดับความลึกมากกวายอมมีความหนาแนนสูงกวาน้าํ ในชัน้ เหนือขึน้ ไป คลื่นใตนา้ํ นั้นมีลกั ษณะคลายคลื่นที่ผวิ น้าํ ซึง่ แตกสลายตัวได ทั้งนี้ เราไมสามารถมองเห็นคลืน่ ใตน้ําไดดวยตาเปลา แตเรา สามารถตรวจวัดไดจากการศึกษาระดับอุณหภูมิและระดับความเค็มที่เปลี่ยนไป ทีบ่ ริเวณใดบริเวณหนึ่ง 13

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 50

จากการวัดโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหม ทําใหเราทราบวา แสงแดด 3-30เปอรเซ็นต ถูกสะทอนกลับที่บริเวณผิวน้ํา ใน ระดับความลึก 200 เมตรแรกนั้นองคประกอบทั้ง 7 สีของแสงเกือบทั้งหมด สามารถสองทะลุน้ําทะเลไดในระดับที่ แตกตางกัน ยกเวนแสงสีน้ําเงิน (ภาพเล็ก), ในระดับที่ต่ํากวา 1,000 เมตร นั้น ไมมีแสงสวางหลงเหลืออยูเลย (ภาพ บน) ขอเท็จจริงดังกลาว ซึ่งนักวิทยาศาสตรเพิ่งคนพบนี้ ไดกลาวไวแลว ในอัลกุรอาน ซูเราะฮ อันนูร เมื่อกวา 1,400 ป มาแลว

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 51

ภาพซาย แสดงใหเห็นคลื่นใตน้ําที่เกิดขึน้ บริเวณรอยตอ ระหวางระดับชั้นของน้ํา 2 ระดับ ที่มีความหนาแนน แตกตางกัน น้ําในระดับที่ต่ํากวาจะมีความหนาแนนสูง กวา นักวิทยาศาสตรเพิ่งคนพบขอเท็จจริงเหลานี้ เมื่อไม นานมานี้เอง ซึ่งอัลกุรอาน ซูเราะฮ อันนูร อายะฮที่ 40 ไดเปดเผย อยางชัดแจงไวกอนหนานัน้ แลว เมื่อกวา 14 ศตวรรษที่ผานมา

เรื่องราวที่ไดกลาวมาขางตนนั้น สอดคลองอยางที่สุดกับขอความในอัลกุรอาน เพราะหากปราศจากการ คนควาวิจัยดังกลาว มนุษยจะมองเห็นแตเพียงคลืน่ ที่อยูบนผิวน้ําเทานั้น และเปนไปไมไดเลยที่เราจะไดรับรู เกี่ยวกับคลื่นที่อยูใตทะเล ทั้งนี้ อัลลอฮ (ซ.บ.) ไดทรงบอกพวกเราไวลวงหนาแลวในซูเราะฮอนั นูร ถึงเรื่องราว เกี่ยวกับคลื่นอีกชนิดหนึง่ ที่เกิดขึ้นภายใตระดับน้ําที่มีความลึกมากในมหาสมุทร และแนนอนทีส่ ุด ความจริงซึ่ง นักวิทยาศาสตรเพิ่งจะคนพบขอนี้เปนขอพิสูจนที่ชัดเจนอีกอยางหนึง่ วาอัลกุรอานนั้นเปนวจนะของพระผูเปนเจา โดยแทจริง

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 52

สวนที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของมนุษย “มิใชเชนนั้น ถาเขายังไมหยุดยั้ง เราจะจิกเขาที่ขมอมอยางแนนอน ขมอมที่โกหก ที่ประพฤติชั่ว” (อัลกุรอาน 96:15-16) วจนะทีว่ า “ขมอมที่โกหกทีป่ ระพฤติชั่ว” ในอายะฮขางตนนัน้ นาสนใจเปนอยางยิง่ การวิจยั เมือ่ ไมกี่ปมานี้ ไดยืนยันวา บริเวณสวนสําคัญ ซึ่งเปนสวนที่ควบคุมการจัดการหนาทีก่ ารทํางานของสมองสวนตางๆแตละสวนนั้น อยูในบริเวณหนาสุดของกะโหลกศีรษะ เมื่อประมาณ 60 ปที่ผา นมา นักวิทยาศาสตรเพิง่ จะคนพบหนาทีก่ าร ทํางานของสมองสวนนี้ ซึ่งเปนสิ่งที่ไดกลาวไวในอัลกุรอาน เมื่อกวา 1,400 ปมาแลว หากเรามองเขาไปในกะโหลก ตรงบริเวณสวนหนาของศีรษะ จะเห็นดานหนาของสมองสวนทีเ่ รียกวา Cerebrum ในหนังสือ Essential of Anatomy and Physiology ซึ่งเปนหนังสือที่รวบรวมผลการวิจยั ลาสุดเกี่ยวกับสมองสวนนี้ กลาวไววา แรงจูงใจและการคาดการณเพื่อวางแผนและริเริ่มการเคลื่อนไหวตางๆ เกิดขึ้นในบริเวณที่อยูด านหนาของ รอยหยักสมองสวนหนา ซึ่งเปนสวนที่รวมสวนสําคัญตางๆไว..14. หนังสือเลมเดียวกันนี้ ยังกลาวอีกวา สมองสวนหนาสุดนี้ มีความสัมพันธกับแรงจูงใจ เพราะเปนศูนยกลางการทํางานของความกาวราว... ดังนัน้ พื้นที่สว นหนาของ Cerebrum นี้ จึงเปนสวนของสมองที่จะ ควบคุมการวางแผน, การสรางแรงจูงใจ และเปนสวนทีส่ รางพฤติกรรมที่ดี และไมดี และยังควบคุมการพูดเท็จ และการพูดความจริง อีกดวย เราจะเห็นไดอยางชัดเจนวา วจนะที่กลาวไววา “ขมอมที่โกหกที่ ประพฤติชั่ว” สอดคลองตรงกันอยางยิ่งกับกับผลงานวิจัยที่ไดกลาวขางตน ขอเท็จจริงซึง่ นักวิทยาศาสตรเพิ่งคนพบเมื่อ 60 ปที่ผา นมานี้ ไดบนั ทึกไว กอนแลวจากวจนะของพระผูเ ปนเจา ตั้งแตเมื่อพันกวาปกอนนั้น

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 53

การกําเนิดของมนุษย วิชาการหลากหลายแขนงไดบันทึกไวในอัลกุรอาน เพื่อเชิญชวนใหมนุษยมีความศรัทธา ทั้งในเรือ่ งสวรรค เรื่องสัตว เรื่องพืช ตางก็ไดบันทึกไวเปนหลักฐานแกมนุษยชาติโดยอัลลอฮ (ซ.บ.) อายะฮกุรอานหลายอายะฮได เรียกรองใหมนุษยหนั มาพิจารณาเรื่องการที่อัลลอฮ (ซ.บ.) สรางมนุษย มีการย้ําเตือนหลายครั้งวามนุษยชาตินั้น เกิดขึ้นมาไดอยางไร ไดผานขั้นตอนตางๆอะไรบาง และหัวใจสําคัญในเรื่องนี้ก็คือ “เรานั้นไดสรางพวกขึน้ มา ไฉนเลาพวกเจาจึงไมเชือ่ (ในวันฟนคืนชีพ) พวกเจาเห็นสิ่งทีพ ่ วกเจาหลั่ง ออกมา (อสุจิ) แลวมิใชหรือ พวกเจาสรางมันขึ้นมา หรือวาเราเปนผูสราง” อัลกุรอาน (56:57-59) การสรางมนุษยและความมหัศจรรยในเรื่องนี้ไดกลาวย้าํ ในอายะฮอ่นื ๆอีกหลายอายะฮดวยกัน บางหัวขอ ของเรื่องราวในอายะฮดังกลาว มีรายละเอียดมากและลึกซึ้งเกินกวาที่ใครก็ตามทีม่ ีชีวิตในชวงเวลาเมื่อ 1,400 กวา ปที่ผานมา จะมีความรูและเขาใจได ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. มนุษยไมไดถูกสรางขึ้นมาจากน้าํ อสุจทิ ั้งหมด หากแตเกิดมาจาก สวนเล็กๆ(ตัวอสุจิ) สวนเดียวของมันเทานัน้ 2. ฝายชายจะเปนผูกําหนดเพศของทารก 3. ตัวออนของมนุษย (Embryo - ไขทไี่ ดรับการปฏิสนธิแลว) จะเกาะติดกับผนังดานในมดลูกของมารดา เหมือนกับตัวปลิง 4. ตัวออนจะพัฒนาขึ้น 3 ขั้นตอนในความมืดของมดลูกของมารดา บรรดาผูคนทีม่ ีชีวิตอยูในชวงเวลาที่อัลกรุอานไดถูกประทานลงมานั้น รูวาองคประกอบพืน้ ฐานของการ กําเนิดของมนุษยนนั้ เกีย่ วของกับน้ําอสุจทิ ี่หลัง่ ออกมาเมื่อมีเพศสัมพันธ และความเปนจริงทีว่ า ทารกจะคลอด ออกมาหลังจากอยูในครรภมารดาเปนระยะเวลาเกาเดือนนัน้ เปนที่รกู ันอยางชัดแจง โดยไมตองมีการคนหาขอมูล เพิ่มเติมใดๆ แตทวาเรื่องตางๆตามขั้นตอนที่ไดกลาวมาขางตนนัน้ เปนความรูซึ่งเกินกวาที่ผูคนในสมัยนัน้ จะเขาใจ ได และเพิ่งจะคนพบดวยวิชาการทางวิทยาศาสตรในศตวรรษที่ 20 นี้เอง เราจึงควรศึกษารายละเอียดของแตละสวนตามหัวขอดังตอไปนี้

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 54

หยดหนึ่งของน้ําอสุจิ ในระหวางการมีเพศสัมพันธแตละครั้ง ฝายชายจะหลั่งอสุจิออกมาประมาณ 250 ลานตัว ตัวอสุจิตอง เดินทางแหวกวายอยูในรางของฝายหญิง เพื่อใหถงึ ไขของฝายหญิง ซึง่ จากจํานวนตัวอสุจิทงั้ หมด 250 ลานตัว จะ เหลือเพียง 1,000 ตัวเทานัน้ ที่จะสามารถมาถึงไขได และหลังจากการแขงขันกันกวา 5 นาที จะมีตัวอสุจิเพียงตัว เดียวเทานั้น ที่สามารถเจาะเขาไปในผนังของไขซึ่งมีขนาดเล็กเทากับครึ่งหนึง่ ของเม็ดเกลือ นัน่ หมายความวา สิ่งที่ สําคัญที่สุดจากฝายชายนั้นไมใชน้ําอสุจทิ งั้ หมด หากแตเปนเพียงสวนเล็กๆสวนหนึ่งเทานัน้ ซึง่ ในอัลกุรอานได กลาวไววา “มนุษยคิดหรือวา เขาจะถูกปลอยไวโดยไรจุดหมายกระนั้นหรือ เขามิไดเปนน้ํากามหยดหนึ่งจากน้ําอสุจิที่ถูกพุงออกมากระนัน้ หรือ” (อัลกุรอาน 75:36-37) เราไดเห็นแลววา อัลกุรอานบอกแกพวกเราวา มนุษยมิไดเกิดมาจากน้าํ อสุจิทงั้ หมด หากเกิดจากสวน เล็กๆของมันเทานั้น การเนนย้าํ เรื่องดังกลาวในอายะฮขา งตน ไดแสดงใหเห็นขอเท็จจริงซึง่ เพิ่งจะมีการคนพบดวย วิทยาศาสตรสมัยใหม เปนหลักฐานวา ถอยคําทีก่ ลาวไวในอัลกุรอานนัน้ เปนวจนะของพระผูเปนเจาโดยแทจริง ภาพดานซายคือภาพน้ําอสุจิที่หลั่งเขาสูมดลูก ตัวอสุจิ เพียงจํานวนไมมากนัก จากทั้งหมด 250 ลานตัวที่หลั่ง จากฝายชาย จะสามารถไปถึงไขที่อยูในมดลูกได ตัว อสุจิที่จะปฏิสนธิกับไขนั้น เปนเพียงตัวเดียวเทานั้นจาก จํานวนประมาณหนึ่งพันตัวทีร่ อดมาถึงไขได ความจริง ที่วามนุษยไมไดถูกสรางขึ้นมาจากน้ําอสุจิทงั้ หมด หากแตเกิดจากสวนเล็กๆของมันเทานั้น มีความสัมพันธ กับขอความในอัลกุรอาน ที่กลาวถึง “หยดหนึ่งจากน้ํา อสุจิที่พุงออกมา”

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 55

สวนผสมในน้ําอสุจิ ของเหลวที่เรียกวาน้ําอสุจิ ซึ่งมีตัวอสุจิอยูนนั้ หาไดมีแตเพียงตัวอสุจิเทานัน้ ในทางตรงกันขาม มัน ประกอบดวยสวนผสมของของเหลวหลายชนิด ของเหลวตางๆเหลานี้มีหนาที่แตกตางกัน เชน มีน้ําตาล ซึ่งจําเปน สําหรับการใหพลังงานแกตัวอสุจิ ชวยลดความเปนกรดบริเวณปากมดลูก และชวยหลอลื่นใหตัวอสุจสิ ามารถ เคลื่อนเขาไปในมดลูกไดอยางสะดวก การที่อัลกุรอานไดกลาวถึงน้าํ อสุจิไว ก็เปนสิ่งที่นา สนใจมากพออยูแลว นอกจากนัน้ ยังไดกลาวถึงการทีน่ ้ํา อสุจิเปนของเหลวที่ประกอบไปดวยสวนผสมตางๆหลายสวน ซึ่งขอเท็จจริงนี้เพิ่งจะถูกคนพบดวยวิทยาการ สมัยใหมเมื่อไมนานมานี้ “แทจริงเราไดสรางมนุษยจากน้าํ เชื้อผสมหยดหนึ่ง เพื่อเราจะไดทดสอบเขา ดังนั้นเราจึงทําใหเขาเปนผูไดยิน เปนผูไดเห็น” (อัลกุรอาน 76:2) อีกอายะฮหนึง่ ไดกลาวถึงน้าํ อสุจิวา เกิดจากองคประกอบหลายสวนผสมกัน และยังย้ําอีกวา มนุษยนนั้ ถูก สรางขึ้นมาจาก สวนที่ดีที่สดุ ของสวนผสมนี้ “ผูทรงทําใหทุกสิ่งที่พระองคทรงสรางมันใหดีงาม และพระองคทรงเริ่มการสรางมนุษยจากดิน แลวทรงใหการสืบตระกูลของมนุษยมาจากสวนที่ดที ี่สุดจากน้ํา(อสุจิ)อันไรคา ” (อัลกุรอาน 32:7-8) คําวา – ‫ ﺳﻠﻠﺔ‬- (ซุลาละต) ในภาษาอาหรับ แปลวา สวนที่ ดีที่สุด ซึ่งหมายถึงสวนที่สําคัญหรือดีที่สุดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรืออีกนัยหนึง่ หมายถึง สวนหนึ่งของทัง้ หมด ขอความ ขางตนนี้แสดงวา ถอยคําดังกลาวนัน้ เปนของผูที่มีความ รอบรูถึงการกําเนิดของมนุษยไดอยางละเอียดลึกซึ้งที่สดุ ซึ่งแทจริงก็คือ อัลลอฮ (ซ.บ.) ผูทรงสรางมนุษยชาติทงั้ มวล

หมายเหตุ ในอัลกุรอานฉบับ ภาษาไทย แปลวา “...ทรงใหการสืบตระกูลของมนุษย มาจากน้ํา (อสุจิ) อันไรคา ”... ซึ่งไมปรากฏความหมายของคําวา – ‫ ﺳﻠﻠﺔ‬-ใน - ‫ ﻣﻦ ﺳﻠﻠﺔ ﻣﻦ ﻣﺎء ﻣﻬﻴﻦ‬คําวา - ‫ ﺳﻠﻠﺔ‬-ในพจนานุกรม อาหรับ-ไทย แปลวา สวนที่ดีที่สุด ดังนั้น ในที่นี้จึงเพิม่ ขอความใหมนี้มาดวย เปน “...ทรงใหการสืบตระกูลของมนุษย มาจากสวนที่ดีที่สุดจากน้ํา (อสุจิ) อันไรคา”... ซึ่งตรงกับอัลกุรอานฉบับ ภาษาอังกฤษ ฉบับ The Glorious Qur’an, Translation and commentary, A Yusuf Ali 2nd Edition, 1977, หนา 1094

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 56

เพศของทารก แมกระทัง่ เมื่อไมนานมานี้ ก็ยังมีความเขาใจวาเพศของทารกกําหนดโดยเซลลจากมารดา หรืออยางนอย ที่สุด ก็นาจะมาจากทัง้ เซลลจากฝายชายและฝายหญิงรวมกัน แตในอัลกุรอาน เราไดรับรูขอมูลที่แตกตางกันวา เพศชายและเพศหญิงนัน้ กําหนดขึ้นมาจาก “เชื้ออสุจิ เมื่อมันหลั่งออกมา” “และแทจริงพระองคทรงสรางสามีภรรยาคูหนึ่ง เปนเพศชายและเพศหญิง จากเชื้ออสุจิ เมื่อมันหลัง่ ออกมา” (อัลกุรอาน 53:45-46) ความรูในเรื่องหนวยพันธุกรรม(ยีน)และโมเลกุลทางชีวภาพที่มีการพัฒนาอยางตอเนือ่ ง ไดยืนยันความ ถูกตองตามหลักทางวิทยาศาสตรของขอมูลในอัลกุรอาน ซึ่งปจจุบนั เปนที่เขาใจกันเปนอยางดีวา เซลลของอสุจิ จากฝายชายเปนตัวกําหนดเพศ ไมใชจากฝายหญิง โครโมโซมนัน้ คือสวนหลักทีก่ ําหนดเพศของทารก โครโมโซม 2 แทง จาก 46 แทง ซึ่งเปนตัวกําหนด โครงสรางของมนุษย เรียกวา โครโมโซมเพศ ไดแก โครโมโซม “XY” ในเพศชาย และโครโมโซม “XX” ในเพศหญิง เนื่องจากรูปรางของโครโมโซมนัน้ มีลักษณะคลายกับตัวอักษรทัง้ สองตัวดังกลาว ในอัลกุรอานไดกลาวไววา เพศชายและเพศหญิงนั้น สรางมา จาก “เชื้ออสุจิ เมื่อมันหลั่งออกมา” อยางไรก็ตาม ยังคงมี ความเชื่อที่วาเพศของทารกนั้น กําหนดโดยเซลลจากมารดา จนกระทั่งเมื่อไมนานมานี้ ความรูทางวิทยาศาสตรในศตวรรษ ที่ 20 เพิ่งจะคนพบขอมูลที่ไดกลาวไวนานมาแลวในอัลกุรอาน ขอเท็จจริงและรายละเอียดอื่นๆในทํานองนี้ เกี่ยวกับการ สรางมนุษย ไดกลาวไวแลวในอัลกุรอาน เมื่อหลายรอยปที่ ผานมา

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 57

โครโมโซม Y ประกอบดวยลักษณะของเพศชาย ในขณะที่โครโมโซม X ประกอบดวยลักษณะของเพศหญิง ในไขของ ฝายหญิงมีเพียง โครโมโซม X แตเพียงอยางเดียวเทานั้น ซึ่งเปนตัวกําหนดเพศหญิง ในน้ําอสุจิของฝายชาย มีทั้งตัว อสุจิที่มีลักษณะของเพศชาย และตัวอสุจิที่มีลักษณะของเพศหญิง ดังนั้น เพศของทารกจึงขึ้นอยูกับตัวอสุจิที่มา ปฏิสนธิกับไขนั้นมีโครโมโซม X หรือ Y อีกนัยหนึ่ง ปจจัยที่กําหนดเพศของทารกก็คือน้ําอสุจิที่มาจากฝายชาย ความรู ในเรื่องนี้ไมมผี ใู ดลวงรูมากอนในชวงเวลาทีอ่ ัลกุรอานไดประทานลงมา จึงเปนหลักฐานยืนยันวา อัลกุรอานนั้น เปน วจนะของอัลลอฮ (ซ.บ.)

โครโมโซม Y มีหนวยพันธุกรรมที่มีรหัสเพศชาย ในขณะที่โครโมโซม X มีหนวยพันธุกรรมที่มีรหัสเพศหญิง การเกิดรูปรางของมนุษยเริ่มดวยการไขวสลับกันของแตละโครโมโซมเหลานี้ ซึง่ จับคูกันอยูในเพศชายและ เพศหญิง ในเพศหญิง นัน้ สวนประกอบทั้งสองสวนของเซลลเพศ ซึ่งถูกแบงออกเปน 2 สวนในระหวางอยูในรังไข เปนตัวนําโครโมโซม X, ในอีกดานหนึ่งเซลลเพศในผูชาย ผลิตตัวอสุจิแตกตางกัน 2 แบบ แบบหนึง่ มีโครโมโซม X อีกแบบหนึง่ มีโครโมโซม Y, ถาหากโครโมโซม X จากฝายหญิง ผสมกับตัวอสุจทิ มี่ ีโครโมโซม X ทารกที่เกิดมาจะ เปนเพศหญิง แตถาหากผสมกับตัวอสุจทิ มี่ ีโครโมโซม Y ทารกที่เกิดมาจะเปนเพศชาย หรืออีกนัยหนึง่ กลาวไดวา เพศของทารกนั้นกําหนดโดยโครโมโซมแทงใดแทงหนึ่งจากฝายชาย มาผสมกับ ไขของฝายหญิง ไมมีใครรูเรื่องราวตางๆเหลานี้จนกระทัง่ มีการคนพบหนวยพันธุกรรมในศตวรรษที่ 20 อันที่จริงแลว การที่ หลายๆสังคมเชื่อวาเพศของทารกกําหนดขึ้นจากรางกายของฝายหญิง ก็เปนสาเหตุที่ทาํ ใหผหู ญิงถูกประณามเมื่อ ใหกําเนิดทารกเพศหญิง อยางไรก็ตาม อัลกุรอานไดปฏิเสธความเชื่อที่ผิดเหลานี้ มานานกวา 1300 ปกอ นหนาการคนพบหนวย พันธุกรรมของมนุษย และอัลกุรอานยังมีขอสรุปถึงการกําหนดเพศของทารกวา ไมไดอยูที่ฝายหญิง แตอยูที่นา้ํ อสุจิจากฝายชาย

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 58

กอนเลือดที่เกาะติดกับมดลูก หากเรายังคงตรวจสอบขอเท็จจริงที่ประทานลงมายังพวกเราในอัลกุรอานอยางตอเนื่อง ในเรื่องที่เกี่ยวกับ การกอเกิดเปนรูปรางของมนุษย เราก็จะพบความมหัศจรรยทางวิทยาศาสตรที่สําคัญมากบางเรื่อง เมื่ออสุจิของฝายชายผสมกับไขของฝายหญิง นัน่ หมายความวา สวนสําคัญที่สุดในการสรางทารกได กอกําเนิดขึ้นแลว เซลลเดี่ยวที่เกิดขึ้นนี้ เรียกชื่อทางชีววิทยาวา “ไซโกต (Zygote) ”ซึง่ จะเริ่มแบงตัวในทันที ในไม ชาก็จะกอเกิดกอนเนื้อกอนหนึง่ ทีเ่ รียกวา “ตัวออน (Embryo)” และแนนอนที่สุด ทางเดียวที่มนุษยจะสามารถเห็น กอนเนื้อนี้ได ก็ดวยการใชกลองจุลทรรศนเทานัน้ อยางไรก็ตาม ตัวออนนี้ไมไดเติบโตอยูในที่เวิง้ วาง แตเกาะติดอยูกับผนังมดลูก เหมือนกับรากของตนไมที่ หยัง่ ลึกลงไปในพืน้ ดิน จากการที่มันเกาะติดไวอยางนี้ ตัวออนจะสามารถรับสารอาหารที่จําเปนในการพัฒนา ตัวเองมาจากรางกายของมารดาได และในขั้นตอนนี้เอง ที่ความมหัศจรรยที่สุดอยางหนึง่ ในอัลกุรอานไดถูกกลาวถึงอีกครั้งหนึ่ง ในการอางถึง ตัวออนทีก่ ําลังพัฒนา ในครรภมารดา พระองคใชคําวา “อะลัก” ในอัลกุรอาน “จงอาน ดวยพระนามแหงพระเจาของเจาผูทรงบังเกิด ทรงบังเกิดมนุษยจากกอนเลือด จงอานเถิด และพระเจาของเจานัน้ ผูทรงใจบุญยิ่ง” (อัลกุรอาน 96:1-3) ในชวงแรก ของการพัฒนา ความหมายของคําวา “อะลัก” ในภาษา ทารกในครรภมารดาจะอยู อาหรับ หมายถึง สิง่ ที่เกาะติดอยูกับที่ใดทีห่ นึง่ ซึง่ คํา ในรูปของ “ไซโกต” ซึ่ง นี้ ใชอธิบายลักษณะของปลิงที่เกาะติดกับรางกาย เกาะติดอยูกับผนังมดลูก คนหรือสัตวอนื่ เพื่อดูดเลือด ของมารดา เพื่อดูด สารอาหารตางๆจากเลือด แนนอนที่สุดวา การใชคําที่มีความหมาย ของมารดา ภาพนี้ แสดง ชัดเจนอยางทีส่ ุดเพื่ออธิบายลักษณะของตัวออนที่ ใหเห็นไซโกต ซึ่งดูเหมือน กําลังพัฒนาอยูในครรภมารดานี้ เปนเครื่องพิสูจนที่ กอนเนื้อกอนหนึ่ง ขอมูลซึ่งเพิ่งจะคนพบโดยนักวิทยา เอมไบรโอในสมัยนี้ ไดกลาวไวแลวในอัลกุรอาน เมื่อ ชัดเจนอีกครั้งวา อัลกุรอานนั้น เปนวจนะของพระผู 1400 ปกวาดวยคําวา “อะลัก” ซึ่งหมายถึง “สิ่งที่ เปนเจาแหงสากลโลก เกาะติดอยูกับที่ใดที่หนึง่ ” คําดังกลาวใชเพื่ออธิบาย ลักษณะของการที่ปลิงเกาะติดกับรางกายคนหรือสัตว อื่นเพื่อดูดเลือด

หมายเหตุ คําวา - - ‫ ﻋﻠﻖ‬มีหลายความหมายคือ กอนเลือด ตัวดูดเลือด ปลิง และ สิ่งที่แขวนอยู ในบทนี้ คํา ‫ ﻋﻠﻖ‬- – นาจะหมายถึงสิ่งที่แขวนอยู หรืเกาะติดอยูติดแนน ซึ่งตรงกับอัลกุรอานฉบับ ภาษาอังกฤษ ฉบับ The Qur’an, Arabic Text with Corresponding English Meaning, English revised & edited by Saheeh International, 1977 The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 59

กลามเนื้อหอหุมกระดูก เรื่องสําคัญอีกเรื่องหนึ่งที่ไดกลาวไวในอัลกุรอาน ก็คือเรือ่ งที่เกี่ยวกับขัน้ ตอนการเจริญเติบโตของทารกใน ครรภมารดา อัลกุรอานไดกลาวไววา ภายในครรภของมารดานัน้ กระดูกจะพัฒนาขึ้นกอน และตอมาจะมี กลามเนื้อกอตัวขึ้นมาหอหุม “แลวเราไดทาํ ใหเชื้ออสุจกิ ลายเปนกอนเลือด แลวเราไดทําใหกอ นเลือดกลายเปนกอนเนือ้ แลวเราได ทําใหกอ นเนือ้ เปนกระดูก แลวเราหุมกระดูกนั้นดวยเนื้อ แลวเราไดเปาวิญญาณใหเขากลายเปนอีก รูปรางหนึ่ง ดังนั้นอัลลอฮ ทรงจําเริญยิ่ง ผูทรงเลิศแหงปวงผูสราง” (อัลกุรอาน 23:14) วิทยาเอมไบรโอ เปนสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยา ที่เปนการศึกษาการเจริญเติบโตของตัวออนในครรภมารดา นักวิทยาศาสตรในสาขานีม้ คี วามเขาใจมาโดยตลอดวา กระดูกและเนื้อนัน้ พัฒนาขึ้นพรอมกัน ดวยเหตุนี้เองที่มี การกลาวหากันมาอยางยาวนานวา อัลกุรอานอายะฮนี้ขัดแยงกับขอเท็จจริงทางวิทยาศาสตร แตดวย ความกาวหนาของเทคโนโลยีสมัยใหม ไดมีการทําวิจยั โดยใชกลองจุลทรรศนที่มีความสามารถสูงมากขึ้น และผล จากการวิจยั ไดแสดงใหเห็นวา วจนะที่กลาวไวในอัลกุรอานนั้นถูกตองทุกคํา จากการเฝาสังเกตโดยใชกลองจุลทรรศน ไดแสดงให เห็นวาพัฒนาการที่เกิดขึ้นในครรภมารดานั้น เหมือนกับ เรื่องราวที่ไดอธิบายไวในอัลกุรอานทุกประการ เริ่มจาก เนื้อเยื่อที่เปนสวนของกระดูกออนไดกลายเปนกระดูกทีแ่ ข็ง ขึ้น ตอมาเซลลของกลามเนือ้ โดยรอบของกระดูกแตละสวน กอตัวขึ้นและหอหุมกระดูกสวนนั้นไว เรื่องนี้ไดมีคําอธิบายใน วารสาร ทางวิทยาศาสตรชื่อ Developing Human ดังตอไปนี้ กระดูกทารกทีพ ่ ัฒนาเสร็จสมบูรณจะหอหุมดวย กลามเนื้อในชวงระยะเวลาหนึ่ง

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 60

อัลกุรอานกลาวถึงขั้นตอนการพัฒนาของทารกในครรภมารดาไวใน อายะฮที่ 14 ซูเราะฮ อัล มุอมินูน วา กระดูกออนของตัวออนในครรภ มารดาจะถูกพัฒนากลายเปนกระดูก หลังจากนั้นจะมีกอนเนื้อมา หอหุม อัลลอฮ (ซ.บ.) ไดอธิบายการพัฒนาในขั้นตอนนี้ดวยอายะฮที่วา “...แลวเราไดทําใหกอนเลือดกลายเปนกอนเนื้อ แลวเราไดทําใหกอน เนื้อกลายเปนกระดูก แลวเราหุมกระดูกนั้นดวยเนื้อ...”

ในชวงระยะเวลา 7 สัปดาห เคาโครงของรางกายไดเริ่มพัฒนาขึ้นและกระดูกก็ปรากฏเปนรูปรางชัดเจน ในชวงสุดทายสัปดาหที่ 7 และภายในสัปดาหที่ 8 กลามเนื้อไดกอตัวขึ้นรอบๆกระดูก กลาวโดยสรุปไดวา การเจริญเติบโตของมนุษยในครรภมารดา ซึ่งไดกลาวไวในอัลกุรอานนั้น สอดคลองตรงกัน ทุกประการกับความเปนจริงทางวิทยาศาสตร ที่เพิง่ คนพบเมื่อเร็วๆนี้

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 61

ทารกในครรภมารดา อัลกุรอานไดกลาวไวในซูเราะฮอัซซุมัร วา มนุษยถูกสรางขึ้นในครรภมารดาตามกระบวนการสามขัน้ ตอน “...พระองคทรงสรางพวกเจาในครรภของมารดาพวกเจา เปนการบังเกิดครั้งแลวครั้งเลาอยูในความมืด สามชัน้ นั่นคืออัลลอฮ พระเจาของพวกเจา พระอํานาจเปนสิทธิของพระองค ไมมีพระเจาอื่นใดที่เที่ยงแท นอกจากพระองค แลวทําไมพวกเจาจึงผินหนาไปทางอื่น?” (อัลกุรอาน 39:6) ขอความในอายะฮขางตน กลาววามนุษยจะถูกสรางขึน้ ภายในครรภมารดาจาก 3 ขั้นตอนที่แตกตางกัน ใน ความเปนจริง ชีววิทยาสมัยใหมก็ไดยนื ยันแลววา การเจริญเติบโตของตัวออนของทารกในครรภมารดานั้น แบง ออกเปน 3 ระยะดวยกัน ปจจุบนั วิชานี้เปนพืน้ ฐานของความรูเบือ้ งตนในหนังสืออางอิงทุกเลมที่ใชในการเรียนใน คณะแพทยศาสตร ตัวอยางเชน หนังสือ Basic Human Embryology ซึ่งเปนหนังสืออางอิงเบือ้ งตนของการศึกษา วิชาวิทยาเอมไบรโอ ไดกลาวถึงขอเท็จจริงในเรื่องนี้วา “ชีวิตในมดลูกนั้น มี 3 ระยะ คือ Pre-Embryonic (ระยะกอน เปนตัวออน) ในชวงแรกใชเวลาสองสัปดาหครึ่ง ,Embryonic (ระยะที่เปนตัวออน) คือเวลาหลังจากชวงแรกไปจน สิ้นสุดสัปดาหที่ 8 และ Fetal (ระยะทารกในครรภ)นับตั้งแตหลังสัปดาหที่ 8 ไปจนถึงชวงทีม่ ีการเจ็บทองเพื่อคลอด บุตร ทั้ง 3 ระยะนี้ไดบอกถึงขัน้ ตอนการเจริญเติบโตที่แตกตางกันของทารกในครรภ ลักษณะพัฒนาการในแตละ ขั้นตอนดังกลาวนั้นสามารถอธิบายโดยยอไดดังนี้ Pre-Embryonic Stage (ระยะกอนเปนตัวออน) ในชวงแรกนี้ ไซโกต (เซลลเดี่ยวทีเ่ กิดจากไขที่ไดรับการผสม แลว) จะเติบโตโดยการแบงตัว จนกลายเปนกลุมของเซลลกลุมหนึ่ง ซึ่งจะฝงตัวติดกับผนังของมดลูก เซลลเหลานี้ได จัดเรียงตัวเองเปน 3 ชั้นพรอมๆกับการแบงตัวอยางตอเนื่อง Embryonic Stage (ระยะที่เปนตัวออน) ชวงที่ 2 ใชเวลาประมาณ 5 สัปดาหครึง่ ทารกซึง่ เรียกวา ตัวออน (Embryo) ในชวงนี้ อวัยวะตางๆและระบบพื้นฐานของรางกายเริ่มทีจ่ ะปรากฏใหเห็นชัดขึน้ ในระหวางชัน้ ของเซลล Fetal Stage (ระยะทารกในครรภ) จากชวงเวลานี้เปนตนไป ตัวออน (Embryo) เรียกวา Fetus (ทารกในครรภ) ชวงนี้เริ่มจากหลังสัปดาหที่ 8 ของการตั้งครรภ ไปจนถึงนาทีที่คลอดออกมา ลักษณะเดนของการเจริญเติบโตใน ระยะนี้คือ ลักษณะของทารกในครรภ (Fetus) นัน้ จะดูเหมือนกับรางกายที่สมบูรณทุกอยางทั้ง ใบหนา มือ และเทา แมวาจะมีขนาดแค 3เซนติเมตรในตอนแรก แตอวัยวะตางๆก็ไดปรากฏใหเห็นอยางชัดเจนแลว ชวงระยะนี้ใชเวลา ประมาณ 30 สัปดาห และมีการพัฒนาอยางตอเนื่องไปจนกระทั่งคลอดออกมา

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 62

ในอายะฮที่ 6 ของซูเราะฮ อัซซุมัร ไดระบุวามนุษยถูกสรางขึ้นภายในครรภมารดา โดยแบงเปน 3 ระยะ และในความเปนจริง วิทยาเอมไบรโอไดยืนยันในเรื่องนี้วา พัฒนาการของทารกเกิดขึน้ ใน 3 ขั้นตอนภายในครรภมารดา

ขอมูลของการเจริญเติบโตภายในครรภมารดานั้น เพิ่งจะเปนที่รับรูอยาง กวางขวางจากการเฝาสังเกต ดวยกลองจุลทรรศนขนาดเล็กที่มี ความสามารถสูงเทานัน้ จึงเหมือนกับขอเท็จจริงทางวิทยาศาสตรอีก มากมาย ที่ไดกลาวไวอยางนาอัศจรรยกอ นหนานี้แลวในอัลกุรอาน และ ความเปนจริงที่วา ขอมูลตางๆ ซึ่งมีรายละเอียดลึกซึง้ และมีความถูกตอง แมนยําเหลานี้ ไดกลาวไวแลวในอัลกุรอาน ตั้งแตในยุคที่ผูคนแทบจะไมมี ความรูในเรื่องแพทยศาสตรเลยนัน้ เปนหลักฐานชัดเจนที่พิสูจนไดวาอัลกุ รอานนัน้ ไมไดเปนคํากลาวของมนุษย หากแตเปนวจนะของอัลลอฮ (ซ.บ.) เทานัน้

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 63

น้ํานมมารดา น้ํานมมารดาเปนสารอาหารที่ยงั ประโยชนแกมนุษยอยางไมมีสิ่งใดเสมอเหมือน อัลลอฮ (ซ.บ.) สรางน้าํ นมมา เพื่อเปนแหลงอาหารอันยอดเยี่ยมของทารกและเปนสารที่กอใหเกิดภูมิคุมกันโรคตางๆใหแกทารก ถึงแมวา เทคโนโลยีในการผลิตนมเพือ่ ใชเลี้ยงทารกจะพัฒนาไปมากเพียงใดก็ตาม ก็ไมสามารถที่จะทดแทนคุณคาของ สารอาหารอันนาอัศจรรยนี้ได วิทยาศาสตรไดคนพบคุณประโยชนใหมของน้าํ นมมารดาเพิ่มขึน้ ทุกวัน ขอเท็จจริงประการหนึ่งที่วทิ ยาศาตร คนพบก็คือ การเลี้ยงลูกดวยนมมารดาเปนเวลาอยางนอยสองปหลังการคลอดนัน้ ชวยลดภาวะเสี่ยงตอการเปนโรค ติดเชื้อตางๆในเด็ก19 ความจริงอัลลอฮ (ซ.บ.) ไดบอกขอมูลที่สําคัญนี้ไวแลวในซูเราะฮลุกมาน เมื่อสิบสี่ศตวรรษที่ ผานมา แตทวาวิทยาศาสตรเพิ่งคนพบไดไมนานมานี้

“และเราไดสั่งการแกมนุษย เกี่ยวกับบิดามารดาของเขา โดยที่มารดาของเขา ไดอมุ ครรภเขาจนออนเพลียครั้งแลว ครั้งเลา และการหยานมของเขาในระยะเวลาสองป เจาจง ขอบคุณขา และบิดามารดาของเจา ยังเรานัน้ คือการกลับไป ( อัลกุรอาน 31:14 ) ”

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 64

ลักษณะเฉพาะที่พบในลายนิ้วมือ ในขณะที่อัลกุรอานบอกวา อัลลอฮ (ซ.บ.) ใหมนุษยฟน จากความตายนั้นเปนเรื่องงายดาย เรื่องราวของ ลายนิว้ มือก็ถกู เนนย้าํ ไวในซูเราะฮอัลกิยามะหเหมือนกันวา “แนนอนทีเดียว เราสามารถที่จะทําใหปลายนิ้วมือของเขาอยูในสภาพทีส่ มบูรณ” (อัลกุรอาน 75: 4)

แมแตแฝดแทที่หนาตาเหมือนกันก็ยังมีลายนิ้วมือที่ตางกัน ลักษณะเชนนี้สามารถนํามาพิสูจนบุคคลได ความเฉพาะตัวของ ลายนิ้วมือนั้นเทียบไดกับรหัสบารโคดที่ ใชอยูในปจจุบันนี้

การที่อัลกุรอานพูดถึงลายนิว้ มือนัน้ มีความหมายเปนพิเศษ เพราะลายนิ้วมือเปนอัตลักษณเฉพาะตัว ทุกๆคน ที่มีชีวิตอยูและที่เคยมีชีวิตอยูในโลกนี้ลว นแลวแตมีลายนิ้วมือเปนลักษณะเฉพาะตัวทัง้ สิ้น นี่เองที่เปนสาเหตุวาเหตุ ใดเราจึงใชลายนิ้วมือไวพิสจู นตัวบุคคล และประเทศตางๆทั่วโลกก็ใชลายนิ้วมือดวยวัตถุประสงคดังกลาวกันอยาง แพรหลาย ประเด็นสําคัญก็คือประโยชนของลายนิว้ มือเพิ่งจะถูกคนพบมาเมื่อไมนานนี้เองในปลายคริสตศตวรรษที่สิบ เกา แตกอนหนานั้นผูคนทัง้ หลายตางก็คิดวาลายนิว้ มือก็เปนเพียงแคเสนที่โคงๆไปมาหาความหมายพิเศษอะไรไมได แตในอัลกุรอานนัน้ อัลลอฮ (ซ.บ.) ไดชี้ใหเห็นความสําคัญของลายนิ้วมือเมื่อพันสี่รอยปมาแลว หากแตไมมีใครสนใจ ความหมายพิเศษนี้เลย เพิง่ จะเปนที่เขาใจกันในยุคปจจุบันนี้เอง

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 65

ขอมูลอนาคตที่ปรากฏในกุรอาน

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 66

ความนํา ความมหัศจรรยอีกดานหนึ่งของอัลกุรอาน คือการกลาวลวงหนาถึงเหตุการณสาํ คัญๆตางๆมากมายที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต ยกตัวอยางเชน ในซูเราะฮ อัลฟตฮ อายะฮที่ 27 ที่ไดใหความมั่นใจแกผูศรัทธาวาพวกเขาจะไดยึด ครองนครมักกะห ซึง่ ในขณะนั้นอยูภายใตการยึดครองของกลุมผูปฏิเสธอิสลาม “โดยแนนอนอัลลอฮไดทรงทําใหความฝนนั้นสมจริงแกรอซูลของพระองค ดวยความจริงแนนอน พวกเจาจะไดเขาสูม ัสยิดฮะรอม อยางปลอดภัยหากอัลลอฮทรงประสงค โดย (บางคน) โกนผมของพวกเจา และ (อีกบางคน) ตัดผม พวกเจาอยาไดหวาดกลัว เพราะอัลลอฮทรงรอบรู สิ่งที่พวกเจาไมรู ดังนั้นพระองคจึงไดทรงกําหนดชัยชนะอื่นจากนั้น ซึ่งชัยชนะอันใกลน”ี้ (อัลกุรอาน 48:27) หากเราพิจารณาอยางถี่ถว นแลวจะพบวา อายะฮดังกลาวไดประกาศถึงชัยชนะที่จะเกิดขึ้นกอนชัยชนะที่มัก กะห นัน่ ก็คือการที่บรรดาผูศ รัทธาสามารถเขายึด ปอมไคเบอร ที่ชาวยิวครอบครองอยู และหลังจากนัน้ จึงเขายึด ครองมักกะห การประกาศถึงเหตุการณที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเชนนี้เปนหนึง่ ในความรอบรูทั้งปวงทีม่ ีอยูในอัลกุรอาน สิง่ นี้ เปนหลักฐานยืนยันไดอีกวา อัลกุรอานนัน้ เปนวจนะของอัลลอฮ (ซ.บ.) ผูทรงรอบรูทุกประการ ความพายแพของ อาณาจักรไบเซนไทนก็เปนเหตุการณในอนาคตอีกเหตุการณหนึ่งที่กลาวไวพรอมกับขอมูลอื่นๆ ที่ไมมีมนุษยคนใดใน สมัยนัน้ จะเขาใจได ประเด็นที่นา สนใจที่สดุ ในเหตุการณทางประวัติศาสตรนี้คือ ขอกลาวที่วา ชาวโรมันจะปราชัยใน ดินแดนที่ตา่ํ ทีส่ ุดของโลก ซึง่ จะไดกลาวถึงอยางละเอียดในบทตอไป สิ่งทีน่ าสนใจก็คือ คําวา “ดินแดนที่ต่ําที่สุด” ถูก เนนเปนพิเศษในอายะฮที่จะกลาวถึงนี้ ดวยเทคโนโลยีและความรูในสมัยนัน้ ไมมีทางที่จะสามารถวัดและกําหนดได วา ที่ใดคือ ดินแดนที่ตา่ํ ที่สดุ ของโลก นี่คือดํารัสของอัลลอฮ (ซ.บ.) ผูทรงรอบรูยิ่ง

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 67

ทะเลเดดซี ซึ่งเปนสถานที่ที่ชาวไบเซนไทนปราชัยแกชาวเปอรเซีย ดานบนเปนภาพถายดาวเทียมในบริเวณที่กลาววา เปน ทะเลสาบแหงลูต ดินแดนที่ต่ําที่สุดของโลก ซึ่งต่ํากวาระดับน้ําทะเล 395 เมตร

ชัยชนะของชาวไบเซนไทน เราจะพบความมหัศจรรยอกี ประการหนึง่ ที่เกีย่ วของกับเหตุการณในอนาคตในอัลกุรอาน ไดในซูเราะฮอัรรูม อายะฮที่ 1-4 ซึ่งไดกลาวถึง อาณาจักรไบเซนไทน ซึ่งอยูทางทิศตะวันออกของบริเวณที่จะกลายเปนอาณาจักรโรมัน หลังจากนั้น อายะฮนี้กลาวถึงอาณาจักรไบเซนไทน ทีต่ องพบกับความพายแพครัง้ ยิ่งใหญครั้งหนึ่ง แตพวกเขาก็จะ กลับมาพบกับชัยชนะไดใหมไมนานหลังจากนัน้ ซูเราะฮ อัรรูม “อะลิฟ ลาม มีม พวกโรมันถูกพิชิตแลว ในดินแดนอันใกลนี้ แตหลังจากการปราชัยของพวกเขาแลวพวกเขาจะไดรับชัยชนะ ในเวลาไมกปี่ ตอมา พระบัญชาเปนสิทธิของอัลลอฮ ทั้งกอนและหลัง (ชัยชนะ) และวันนั้นบรรดาผูศรัทธาจะดีใจ” (อัลกุรอาน 30:1-4)

หมายเหตุ อัลกุรอานฉบับ ภาษาไทย แปลวา “...ดินแดนอันใกลนี้...” แตความหมายในบทนี้ จึงนาจะหมายถึง “ดินแดนต่ําสุด” ทั้งนี้ความหมายของคําวา คําวา – ‫ادﻧﺎ‬- ในพจนานุกรม อาหรับ-ไทย แปลวา ใกล แตในพจนานุกรม อาหรับ-มลายู ยังแปลไดวา yang lebih hina ซึ่งหมายถึง ที่ซึ่งต่ํากวา The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 68

อายะฮนี้ไดถูกประทานมาในราวปค.ศ. 620 เกือบ 7 ป หลังจากที่ชาวคริสเตียนไบเซนไทนพา ยแพยับเยิน ตอ ชาวเปอรเซีย ผูบูชาเทวรูป อายะฮนี้ไดกลาวถึงชัยชนะของชาวไบเซนไทน ที่จะเกิดขึ้นในไมชา ซึ่งในขณะนัน้ ชาวไบ เซนไทนกาํ ลังทุกขยากจากความสูญเสียอยางหนัก จนดูเกือบจะไมสามารถมีชีวิตอยูตอไปได การกลับมาชนะอีกครั้ง จึงเปนเรื่องเหนือความคาดหมาย นอกเหนือจากชาวเปอรเซียแลว ชาวเอวาร ชาวสลาฟ และชาวลอมบาร ก็กําลัง คุกคามอาณาจักรไบเซนไทนอยูเชนเดียวกัน พวกเอวารไดเขามาประชิดกําแพงเมืองคอนสแตนตินโนเปล จักรพรรดิ เฮราคลิอุสแหงอาณาจักรไบเซนไทน ไดมีพระบัญชาใหนาํ ทองคําและเงินในโบสถไปหลอมเพื่อใชเปนคาใชจา ยใน สงคราม ในยามขัดสนนี้ แมกระทัง่ รูปปน สัมฤทธิก์ ็ถูกนําไปหลอมเพือ่ ใชเปนคาใชจายดังกลาว ผูปกครองเขตหลาย คนตางก็แสดงความกระดางกระเดื่องตอจักรพรรดิเฮราคลิอุส ทําใหอาณาจักรเสี่ยงตอการลมสลาย ดินแดนเมโสโป เตเมีย ซิลิเซีย ซีเรีย ปาเลสไตน อียิปต และอารเมเนีย ซึง่ เคยเปนของอาณาจักรไบเซนไทน ก็ถูกรุกรานโดยชาว เปอรเซีย ผูบูชาเทวรูป 20

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 69

กลาวอยางงายๆวา ในขณะนั้นทุกคนตางก็คาดวาอาณาจักรไบเซนไทนคงถึงการลมสลาย แต ณ เวลานั้นเอง ที่อายะฮแรกของซูเราะฮอัรรูม ไดประทานลงมาวา อาณาจักรไบเซนไทนจะไดรับชัยชนะในเวลาไมนานหลังจากนัน้ ชัยชนะครั้งนี้ดไู มนาจะเปนไปได จนชาวอาหรับผูไมศรัทธาทัง้ หลายตางก็เยยหยันขอความในอายะฮนี้ พวกเขาคิดวา ชัยชนะที่กลาวไวในกุรอานนี้ไมมีทางเปนไปได หลังจากที่อายะฮแรกของซูเราะฮ อัรรูม นี้ ไดถูกประทานลงมาเปนเวลา 7 ป ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 627 การ รบพุงระหวางชาวไบเซนไทน และชาวเปอรเซีย เกิดขึ้นทีน่ ิเนเวห ในครั้งนี้เองที่ชาวไบเซนไทน มีชัยชนะเหนือชาว เปอรเซียอยางเหนือความคาดหมาย อีกไมกี่เดือนหลังจากนัน้ ชาวเปอรเซียก็จําเปนตองทําขอตกลงกับชาวไบเซน ไทน โดยจํายอมที่จะคืนดินแดนที่ยึดครองไปทั้งหมดใหแกอาณาจักรไบเซนไทน 21 ในที่สุด “ชัยชนะของชาวโรมัน” ที่ประกาศไวในอัลกุรอาน โดยพระผูเปนเจาก็เปนจริงอยางนาอัศจรรย สิ่งมหัศจรรยอกี อยางหนึ่งคือคํากลาวที่เกี่ยวกับขอเท็จจริงทางภูมิศาสตร ซึ่งไมมีผใู ดสามารถลวงรูไดในสมัย นั้น ในอายะฮที่ 3 ของซูเราะฮอัรรูม นี้ กลาววา ชาวโรมันจะปราชัยในดินแดนที่ตา่ํ ทีส่ ุดบนพืน้ โลก คําในภาษา อาหรับ ที่วา “อัดนัลอัรด” หลายคนไดใหความหมายวาเปน “ดินแดนอันใกล” ซึ่งไมใชความหมายตามตัวอักษรของ คําดังกลาว หากแตเปนความหมายเชิงอุปมา คําวา “อัดนา” มีรากศัพท มาจากคําวา “ดีน”ี่ ซึ่งหมายถึง ต่ํา และคํา วา “อัรด” หมายถึงโลก ดังนั้น ค่ําวา “อัดนัลอัรด” จึงหมายถึงดินแดนที่ตา่ํ ที่สุดของโลก สิ่งทีน่ าสนใจที่สุดอีกอยางหนึง่ คือ ในชวงวิกฤตของสงครามระหวางอาณาจักรไบเซนไทนกับเปอรเซีย เมือ่ อาณาจักรไบเซนไทนประสบความปราชัยและตองเสียเมืองเยรูซาเล็มบนดินแดนทีต่ ่ําที่สุดของโลก ดินแดนแหงนั้น คือบริเวณทะเลเดดซี ซึ่งตั้งอยูตรงจุดกึ่งกลางของดินแดนของประเทศ ซีเรีย ปาเลสไตน และจอรแดน บริเวณ “เดดซี” แหงนี้ อยูตา่ํ กวาระดับน้าํ ทะเล 395 เมตร จึงเปนดินแดนที่ตา่ํ ที่สุดบนพื้นโลก

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 70

จากขอมูลดังกลาว อาณาจักรไบเซนไทน ประสบความปราชัยบนดินแดนที่ต่ําที่สุดบนพืน้ โลก จริงดังที่ไดกลาว ไวในอัลกุรอาน สิ่งทีนาสนใจในขอเท็จจริงเรื่องนี้คือ การวัดความลึกของบริเวณเดดซี จะสามารถทําไดโดยใชเทคโนโลยีใน สมัยใหมเทานัน้ กอนหนานี้ เปนไปไมไดเลยที่จะมีผูใดสามารถลวงรูว า ที่แหงใดเปนดินแดนที่ต่ําที่สุดบนพื้นโลก แต ดินแดนดังกลาวไดถูกกลาวไวแลวในอัลกุรอานวาเปนดินแดนที่ตา่ํ ที่สดุ บนโลก และนี่ก็เปนหลักฐานอีกประการหนึง่ วา อัลกุรอาน เปนวจนะของอัลลอฮ (ซ.บ.)

ดานบนเปนภาพถายดาวเทียมบริเวณทะเลเดดซี ซึ่งระดับความลึกสามารถวัดไดโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหมเทานั้น การ วัดดังกลาวทําใหพบวา เดดซี คือ “ดินแดนทีต่ ่ําที่สุดบนพื้นโลก”

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 71

ประวัติศาสตรกับความมหัศจรรยของอัลกุรอาน

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 72

“ฮามาน” ในอัลกุรอาน ข อ มู ล ความรู ใ นอั ล กุ ร อานที่ ไ ด ร ะบุ ไ ว เ กี่ ย วกั บ อี ยิ ป ต โ บราณนั้ น ได เ ป ด เผยถึ ง เรื่ อ งราวความจริ ง ทาง ประวัติศาสตรอยางมากมาย ที่ไมเปนที่เปดเผยจนกระทั่งเมื่อไมนานมานี้เอง ขอเท็จจริงเหลานี้ยังไดแสดงใหเราไดรู วา ทุกๆคําในอัลกรุอานนั้นกลาวจากภูมิปญญาที่แทจริง ฮามาน เปนผูที่มีชื่อปรากฎในอัลกรุอานคูกับชื่อ ฟาโรห เขาถูกกลาวถึง 6 ครั้งในที่ตางกันในอัลกุรอาน ใน ฐานะบุคคลที่ใกลชิดที่สุดของฟาโรห แตนาแปลกใจอยางยิ่งที่ชื่อ ฮามาน มิไดถูกกลาวถึงเลย ในคัมภีรเตารอต (Old Testament) สวนที่กลาวถึง ชีวิตของทานนบีมูซา อาลัยฮิสสลาม ( Moses) แตไปปรากฏอยูในบทสุดทายของคัมภีรดังกลาวในฐานะผูชวยของ กษัตริยบาบิโลน ผูกระทําทารุณชาวยิวอยางโหดเหี้ยมหลายครั้งเมื่อประมาณ 1,100 ป หลังจากสมัยนบีมูซา (อล.) ผูที่มิใชชาวมุสลิมบางคนกลาววา ทานศาสดามุฮัมมัด (ซล) ไดเขียนอัลกุรอานขึ้นมาเอง โดยการคัดลอก จากคัมภีรเตารอต และคัมภีรไบเบิ้ล (New Testament) ในระหวางการคัดลอกนั้น ทานศาสดามุฮัมมัด (ซล) ได คัดลอกเรื่องราวจากทั้งเตารอตและไบเบิ้ล มาไวในอัลกุรอานอยางผิดๆ ความไรสาระของการกลาวอางเหลานี้ เปนที่ประจักษชัดเมื่อมีการอานอักษรภาพของอียิปตโบราณออกมา เมื่อประมาณ 200 ปที่ผานมา และชื่อ ฮามาน ก็ถูกพบในตนฉบับเอกสารโบราณชิ้นนี้ กอนหนาการคนพบนี้ยังไมมีใครรูความหมายของบันทึก หรือจารึกของชาวอียิปตโบราณ เนื่องจากในยุคนั้น ภาษาของชาวอียิปตโบราณเปนอักษรภาพที่เกาแกมาก แตอยางไรก็ตามจากการขยายตัวของศาสนาคริสต รวมทั้ง อิทธิพลทางวัฒนธรรมตางๆในชวงคริสตศตวรรษที่ 2 และ 3 ชาวอียิปตก็ไดละทิ้งความเชื่ออยางโบราณๆ รวมไปถึง อักษรภาพดวย ตัวอยางอักษรภาพชิ้นสุดทายที่เปนที่รูจักกันดี ไดแก จารึกในป ค.ศ. 394 ซึ่งหลังจากนั้น ภาษาอักษร ภาพเหลานี้ไดก็ไดถูกลืมไป ไมมีผูใดที่สามารถอาน และเขาใจไดอีก ซึ่งนั่นเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นเมื่อ 200 ป ที่ผาน มาแลว ปริศนาของอักษรภาพอียิปตโบราณไดถูกไขออกในป ค.ศ. 1799 ดวยการคนพบแผนศิลาจารึก ที่เรียกวา “โร เซ็ตตา สโตน” (Rosetta Stone) ซึ่งมีอายุเกาแกถึง 196 ปกอนคริสตกาล ความสําคัญของศิลาจารึกนี้ก็คือ เขียนดวย อักษร 3 รูปแบบตางกัน คือ อักษรภาพ อักษรเดโมติก (อักษรภาพอียิปตโบราณที่ดัดแปลงใหงายขึ้น) และอักษรกรีก และจากอักษรกรีกนี้เองทําใหสามารถถอดความจากบันทึกของชาวอียิปตโบราณได ผู ที่ แ ปลคํ า จารึ ก นี้ ไ ด เ สร็ จ สมบู ร ณ ช าวฝรั่ ง เศส ชื่ อ จอง ฟรองซั ว ส ชองปอลลิ ย ง (Jean-Francoise Champollion) ทําใหทั้งภาษาที่ไดสาบสูญไป และเหตุการณตางๆที่กลาวไวในจารึก เปนที่ประจักษ และความรู เกี่ยวกับอารยะธรรม ศาสนา และสังคมของชาวอียิปตโบราณ ก็กลายเปนเรื่องที่ผูคนสามารถศึกษาได

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 73

ชื่อ ฮามาน นั้น ไมเปนที่รจู ัก จนกระทั่งไดมีการถอดความจากอักษรภาพของชาวอียิปตโบราณในศตวรรษที่ 19 เมื่อ อักษรภาพเหลานั้นไดถูกถอดความออกมา ก็เปนที่รูกันวา “ฮามาน” ก็คือ บุคคลใกลชิดที่คอยชวยเหลือฟาโรห ในฐานะ “หัวหนาคนงานสกัดหิน” (ภาพขางบนแสดงถึง คนงานกอสรางชาวอียิปตโบราณ) ประเด็นที่สําคัญยิ่งก็คือ ฮามานไดถูก กลาวถึงในอัลกุรอานในฐานะผูควบคุมงานกอสรางตามคําสั่งของฟาโรห นั่นหมายความวา ขอมูลความรูที่ไมมีผูใดเคยรู มากอนในเวลานั้น กลับปรากฏอยูในอัลกุรอาน

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 74

จากการถอดความอักษรภาพนั้น ขอมูลสําคัญชิ้นหนึ่งไดระบุถึงชื่อ “ฮามาน” ซึ่งปรากฏอยูในจารึกของชาว อียิปต และชื่อนี้ยังไดถูกนําไปไวในอนุสาวรียแหงหนึ่งในพิพิธภัณฑ ฮอฟ (Hof Museum) ในกรุงเวียนนา 22 ในพจนานุกรม “ประชาชาติในอาณาจักรใหม” (People in the New Kingdom) ซึ่งจัดทําขึ้นเพื่อรวบรวม จารึกทั้งหมดนั้น คําวา “ฮามาน” หมายถึง “หัวหนาคนงานสกัดหิน” 23 สิ่งนี้แสดงถึงขอเท็จจริงที่สําคัญมาก ซึ่งแตกตางไปจากคํายืนยันอยางผิดๆของฝายที่ขัดแยงกับอัลกุรอาน โดยที่อัลกุรอานไดระบุไววา ฮามาน คือ บุคคลที่มีชีวิตอยูในอียิปต ในสมัยทานนบีมูซา(อล) เขาเปนคนใกลชิด ของฟาโรห และมีหนาที่เกี่ยวของกับงานกอสราง ยิ่งกวานั้น อัลกุรอานยังไดบรรยายถึงเหตุการณ เมื่อฟาโรหไดสั่งใหฮามานสรางหอคอยขึ้น ซึ่งก็ตรงกับ หลักฐานตางๆทางโบราณคดี “และฟรเอานกลาววา โอปวงบริพารเอย ฉันไมเคยรูจักพระเจาอื่นใดของพวกทานนอกจากฉัน โอ ฮามานเอย จงเผาดินใหฉันดวย แลวสรางโครงสูงระฟา เพื่อที่ฉันจะไดขึ้นไปดูพระเจาของมูซาและแทจริงฉันคิดวาเขานั้นอยูในหมูผ ูกลาวเท็จ” (อัลกุรอาน 28:38) กลาวโดยสรุป การปรากฏชื่อ ฮามาน ในจารึกของชาวอียิปตโบราณนั้น มิไดเพียงแตทําใหคํากลาวอางที่ ฝายตรงขามกับอัลกุรอานที่สรรคแตงขึ้นมานั้นหมดความหมาย แตกลับสนับสนุน ยืนยันถึงความจริงอีกครั้งวา อัลกุ รอานนั้นมาจากพระผูเปนเจา ในแงความมหัศจรรย อัลกุรอานไดถายทอดใหเรารูถึงขอมูลทางประวัติศาสตร ซึ่งไม ผูใดสามารถอธิบาย หรือเขาใจมากอนเลยในชวงเวลาของทานศาสดามูฮัมมัด (ซล.)

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 75

ตําแหนงผูปกครองอียิปตในกรุอาน ทานนบีมูซา(อล.) (Moses) มิใชศาสดาเพียงทานเดียวที่อยูในดินแดนอียิปต ตามที่ปรากฏในประวัติศาสตร ของอียิปตโบราณ ทานนบียูซูฟ(อล.) (Joseph) ก็เคยอยูในอียิปตเชนเดียวกัน กอนหนาทานนบีมูซา(อล.)นานแลว มีบางอยางที่สอดคลองกัน ในเรื่องราวของทานนบีมูซา(อล.) กับทานนบียูซูฟ(อล.) การกลาวพระนาม ผูปกครองอียิปต ในชวงเวลาของทานนบียูซูฟ(อล.) นั้น ในอัลกุรอานใชคําวา “มาลิค”(พระราชา) “และกษัตริยต รัสวา จงนําเขามาหาฉันสิ ฉันจะแตงตั้งเขาใหเปนผูใกลชิดของฉัน เมื่อยูซุฟไดสนทนากับพระองคแลว พระองคตรัสวา แทจริงทานอยูตอหนาเรา เปนผูมีตําแหนงสูงเปนทีไ่ ววางใจ” (อัลกุรอาน 12:54) แตทวา ผูปกครองในชวงเวลาของทานนบีมูซา(อล.) กลับเรียกกันวา “ฟาโรห” “และโดยแนนอน เราไดใหแกมูซาสัญญาณตางๆ อันแจมชัด 9 ประการ ดังนั้น เจาจงถามวงศวานของอิสรออีล เมื่อเขา(มูซา) มายังพวกเขา ฟรเอาน ไดพูดกับเขาวา โอ มูซา เอย แทจริงฉันคิดวาทานถูกเวทยมนตอยางแนนอน” (อัลกุรอาน 17:101) บันทึกทางประวัติศาสตรที่มีในปจจุบัน แสดงใหเรารูถึงเหตุผลของขอแตกตางในการเรียกชื่อของผูปกครอง ทั้งสอง คําวา “ฟาโรห” นั้นเดิมเปนชื่อเรียกพระราชวังในสมัยอียิปตโบราณ ผูปกครองในราชวงศแตกอนไมไดใชคํานี้ เรียก มาเริ่มใชในยุค “อาณาจักรใหม” (New Kingdom) ของประวัติศาสตรอิยิปต สมัยราชวงศที่ 18 ราวป 1539 1292 กอนคริสตกาล และในยุคของราชวงศที่ 20 ในป 945 -730 กอนคริสตกาล คําวา “ฟาโรห” ก็ไดใชหมายถึง ตําแหนงที่ควรเคารพยกยอง ความมหัศจรรยของอัลกุรอานไดปรากฏใหเราไดรับรูอีกครั้งหนึ่งวา ทานนบียูซูฟ(อล.) (Joseph) มีชีวิตอยูใน ชวงเวลาของ “อาณาจักรเกา” (Old Kingdom) ซึ่งคําวา “มาลิค” ใชเรียกผูปกครองอียิปตมากอนคําวา “ฟาโรห” ในทางตรงกันขาม ในชวงเวลาของทานนบีมูซา (อล.) ใน “อาณาจักรใหม” นั้น ผูปกครองอียิปตจึงจะเรียกกันวา “ฟา โรห”

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 76

เปนที่แนชัดวา เราตองมีความรูทางประวัติศาสตรของอียิปตเสียกอน ถึงจะสามารถเห็นขอแตกตางนี้ได แต อยางไรก็ตาม ประวัติของอียิปตโบราณก็ไดเลือนหายสาบสูญไปหมดสิ้นในศตวรรษที่ 4 เชนเดียวกับอักษรภาพ ซึ่ง ไมเปนที่เขาใจไดตั้งแตนั้นมา และเพิ่งจะมีการคนพบในศตวรรษที่ 19 ดังนั้น จึงไมปรากฏความรูทางประวัติศาสตร อียิปตโบราณอยางถี่ถวนเลย จนกระทั่งอัลกุรอานเผยแพรขึ้นมา สิ่งนี้จึงเปนขอเท็จจริงอีกประการหนึ่งจากบรรดา หลักฐานขอเท็จจริงจํานวนมาก ที่พิสูจนไดวา อัลกุรอานนั้น เปนวจนะของพระผูเปนเจา

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 77

บทสงทาย อัลกุรอาน วจนะของพระผูเปนเจา

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 78

อัลกุรอาน วจนะของพระผูเปนเจา ทั้งหมดที่เราไดรับรูมาตั้งแตตนนั้น แสดงใหเราไดเห็นความจริงขอหนึ่งที่ชัดเจนวา อัลกุรอานนั้นเปนคัมภีร เพียงเลมเดียวที่ ขอมูลความรูทั้งหมด สามารถพิสูจนไดวาเปนความจริง ไมวาจะเปนขอเท็จจริงทางวิทยาศาสตร หรื อเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ อนาคตที่ไมมี ผูใดรู ได เลยในขณะนั้น กลับ ปรากฏอยูใ นอั ลกุ ร อาน จากระดั บ ความรูแ ละ เทคโนโลยีในสมัยนั้น เปนไปไมไดเลย ที่ความรู เรื่องราวตางๆเหลานี้ จะมีใครรับรูได นี่ก็เปนหลักฐานชัดเจนวา อัลกุ รอานนั้นมิใชคําพูดของมนุษย แตอัลกุรอานนั้นเปนคําพูดของพระผูเปนเจา ผูทรงอํานาจ ผูทรงสรางทุกสรรพสิ่ง และ เปนผูเดียวที่กําหนดทุกสิ่งดวยความรูของพระองค ในอายะฮอัลกุรอาน พระผูเปนเจาตรัสไวใน ซูเราะฮอันนิซะอ ความวา “ไมเปนอันสมควรเลยที่พวกเหลานัน้ ไมพินิจพิเคราะหอัลกุรอาน ถาอัลกุรอานมิไดมาจากอัลลอฮแลว พวกนั้นยอมจะพบวาในนัน้ มีสวนขัดแยงกัน“ (อัลกุรอาน 4:82) ไมเพียงแต ไมมีความขัดแยงในอัลกุรอาน แตทุกๆเรื่องในกรุอานนั้นเต็มไปดวยสิ่งมหัศจรรยมากมายที่ถูก นํามาเปดเผย และจะถูกเปดเผยเพิ่มมากขึ้นทุกวันนี้ เปนหนาที่ของมนุษยที่จะตองยึดมั่นตอคัมภีรเลมนี้ที่มาจากพระผูเปนเจา และยอมรับคัมภีรเลมนี้ ในฐานะ ทางนําหนึ่งเดียวของชีวิตเทานั้น ดังเชนในอัลกรุอาน ซูเราะฮอัลอันอาม ที่พระผูเปนเจาไดกลาวา “และนี่แหละคัมภีรที่มีความจําเริญ ซึ่งเราไดใหคัมภีรลงมายังเจาจงปฏิบัตติ ามคัมภีรนนั้ เถิด และจงยําเกรง เพื่อวาพวกเจาเพื่อวาพวกเจาจะไดรบั ความเมตตากรุณา” (อัลกุรอาน 6:155) พระผูเปนจาไดกลาวไวใน ซูเราะฮอัลกะฮฟ อีกวา “และจงกลาวเถิด มูฮัมหมัด สัจธรรมนัน้ มาจากพระผูเปนเจาของพวกเจา ดังนั้นผูใดปราสงคกจ็ งศรัทธา และผูใดประสงค ก็จงปฏิเสธ.... “ (อัลกุรอาน 18:29) ซูเราะฮอัลอะบะซะ “มิใชเชนนั้น แทจริง(อัลกุรอาน)นั้นเปนขอเตือนใจ ดังนั้นผูใดประสงคก็ใหราํ ลึกถึงขอเตือนใจนั้น” (อัลกุรอาน 80:11-12)

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 79

ความเขาใจผิดเรื่องวิวัฒนาการ

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 80

ความนํา เราไดพิจารณาความมหัศจรรยบางประการแหงคัมภีรทอี่ ัลลอฮ (ซ.บ.) ไดประทานสูมวลมนุษยชาติ ดวยพระ เจาไดประทานสัญญาณตางๆวา อัลกุรอาน คือเปนคัมภีรแหงความจริงแท และไดเชิญชวนใหมวลมนุษย ใครครวญ ถึงความจริงแทนนั้ . ประการสําคัญยิ่งทีพ่ ระองคทรงเนนไวในอัลกุรอาน คือความเขาใจของมนุษยเรื่องการสรางสรรค มวลสรรพสิ่งในโลก และการที่มนุษยระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองคในเรื่องนี้ อยางไรก็ตาม ทุกวันนี้มี แนวความคิดตางๆทีท่ ําใหผคู นไมรูความจริงเรื่องการสรางสรรคและพยายามที่จะเบีย่ งเบนพวกเขาจากศาสนาดวย วิธีคิดที่ไรเหตุผล แนวความคิดดังกลาวที่สาํ คัญคือ แนวความคิดวัตถุนิยม ทฤษฎีดารวนิ หรือทฤษฎีวิวฒ ั นาการ เปนแนวความคิดสําคัญที่คติวัตถุนิยมยึดถือเปนพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตร ในการอธิบายหลักการของตน ทฤษฎีนี้อางวาสิ่งมีชวี ิตถือกําเนิดจากสิง่ ที่ไมมีชวี ิตอยางบังเอิญ แตขออางนัน้ ก็ตกไป อยางสิน้ เชิงโดยขอเท็จจริงที่หนักแนนวาจักรวาลสรางสรรคโดยพระเจา พระเจาทรงสรางสรรคจักรวาล และทรงออกแบบแมรายละเอียดที่เล็กที่สุด ดังนัน้ จึงเปนไปไมไดเลยที่ทฤษฎี วิวัฒนาการจะอธิบายวา กําเนิดของสิง่ มีชีวิตไมไดมาจากการสรางสรรคของพระผูเปนเจา แตเกิดขึ้นจากเหตุบงั เอิญ ไมนาแปลกใจเลยเมื่อเราพิจารณาทฤษฎีววิ ัฒนาการ เราจะพบวาทฤษฎีนี้ตกไปเพราะการคนพบทาง วิทยาศาสตร การออกแบบชีวิตมีความสลับซับซอนและนาสนใจยิง่ ยกตัวอยางเชนในโลกของสิ่งที่ไมมีชวี ิต เราจะ สังเกตเห็นวาความสมดุลของอะตอมนัน้ เปนเรื่องละเอียดมาก ยิง่ กวานั้นในโลกของสิ่งมีชวี ิตเราจะสังเกตเห็นการ ออกแบบที่ซับซอนใหอะตอมมาอยูรวมกัน และความพิเศษของ กลไกและโครงสรางของสิ่งตางๆ เชน โปรตีน เอนไซม และเซลล นัน้ ราวกับผลิตออกมาจากโรงงาน ความพิเศษในการออกแบบชีวิต ทําใหทฤษฎีดารวินตกไปอยางสิน้ เชิงในปลายศตวรรษที่ 20 ไดมีการพิจารณาเรื่องนี้อยางละเอียดมามากแลวในการศึกษาของพวกเราและคงดําเนินตอไป แตอยางไรก็ ตามเราคิดวาการพิจารณาความสําคัญของเรื่องนี้ ถาจะสรุปสั้นๆไวตรงนี้กอนก็จะเปนประโยชนยงิ่

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 81

ความลมเหลวทางวิชาการของดารวิน ความเชื่อตามทฤษฎีววิ ัฒนาการมีมานานยอนไปถึงสมัยกรีก แตไดกาวหนาอยางยิ่งในศตวรรษที่ 19 นี้ สิง่ สําคัญที่ทาํ ใหทฤษฎีนี้กลายเปนประเด็นหลักในโลกวิทยาศาสตรก็คือตําราของ ชารลส ดารวิน ที่เขียนถึงเรือ่ ง จุด กําเนิดของสิ่งมีชีวิต (The Original of Species) ที่ตีพมิ พ ในป ค.ศ 1859 ในหนังสือนี้ ชารลส ดารวิน ไดปฏิเสธวา สิ่งมีชีวิตตางๆในโลกมิไดเกิดจากการสรางสรรคโดยเอกเทศของพระเจา เขาเชื่อวาสิ่งมีชีวิตทั้งหลายมีกาํ เนิดมาจาก บรรพบุรุษเดียวกัน แตวิวฒ ั นาการไปตามกาลเวลาจนมีลักษณะที่ตา งกัน ทฤษฎีของชารลส ดารวิน ไมไดมีพื้นฐานที่เปนรูปธรรมทางวิทยาศาสตร และเขาก็ยอมรับวายังเปนแคเพียง “สมมติฐาน” ยิ่งไปกวานั้น ตัวดารวินเอง ไดสารภาพไวในตําราของเขาในบทที่ชื่อ “ความยากลําบากแหงทฤษฎี” วา ทฤษฎีของเขาไมสามารถตอบคําถามสําคัญๆได ดารวิน ฝากความหวังของเขาทั้งหมดไวกบั การคนพบของวิทยาศาสตรสมัยใหม ซึง่ เขาคาดวาจะเปนผูเฉลย ” ความยากลําบากแหงทฤษฎี” แตทวาการคนพบทางวิทยาศาสตรที่ไดขยายมิติตางๆก็กลับกลายเปนขอโตแยง สําหรับดารวนิ ไป ภาพหนา 82 Charles Darwin ขอบกพรองของดารวนิ ในทางวิทยาศาสตร อาจจําแนกไดเปน 3 ประเด็นดังนี้ 1. ทฤษฎีนี้ไมสามารถอธิบายไดวา ชีวิตเกิดขึน้ ไดอยางไร 2. ไมมีการคนพบทางวิทยาศาสตรที่สามารถแสดงใหเห็นวา “กลไกแหงการวิวัฒนาการ“ ที่เสนอโดยทฤษฎีนี้ จะเปนไปได 3. การพิสูจนซากฟอสซิลพบขอเท็จจริงที่แยงกับทฤษฎีววิ ฒ ั นาการ ในตอนนีเ้ ราจะพิจารณาทัง้ สามประเด็นหลักไปตามหัวขอตอไปนี้

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 82

ปฐมเหตุแหงชีวิต ขัน้ ตอนแรกเริ่มที่มปี ญ  หา ทฤษฎีววิ ัฒนาการ เชื่อวาสิง่ มีชีวิตทั้งหลายวิวฒ ั นาการมาจากเซลลเดี่ยว ซึง่ ปรากฏในระยะแรกเริ่มของโลก เมื่อสามพันแปดรอยลานปที่ผานมา แตการทีเ่ ซลลเดี่ยวใหกําเนิดสิ่งมีชวี ติ ที่ซับซอนนับลาน ในกรณีที่มีการ วิวัฒนาการจริง เหตุใดจึงไมปรากฏรองรอยในซากฟอสซิล นี่คือคําถามทีท่ ฤษฎีน้ไี มสามารถใหคาํ ตอบได อยางไรก็ ตาม สิง่ ที่สําคัญสุด ในกระบวนการวิวัฒนาการขั้นตอนแรกนัน้ จะตองตอบคําถามใหได วา อะไรคือปฐมเหตุแหงการ เกิดของเซลลเดี่ยวนี้ ทฤษฎีววิ ัฒนาการปฏิเสธการสรางสรรค และไมยอมรับวาทุกสิง่ ทุกอยางเกิดขึ้นจากความเหนือธรรมชาติ แตที่ เชื่อวาเซลลแรกเริ่มเกิดขึ้นโดยบังเอิญตามกฎแหงธรรมชาติ โดยปราศจากการออกแบบ แบบแผนและการจัด ระเบียบใดๆ. ทฤษฎีนี้อา งวาดวยวิธกี ารดังกลาวสิ่งไมมีชีวิตทําใหเกิดเซลลสิ่งมีชีวติ ขึ้นมาโดยบังเอิญ อยางไรก็ตาม คํากลาวอางนี้ ขัดกับกฎทางชีววิทยาทีย่ ังไมมีใครลบลางไดเลย

ชีวิตมาจากชีวิต ดารวินไมเคยอางอิงถึงการกําเนิดของชีวติ ไวในตําราของเขาเลย ความเขาใจพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตรในสมัย ของเขาตั้งอยูบ น สมมุติฐานทีว่ าสิง่ มีชวี ติ มีโครงสรางที่แสนจะเรียบงาย ในยุคกลาง ซึ่งเปนสมัยของความเชื่อเรื่อง การกําเนิดขึ้นเอง แนวคิดวาสิ่งไมมีชวี ิตรวมตัวกันเปนอินทรียท ี่มีชวี ติ เปนทีย่ อมรับกันอยางกวางขวาง ผูคนเชือ่ กันวา แมลงเกิดขึ้นไดจากเศษอาหาร และหนูเกิดขึ้นจากขาวสาลี มีการทดลองเพื่อพิสูจนแนวคิดนี้ โดยเอาขาวสาลีวางบน ผาสกปรก เพราะเชื่อวาหนูจะถือกําเนิดขึน้ มาไดในเวลาตอมา ในทํานองเดียวกัน การทีห่ นอนเกิดจากเนื้อสัตว ก็เปน ขอสนับสนุนความเชื่อเรื่องการกําเนิดขึ้นเอง อยางไรก็ตามในเวลาตอมา จึงเขาใจกันไดวา หนอนไมไดเกิดขึ้นเองบน เนื้อ แมลงวันพามันมาในรูปของตัวออนซึ่งมองดวยตาเปลาไมเห็น แมแตในเวลาที่ดารวนิ ไดเขียนตําราเรื่อง จุดกําเนิดของสิ่งมีชวี ิต (The Origin of Species) ความเชื่อทีว่ า แบคทีเรียเกิดจากสิง่ ไมมีชีวติ ก็ยงั เปนที่ยอมรับอยางกวางขวางในโลกวิทยาศาสตร

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 83

อยางไรก็ตาม 5 ปหลังจากทีห่ นังสือของ ดารวนิ พิมพแพรออกมา ก็มกี ารคนพบของ หลุยส ปาสเตอร ที่ หักลางความเชื่อซึ่งเปนพืน้ ฐานของทฤษฏีวิวัฒนาการ ปาสเตอร สรุปขอคนพบหลังจากการศึกษาและทดลองที่เขา กลาวา “การกลาวอางวาสิ่งไมมีชีวิตสามารถเปนปฐมเหตุของสิ่งมีชวี ิตนัน้ ไดถูกฝงไวในประวัติศาสตรอยางไมมีวัน ฟนคืนชีพไดเลย” 24 แตทวาผูสนับสนุนทฤษฏีวิวฒ ั นาการกลับไมยอมรับขอคนพบของ ปาสเตอร อยูเปนเวลานาน อยางไรก็ตาม การพัฒนาทางวิทยาศาสตร ไดไขปริศนาเรื่องโครงสรางอันสลับซับซอนของเซลลสงิ่ มีชีวิต ทําใหแนวความคิดทีก่ ลาว วาสิง่ มีชีวิตเกิดขึ้นโดยความบังเอิญนัน้ พบทางตันที่ใหญยิ่ง

ความพยายามที่ยังหาขอสรุปไมไดในศตวรรษที่ 20 ในศตวรรษที่ 20 ผูที่เริ่มตนศึกษาเรื่องกําเนิดชีวิตตามทฤษฎีววิ ัฒนาการ คือ อเล็กซานเดอร โอพาริน (Alexander Oparin) นักชีววิทยาผูม ีชื่อเสียงชาวรัสเซีย โดยในชวงทศวรรษ 1930 เขาไดพยายามที่จะพิสูจนวาเซลล ของสิ่งมีชวี ิตเกิดขึ้นเองได แตทวาการศึกษาของเขาก็ดเู หมือนจะลมเหลว โดยที่โอพารินจําตองกลาวสารภาพวา “นา เสียดายที่ตนกําเนิดของเซลลนั้น ดูเหมือนจะยังคงเปนคําถามที่เปนสวนที่มืดมนทีส่ ุดจริงๆในทฤษฎีวิวัฒนาการ 25“ นักวิทยาศาสตรที่ศึกษาดานวิวัฒนาการรุนตอมา ไดพยายามทําการทดลองตางๆ เพื่อตอบปญหาจุดกําเนิด ของชีวิตตอไป การทดลองทีร่ ูจักกันมากทีส่ ุดไดแก การทดลองเมื่อป 1953 ของ สแตนลี่ มิลเลอร นักเคมีชาวอเมริกัน มิลเลอรไดทําการทดลองโดยรวมอากาศธาตุที่เขาอางวามีอยูในบรรยากาศชวงกําเนิดโลก เมื่อเพิ่มพลังงานเขาไปใน สวนผสมนัน้ เขาก็สังเคราะหไดออรแกนิก โมเลกุล กรดอะมิโน ทีพ่ บในโครงสรางของโปรตีน หลังจากนั้นเพียงสามปตอมา ปรากฏวาการทดลองทีน่ ําเสนอวาเปนกาวที่สําคัญของทฤษฎีวิวฒ ั นาการกลับ กลายเปนเรื่องที่เชื่อถือไมได กลาวคือ บรรยากาศที่มิลเลอรใชในการทดลองนั้นมีความแตกตางอยางมากจากสภาพ บรรยากาศจริงๆ ของโลก 26 หลังจากเงียบอยูนานมิลเลอรก็ยอมรับออกมาวา ที่เขาใชในการทดลองนัน้ มิใชบรรยากาศตามสภาพจริง 27 อาจกลาวไดวา นักวิวฒ ั นาการในศตวรรษที่ 20 ทีพ่ ยายามคนหาคําอธิบายถึงกําเนิดของชีวิตนัน้ ทายที่สุดก็ ประสบความลมเหลวอยางสิ้นเชิง ดังที่ เจอรรี่ บาดา นักธรณีเคมีจากสถาบันซานดิเอโก สคริปปส (San Diego Scripps) ไดเขียนบทความลงในนิตยสารเอิรท (Earth Magazine) ป 1998 โดยยอมรับวา “วันนีข้ ณะที่กําลังจะผาน พนศตวรรษที่ 20 ไปเราก็ยงั คงมีปญหาสําคัญที่สุด ที่มดื มนมาตัง้ แตเมื่อเราเริ่มเขาสูศตวรรษนี้วา ชีวิตกําเนิดขึน้ มา บนผืนพิภพนี้ไดอยางไร?”28

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 84

โครงสรางอันซับซอนของชีวิต เหตุผลสําคัญที่ทําใหทฤษฎีวิวัฒนาการตองพบทางตันในการคนหาจุดกําเนิดของสิ่งมีชีวิตก็คือ แมกระทั่ง สิ่งมีชีวิตที่ดูเหมือนวาจะไมมีความซับซอนใด ๆ กลับประกอบดวยโครงสรางอันสลับซับซอนอยางไมนาเชื่อ เราจะเห็น ไดวาเซลลของสิ่งมีชีวิตนั้นมีความซับซอนกวาผลิตภัณฑทางเทคโนโลยีใด ๆ ที่มนุษยเปนผูสรางขึ้น ทุกวันนี้แมกระทั่ง หองทดลองที่มีความทันสมัยมากที่สุดในโลกก็ยังไมสามารถสรางเซลลของสิ่งมีชีวิตจากการประกอบสิ่งไมมีชีวิตเขา ดวยกัน เงื่อนไขจําเปนในการสรางเซลลนั้นมีมากมายเกินกวาที่จะอธิบายดวยการเกิดขึ้นจากความบังเอิญ ความเปนไป ไดที่โปรตีนซึ่งเปนหนวยยอยของเซลล จะถูกสังเคราะหโดยบังเอิญนั้นมีเพียง 1 ใน 10 950 สําหรับโปรตีน 1 หนวยที่ ประกอบขึ้นจาก กรดอะมิโน 500 ตัว หากคิดในเชิงคณิตศาสตรก็จะพบวาความเปนไปไดนั้นจะนอยกวา เศษ 1 สวน 1050 ซึ่งเปนไปไมไดในทางปฏิบัติ โมเลกุลของ DNA ที่บรรจุขอมูลพันธุกรรมซึ่งอยูในนิวเคลียสของเซลลนั้น ก็ถือไดวาเปนแหลงขอมูลที่มีขอมูล มากมายอยางไมนาเชื่อเลยทีเดียว โดยมีการคํานวณกันวาหากนําขอมูลที่มีอยูใน DNA มาเขียน จะไดหองสมุดขนาด ใหญ ที่มีสารานุกรม 900 เลม โดยแตละเลมตองมีความหนาถึง 500 หนา ปญหาที่สําคัญยิ่งก็ปรากฏขึ้น ณ จุดนี้ กลาวคือ ในกระบวนการถอดแบบพันธุกรรมจาก DNA นั้นจะตองใช โปรตีน (เอนไซม) เฉพาะเทานั้น และการสังเคราะหเอนไซม ก็จําเปนจะตองอาศัยรหัสที่ประกอบอยูใน DNA เทานั้น เชนกัน ดวยเหตุที่เอนไซมและ DNA ตางก็ตองพึ่งพาอาศัยกันจึงตองปรากฏขึ้นพรอม ๆ กันในกระบวนการถอดแบบ ขอคนพบนี้ ทําใหสมมุติฐานที่วา สิ่งมีชีวิตกําเนิดขึ้นมาเองนั้น ถึงทางตันและจุดจบ ศาสตราจารย เลสลี่ ออรเกล นักวิวัฒนาการผูมีชื่อเสียงแหงมหาวิทยาลัยซานดิเอโก รัฐแคลิฟอรเนีย ไดยอมรับ ความจริงขอนี้ในนิตยสาร Scientific American ฉบับเดือนกันยายน 1994 โดยกลาววา เปนไปไมไดอยางยิ่งที่โปรตีนและกรดนิวคลิอิก (Nucleic) ซึ่งตางก็มีโครงสรางสลับซับซอน จะเกิดขึ้นเองในเวลา และสถานที่เดียวกัน นอกจากนั้นยังเปนไปไมไดอีกเชนกันที่จะมีสิ่งหนึ่งโดยปราศจากอีกสิ่งหนึ่ง ดังนั้นหาก พิจารณาเพียงผิวเผินก็อาจสรุปไดวาตามความเปนจริง สิ่งมีชีวิตไมสามารถกอกําเนิดโดยกระบวนการทางทาง เคมีไดเลย 29

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 85

คําอธิบายใตภาพ:

น.86

ความจริงประการหนึ่งที่ยืนยันความเปนไปไมไดของทฤษฎีวิวัฒนาการ คือ ความสลับซับซอนของสิ่งมีชีวิต ตัวอยางสําคัญ ประการหนึ่งคือ โมเลกุลของ DNA ที่อยูในนิวเคลียสของเซลลของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย DNA เปนแหลงขอมูล ประกอบดวย โมเลกุลตางกัน 4 ชนิด ที่มีการเรียงลําดับที่แตกตางกัน แหลงขอมูลนี้บรรจุรหัสของลักษณะทางกายภาพของสิ่งมีชีวิตเขาไว และเมื่อถอดรหัสพันธุกรรมออกมา คํานวณวาจะมีความยาวเทากับสารานุกรมประมาณ 900 เลม ดังนั้นจึงไมเปนที่นา สงสัยเลยวาขอมูลที่มีมากมายเพียงนี้จะลบลางแนวคิดเรื่องความบังเอิญได

แน น อนหากเป น ไปไม ไ ด ที่ สิ่ ง มี ชี วิ ต จะเกิ ด ขึ้ น จากธรรมชาติ ต อ งยอมรั บ ว า สิ่ ง มี ชี วิ ต นั้ น เกิ ด ขึ้ น จาก “การ สรางสรรค” ของสิ่งที่อยูเหนือธรรมชาติ ในที่สุดทฤษฎีวิวัฒนาการ ซึ่งมีจุดประสงคหลักที่จะปฏิเสธ “การสรางสรรค” ก็ จะ ถูกลบลางโดยความจริงขอนี้ไดอยางสิ้นเชิง

กลไกอันเพอฝนของทฤษฎีววิ ัฒนาการ ประเด็นสําคัญประเด็นที่สองที่แยงทฤษฎีของดารวินคือ แนวคิดทั้งสองตาม “กลไกของวิวัฒนาการ” นั้น มิไดมี พลังในการเกิดวิวัฒนาการใดๆ ดารวินอิงทฤษฎีวิวัฒนาการของเขาเขากับกลไก “การเลือกสรรของธรรมชาติ” ดังปรากฏเปนชื่อในหนังสือของ เขาวา “จุดกําเนิดของสิ่งมีชีวติ , โดยวิธีการเลือกสรรของธรรมชาติ” ตามแนวคิดเรือ่ งการเลือกสรรของธรรมชาตินั้น สิง่ มีชีวิตที่แข็งแกรงและเหมาะสมตอสภาพธรรมชาติจึงจะ สามารถมีชีวิตอยูรอดไดในภาวะการตอสูแยงชิง ตัวอยางเชน ฝูงกวางที่อาศัยอยูอยางเสี่ยงภัยจากสัตวปา อื่นๆนั้น จะตองสามารถวิ่งไดรวดเร็วจึงจะอยูรอด ดังนัน้ กวางในฝูงแตละตัวจึงมีรางกายแข็งแรงและวิ่งเร็ว แตอยางไรก็ตาม กลไกนี้ก็ไมไดเปนสาเหตุที่ทาํ ใหกวางวิวัฒนาการและกลายไปเปนสัตวชนิดอื่น เชน มา ไดเลย ั นาการได ดารวินเองก็ตระหนัก ดังนัน้ กลไกการเลือกสรรของธรรมชาติ จึงไมมีพลังใดๆทีส่ ามารถทําใหเกิดวิวฒ ถึงขอเท็จจริงนี้เปนอยางดีดังไดกลาวไวในหนังสือ จุดกําเนิดของสิ่งมีชวี ิต ของเขาวา: การเลือกสรรของธรรมชาติจะไมมีผลใดๆ จนกวาลักษณะความผันแปรที่เหมาะสมจะบังเอิญเกิดขึ้น

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 86

ผลกระทบของลามารค “ลักษณะความผันแปรที่เหมาะสม” จะเกิดขึ้นไดอยางไร? ดารวินพยายามอธิบายคําถามนี้จากความเขาใจ ทางวิทยาศาสตรในยุคสมัยของเขา โดยการอางอิงถึงนักชีววิทยาชาวฝรั่งเศส ชื่อ ลา มารค (Lamarck) ซึ่งมีชีวิตอยู ในชวงกอนดารวิน สิ่งมีชีวิตจะสงผานลักษณะเฉพาะทีต่ นเองมีอยูในชวงชีวิตไปยังรุนถัดไป ลักษณะเหลานีจ้ ะสะสม จากรุนหนึ่งไปยังอีกรุน หนึ่ง ทําใหเกิดสายพันธุใหมๆขึ้นมา ตัวอยางทีล่ ามารคกลาวไวคือ ยีราฟมีวิวัฒนาการมาจาก ละมั่ง เมื่อมันตองพยายามดิ้นรนหาใบไมตามตนไมสูงๆกิน คอของมันก็ยืดขยายมากขึ้นจากรุนแลวรุนเลา ดารวินเองก็ไดยกตัวอยางไวในหนังสือของเขาวา หมีบางชนิดหากินในน้าํ ทําใหมันวิวัฒนาการเปนปลาวาฬไป ในที่สุด แตทวากฎการสืบทอดทางพันธุกรรมซึง่ คนพบโดยเมนเดลและไดรับการพิสูจนโดยนักวิทยาศาสตรดาน พันธุกรรมในศตวรรรษที่ 20 ไดลบลางตํานานความเชื่อนี้ไปโดยสิ้นเชิง การเลือกสรรของธรรมชาติจึงไมอาจเปน กระบวนการของทฤษฎีวิวฒ ั นาการได นีโอ ดารวนิ และการกลายพันธุ เพื่อที่จะหาทางออก ผูน ิยมทฤษฎีดารวนิ จึงไดเสนอแนวคิด “ทฤษฎีการสังเคราะหสมัยใหม หรือรูจักกันในชื่อ วา นีโอ ดารวนิ ในชวงปลายทศวรรษ 1930 นีโอ ดารวนิ ไดเสนอทฤษฎีการกลายพันธุ (Mutations) วา พันธุกรรมของ สิ่งมีชีวิตจะเปลี่ยนรูปไปเพราะปจจัยภายนอก เชน กัมมันตรังสี หรือขอผิดพลาดในการถายแบบพันธุกรรมซึ่งอาจทํา ใหเกิดลักษณะที่เหมาะสม นอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงโดยธรรมชาติ ในปจจุบัน นีโอ ดารวิน คือทฤษฎีที่เปนแบบฉบับของแนวคิดเรื่องการวิวัฒนาการ เชื่อวาสิง่ มีชวี ติ มากมายบน โลกนีก้ อรางมาโดยที่อวัยวะที่สลับซับซอนของสิ่งมีชวี ิต เชน หู ตา และอื่นๆ ไดผานกระบวนการกลายพันธุ ซึง่ เปน ขอบกพรองทางพันธุกรรม แตทวาทฤษฎีนี้ไดถูกลบลางอยางสิน้ เชิงโดยขอเท็จจริงทางวิทยาศาสตร:การกลายพันธุ ไมไดกอใหเกิดการพัฒนาของสิ่งมีชวี ิต ในทางตรงกันขาม กลับกอใหเกิดอันตรายตอสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย เหตุผลงายๆก็คือวา DNA มีโครงสรางที่สลับซับซอนและผลกระทบโดยเหตุบงั เอิญนั้นเปนไปได แตจะ กอใหเกิดอันตรายเทานัน้ นักพันธุกรรมศาสตรชาวอเมริกา บี จี รังกะนาธาน (B.G. Ranganathan) ไดอธิบายไว ดังตอไปนี้ การกลายพันธุเกิดขึ้นเพียงเล็กนอย เกิดโดยบังเอิญและมีอันตราย แตก็ยากที่จะเกิด ที่เปนไปไดมากที่สุดคือ ไมมีผลกระทบใดๆ แสดงใหเห็นวาการกลายพันธุไมไดนําไปสูการพัฒนาดานวิวฒ ั นาการใดๆ การกลายพันธุ นั้นถาไมไร ผลก็เปนอันตราย เชน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญในนาฬิกาเรือนหนึ่งไมไดทาํ ใหนาฬิกา เรือนนัน้ ทํางานดีขึ้นเลย มันอาจจะเกิดอันตราย หรือไมก็ไมเกิดผลกระทบใดๆเลย การเกิดแผนดินไหวไมทําให เกิดผลดีตอบานเมือง แตกลับกอใหเกิดความเสียหาย32 The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 87

ไมนาประหลาดใจเลยที่ไมมตี ัวอยางในเรื่องของการกลายพันธุทกี่ อใหเกิดประโยชน ทัง้ ๆทีห่ วังกันวาจะเปน การพัฒนาพันธุกรรม การกลายพันธลว นเปนอันตราย ที่กลาวกันวาเปนกลไกของการวิวัฒนาการนั้น ที่จริงมีผลตอ พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตและอาจทําใหพิการได (ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่รจู ักกันโดยทัว่ ไปของสิ่งมีชวี ิตก็คือ มะเร็งนั่นเอง) วิธกี ารที่กอใหเกิดการสูญเสียไมนาจะเปนวิธีของการวิวัฒนาการไดเลย การเลือกสรรของธรรมชาติก็ ไมสามารถสัมฤทธิผลไดดวยตัวมันเอง ดังที่ ดารวนิ ไดกลาวยอมรับไวแลว ขอเท็จจริงนี้แสดงใหเราเห็นวา ไมมีกลไก ของการวิวัฒนาการอยูจริงในธรรมชาติ ดังนัน้ กระบวนการที่เพอฝนที่เรียกวา การวิวัฒนาการจึงไมสามารถเกิดขึ้นได ดวย

หลักฐานจากซากฟอสซิล ไมมีรองรอยของรูปรางในขั้นตอนการเปลี่ยนแปลง สิ่งทีย่ ืนยันวา ทฤษฎีววิ ัฒนาการไมสามารถเกิดขึ้นได ก็คือ หลักฐานจากซากฟอสซิล ทฤษฎีววิ ัฒนาการเชื่อวา สิง่ มีชีวิตทุกชนิดเกิดมาจากบรรพบุรุษ หรือสิง่ ที่มีอยูกอนหนาซึง่ เมื่อเวลาผานไปก็จะ กลายไปเปนสิง่ อื่น สิ่งมีชวี ิตทั้งหลายตางก็เกิดในลักษณะนี้ โดยกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ ดังกลาวตองใช เวลานับลานๆป ถาเปนจริงตามนั้นสิง่ มีชวี ิตที่อยูในขัน้ ตอนการเปลีย่ นแปลงจํานวนมากนาจะยังคงมีใหเห็นอยู ตัวอยางเชน นาจะมีสัตวครึง่ ปลาครึ่งสัตวเลื้อยคลานที่ไดลักษณะของสัตวเลื้อยคลานเพิม่ ขึ้นจากลักษณะของ ปลาที่มนั มีอยูเ ดิม หรือนาจะมีสัตวครึ่งนกครึ่งสัตวเลื้อยคลานที่ไดลักษณะของนกเพิ่มขึ้นจากลักษณะของ สัตวเลื้อยคลานที่มนั มีอยูเดิม ดวยเหตุที่สตั วเหลานี้อยูในระยะของการเปลี่ยนแปลงตามลําดับขั้น มันก็นาจะมี ลักษณะของความบกพรอง, ไมสมบูรณ หรือพิการอยู นักวิวัฒนาการพวกนี้ไดอางถึงสัตวในจินตนาการซึง่ เชื่อวาเคย มีในอดีตวาเปน “รูปแบบของการเปลีย่ นแปลง” ถาสัตวตางๆเหลานี้มีอยูจริง มันก็ควรจะมีอยูนับลานๆและหลากชนิด ที่สําคัญสุดก็คือ ควรจะมีซากฟอสซิ ลของสัตวประหลาดเหลานีป้ รากฎใหเห็นบาง ในหนังสือ จุดกําเนิดของสิ่งมีชวี ิต ดารวินไดอธิบายไววา หากทฤษฎีของขาพเจาเปนจริง สิง่ ทีอ่ ยูระหวางการเปลี่ยนแปลงจะมีจํานวนมากมายหลากหลายจนนับไม ถวน ทัง้ หมดนี้ยงั สามารถเชื่อมโยงกับกลุม ที่มีความเหมือนกันได ซึง่ หลักฐานตางๆของสิ่งที่มมี ากอนหนาจะ สามารถคนพบไดจากซากฟอสซิลเทานัน้ 33

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 88

ความหวังของดารวินดับวูบ แมวานักวิวัฒนาการพยายามคนหาซากฟอสซิลทั่วโลกตัง้ แตชวงกลางศตวรรษที่ 19 แตก็ยังคงไมพบซากที่อยู ในขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงเลย ซากฟอสซิลทั้งหมดที่ขุดคนพบแสดงใหเห็นวา สิ่งมีชีวิตบนโลกมีความสมบูรณแบบ ในตัวมันเองแลว ซึง่ ตรงขามกับความคาดหวังของนักวิวฒ ั นาการ นักชีววิทยาชาวอังกฤษ ดีเรค วี เอเกอร ยอมรับขอเท็จจริงนี้ ทั้งๆที่เขาก็เปนนักวิวัฒนาการคนหนึง่ เขากลาววา สิ่งที่ประจักษก็คือ เมื่อเราตรวจสอบซากฟอสซิลโดยละเอียดไมวาจะในระดับชั้นหรือชนิด เราจะพบซ้าํ แลวซ้าํ เลาวา ไมไดมีวิวัฒนาการอยางคอยเปนคอยไป แตเปนการกําเนิดของสิ่งมีชวี ิตกลุมหนึง่ พรอมกับการสิน้ สุด ของสิ่งมีชวี ิตอีกกลุมหนึง่ 34 นั่นก็คือ ซากฟอสซิลของสิง่ มีชีวิตทุกชนิดอุบัติขึ้นมาอยางสมบูรณ ไมไดเกิดการกลายรูปแตอยางใด ซึ่งตรงกัน ขามกับขอสันนิษฐานของดารวิน ซึง่ นับวาเปนหลักฐานสําคัญวา สิง่ มีชีวิตทัง้ หลายไดถูกกําเนิดขึ้นมา การที่สงิ่ มีชีวิต ทุกชนิดกําเนิดขึ้นมาอยางสมบูรณแบบโดยไมไดวิวัฒนาการมาจากอดีตยอมอธิบายไดวา สิ่งเหลานั้นถูกสรางขึ้นมา ดักลาส ฟูตูยามา นักชีววิทยาดานการวิวฒ ั นาการ ยอมรับความจริงขอนี้วา ขอโตแยงระหวางการกําเนิดกับการวิวัฒนาการนัน้ พูดกันมามากแลวในการอธิบายการกําเนิดสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตที่อุบตั ิขึ้นในโลกมีพัฒนาการที่สมบูรณแบบหรือยังบกพรองอยู หากยังบกพรองอยู ก็จะตองมี กระบวนการพัฒนาจากรุน กอนโดยกระบวนการเปลีย่ นแปลงบางอยาง แตหากสมบูรณแบบแลวก็แสดงถึงวา การกําเนิดดังกลาวตองมีผสู รางทีท่ รงอํานาจอยางแนนอน35 ซากฟอสซิลแสดงวา สิ่งมีชวี ิตถูกกําเนิดมาอยางสมบูรณแบบในโลกนี้ นั่นยอมแสดงวา “กําเนิดสิ่งมีชีวิต มี ที่มาจากการสรางสรรค มิใชจากวิวัฒนาการตามสมมติฐานของดารวนิ ”

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 89

เรื่องราวการวิวัฒนาการของมนุษย ประเด็นทีห่ ยิบยกมากลาวอางกันมากทีส่ ุดตามทฤษฎีวิวัฒนาการคือ เรื่องการกําเนิดมนุษย นักทฤษฎีดารวนิ อางวา มนุษยในปจจุบันนี้มกี ําเนิดมาจากสัตวคลายลิงตามกระบวนการวิวัฒนาการที่เกิดขึน้ เมือ่ 4-5 ลานปมาแลว กระบวนการตาม และจากบรรพบุรุษของมนุษยมาถึงมนุษยปจจุบันนี้มีการเปลี่ยนแปลงรูปลักษณะบางอยาง ความคิดดังกลาว แบงได 4 ขั้นดังนี้ 1. ออสเตรโลพิเทคัส ( Australopithecus ) 2. โฮโม ฮาบิลิส ( Homo habilis ) 3. โฮโม อีเรคตัส ( Homo erectus ) 4. โฮโม เซเปยน ( Homo sapiens ) นักวิวัฒนาการเรียก บรรพบุรุษลิงในยุคแรกวา “ออสเตรโลพิเทคัส” ซึ่งหมายถึง “ลิงแอฟริกาใต” ซึ่งก็คือ ลิง พันธุดงั้ เดิมที่ไดสูญพันธุไปหมดแลว มีการวิจยั อยางละเอียดเกี่ยวกับสายพันธุตา งๆของออสเตรโลพิเทคัสโดยนัก กายวิภาคศาสตรชาวอังกฤษและสหรัฐอเมริกาคือ ลอรด ซอลลี่ ซัคเคอรแมน (Lord Solly Suckerman) และ ศาสตราจารย ชารลส อ็อกซนารด (Prof. Charles Oxnard) ไดพบวา สายพันธุน ี้เปนลิงในยุคแรก ซึ่งปจจุบันไดสูญ พันธุไปหมดแลว และไมมีสว นใดทีม่ ีความคลายคลึงกับมนุษยเลย 36 การวิวัฒนาการของมนุษยในขั้นถัดมาคือ “โฮโม” ซึ่งหมายถึง มนุษย นักวิวัฒนาการที่เชื่อวา สิง่ มีชีวิตในกลุม โฮโมมีการพัฒนามากกวาออสเตรโลพิเทคัส นักวิวฒ ั นาการไดอุปโลกนแนวคิดวิวัฒนาการขึ้นมาอยางแยบยล โดย จัดวางซากฟอสซิลของสิ่งมีชวี ิตตางๆเหลานี้ตามลําดับชัน้ แตกย็ งั เปนเรื่องเพอฝนเนื่องจากวามันไมสามารถจะ ั นาการคนสําคัญใน พิสจู นไดวา มีการวิวัฒนาการที่สัมพันธกันกับลําดับชัน้ ตางๆ เอิรน ส เมเออร นักทฤษฎีววิ ฒ ศตวรรษที่ 20 กลาวยอมรับขอเท็จจริงนี้วา “สายโซที่โยงถึงโฮโมเซเปยนไดสูญสิ้นไปแลว” จากการโยงสายโซในลักษณะดังนี้ “ออสเตรโลพิเทคัส > โฮโมฮาบิลิส > โฮโมอีเรคตัส > โฮโมเซเปยน” นัก วิวัฒนาการหมายความวา แตละกลุมพันธุตางก็เปนบรรพบุรุษของอีกกลุมหนึง่ ตางๆกันมา แตจากการคนพบลาสุด ของนักชีววิทยาเปดเผยออกมาวา ออสเตรโลพิเทคัส , โฮโมฮาบิลิส และโฮมโมอิเรคตัส อยูตางถิน่ กันในชวงเวลา เดียวกัน นอกจากนัน้ ยังปรากฏวามนุษยจากพวกโฮโมอิเรคตัสมีชีวิตตอเนื่องมาจนยุคปจจุบนั สวนโฮโมเซเปยนนีอนั ดารธาเลนซิส และโฮโมเซเปยนเซเปยน (มนุษยยุคใหม) นั้น ก็อยูรว มกันในถิน่ เดียวกัน39

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 90

ประเด็นนี้ชี้ใหเห็นชัดเจนวาคํากลาวอางทีว่ า มนุษยกลุมหนึ่งเปนบรรพบุรุษของอีกกลุมหนึง่ นัน้ เปนไปไมได นักฟอสซิลวิทยาจากมหาวิทยาลัยฮารวารดชื่อ สตีเฟน เจย กลาวด (Stephen Jay Gloud) อธิบายการหยุดชะงัก ของทฤษฎีวิวฒ ั นาการเอาไว แมวา ตัวเขาเองจะเปนนักวิวัฒนาการก็ตาม ขั้นตอนของเราจะเปนอยางไร ถาหากมีการสืบสายตรงของโฮโมนิคทัง้ 3 ที่อยูในสมัยเดียวกัน ไดแก เอ แอฟ ริกานุส โรบุสออสเตรโลปเทซีนส และเอช ฮาบิลิส ซึ่งไมมีทางที่กลุมหนึง่ จะมาจากอีกกลุม หนึง่ ไดอยาง แนนอน นอกจากนั้นทั้ง 3 กลุมนีย้ ังไมแสดงลักษณะแนวโนมการวิวฒ ั นาการใดๆอีกดวย 40 กลาวโดยสรุปไดวา เรื่องของการวิวัฒนาการของมนุษย ซึง่ ปรากฏเปนภาพ “ครึ่งคนครึ่งลิง” ตามสื่อและตํารา เรียนนัน้ ที่จริงก็คือเรื่องราวโฆษณาชวนเชือ่ โดยไรพื้นฐานทางวิทยาศาสตรนั่นเอง ลอรด ซอลลี่ ซักเคอรแมน หนึง่ ในนักวิทยาศาสตรทมี่ ชี ื่อเสียงชาวอังกฤษ ไดทําการวิจัยเรื่องนี้เปนเวลาหลายป โดยเฉพาะไดศึกษาซากฟอสซิลออสเตรโลพิเทคัสเปนเวลาถึง 15 ป ขอสรุปของเขาซึ่งเปนนักวิวฒ ั นาการเองก็คือ ไม มีสาขาของการวิวัฒนาการของมนุษยมาจากลิงแตอยางใด ซักเคอรแมนยังไดเสนอแนวคิดเรื่อง “ขอบเขตของวิทยาศาสตร (Spectrum of Sience)” ที่นา สนใจอีกดวย ขอบเขตของเขา เริ่มตั้งแตสิ่งที่เปนวิทยาศาสตรไปจนถึงสิ่งที่ไมเปนวิทยาศาสตร ตามแนวคิดของซักเคอรแมน “วิทยาศาสตร” อาศัยขอมูลสําคัญที่สุดคือ ขอมูลที่เปนรูปธรรมทางดานเคมี และฟสิกส ถัดมาก็เปนขอมูลทาง ชีววิทยาและสังคมศาสตรตามลําดับ ตรงชายขอบของวิทยาศาสตรคือ สวนที่ไมใชวิทยาศาสตร ไดแก “ญาณรับรู พิเศษ” ดังเชน โทรจิต สัมผัสที่ 6 และสุดทายคือ วิวัฒนาการของมนุษย ซักเคอรแมนอธิบายเหตุผลของเขาดังนี้ แลวเราก็ออกจากความจริงที่เปนรูปธรรมไปสูวิธีการสันนิษฐานทางชีววิทยา เชน การใชสัมผัสที่ 6 และการ ตีความซากฟอสซิล มนุษยซึ่งสําหรับนักวิทยาศาสตรที่จริงใจแลวอะไรก็เปนไปได สวนผูท มี่ ีความเชื่อชนิดฝง หัวในเรื่องวิวฒ ั นาการนั้นบางทีกพ็ รอมจะเชื่อเรื่องตางๆที่ขัดแยงกันเองอยางยิง่ 41

ภาพ หนา 92 ไมมีหลักฐานฟอสซิลชิ้นใดๆที่จะสามารถสนับสนุนเรื่องการวิวัฒนาการของมนุษยได ในทางตรงกันขาม ซากฟอสซิล กลับแสดงใหเห็นวา ระหวางลิงกับมนุษยมีสิ่งขวางกั้นที่ไมสามารถฝาขามถึงกัน ทั้งๆที่เผชิญกับความจริงเชนนี้นัก วิวัฒนาการก็ยังปกใจเชื่อตามภาพวาดและรูปจําลองที่ปรากฏ พวกเขาสงเดชทําหนากากครอบลงบนซากฟอสซิลแลว สรางภาพจินตนาการใหเปนใบหนาครึ่งคนครึ่งลิงออกมา

เรื่องราวการวิวัฒนาการของมนุษยนั้น ทายที่สุดก็ไมมีอะไรนอกจากการตีความดวยอคติจากหลักฐานซาก ฟอสซิลที่คน พบโดยคนบางกลุมทีย่ ึดติดกับทฤษฎีของตนอยางเหนียวแนน

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 91

เทคโนโลยีของตาและหู ประเด็นสําคัญที่ทฤษฎีวิวฒ ั นาการยังไมสามารถอธิบายได คือ “คุณสมบัติอันล้ําเลิศของประสาทสัมผัสแหง การมองเห็นและการไดยิน“ กอนที่จะพิจารณาเรื่องดวงตา เราลองมาตอบคําถามสั้นๆ ที่วา “เรามองเห็นไดอยางไร” เสียกอน รังสีของ แสงจากวัตถุตกกระทบบนจอตา (Retina) และสงผานในรูปของสัญญาณไฟฟาไปสูจุดเล็กๆ บริเวณดานหลังของ สมองที่เรียกวา ศูนยควบคุมการมองเห็น (Center of Vision) ซึ่งจะเปลี่ยนสัญญาณไฟฟาใหเปนรูปภาพ โดยผาน ขั้นตอนตางๆตามลําดับ จากหลักการดังกลาว ทําใหเราสามารถพิจารณาการทํางานของกระบวนการมองเห็นได ดังนี้ สมองเปนวัตถุทึบแสงที่อยูภายในทีท่ ี่มืดสนิทซึง่ แสงไมสามารถเล็ดลอดเขาไปถึงได บริเวณที่เรียกวาศูนย ควบคุมการมองเห็นนีจ้ ึงเปนพืน้ ทีท่ ี่อาจมืดมิดที่สุดแหงหนึง่ แตเราสามารถมองเห็นโลกอันสวางสดใสใบนี้ไดจาก ความมืดนี้เอง ภาพทีม่ นุษยมองเห็นนั้นมีความคมชัดมากเสียจนแมแตความกาวหนาจากวิทยาการในศตวรรษที่ 20 ยังไม อาจสรางขึน้ มาทัดเทียมได ตัวอยางเชน เมื่อมองดูหนังสือที่เรากําลังอานในมือ แลวเงยหนาพิจารณาไปรอบๆตัวจะ พบวาไมมีภาพอื่นใดที่ชัดเจนเทากับภาพหนังสือในมือที่เห็นอยู แมแตจอโทรทัศนทที่ ันสมัยที่สุดของบริษัทที่มี ชื่อเสียงที่สุดในโลก ก็ยงั ไมอาจสรางภาพสีสามมิตทิ ี่คมชัดเชนนี้ได เปนเวลากวาศตวรรษที่บรรดาวิศวกรตาง พยายามที่จะเลียนแบบคุณสมบัติเชนนี้ มีการสรางโรงงานหลายแหงบนเนื้อที่กวางใหญไพศาล รวมทัง้ มีงานวิจยั อีก หลายชิ้นที่ผลิตขึ้นเพื่อวัตถุประสงคดังกลาว เมื่อมองดูภาพจากจอโทรทัศนเปรียบเทียบกับหนังสือในมือ เราจะเห็น ความแตกตางอยางชัดเจนในเรื่องความคมชัดของภาพ นอกจากนี้ ในขณะที่จอโทรทัศนแสดงภาพสองมิติ เรา สามารถมองเห็นภาพสามมิติที่มีความลึกไดดวยสองตาเรานี่เอง

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 92

เปนเวลาหลายปมาแลวที่บรรดาวิศวกรไดพยายามคิดประดิษฐโทรทัศนแบบสามมิติที่มีคุณสมบัติในการ แสดงภาพไดดีเทากับดวงตา แมวาจะมีการสรางโทรทัศนแบบสามมิติได แตผูชมก็ตองใชแวนในการชม ภาพใน จอโทรทัศนเหลานี้จงึ เปนเพียงภาพสามมิติที่หลอกตาเราดวยวิธีการทีท่ ําใหภาพดานหลังมัวในขณะที่ภาพดานหนาดู คมชัดเหมือนจอกระดาษ ดวยเหตุผลดังกลาว โทรทัศนสามมิติ จึงไมอาจใหภาพทีค่ มชัดเทากับดวงตา เนื่องจากทั้ง กลองถายรูปและโทรทัศนนนั้ ขาดคุณสมบัติที่ดีในการแสดงภาพดังที่ดวงตามี นักทฤษฎีววิ ฒ ั นาการอางวากลไกของการเกิดภาพที่ชดั เจนนัน้ เกิดขึน้ โดยบังเอิญ ถาทฤษฎีดังกลาวเปนจริง แลว ภาพในโทรทัศนในหองนอนก็เกิดขึ้นจากความบังเอิญเชนกัน อะตอมทั้งหมดบังเอิญมารวมตัวกันเขาเปน อุปกรณไฟฟาที่ผลิตภาพขึน้ มา อะตอมเหลานีท้ ําสิง่ ทีม่ นุษยสว นใหญยังไมอาจทําไดกระนั้นหรือ เราจะคิดอยางไร กับแนวคิดดังกลาว หากวาอุปกรณผลิตภาพที่ไมซับซอนเทาลูกตานัน้ ไมไดเกิดขึ้นโดยบังเอิญแลว ดวงตาและภาพที่มองเห็นก็ ไมอาจเกิดขึ้นไดโดยความบังเอิญเชนกัน สําหรับการไดยินก็เชนเดียวกัน เกิดจากหูชนั้ นอกที่รบั เสียงที่ไดยิน แลว สงไปยังหูชนั้ กลางซึง่ จะเพิ่มแรงสั่นสะเทือนของเสียงแลวสงไปยังหูชนั้ ในและแปรเปนสัญญาณไฟฟาสงไปยังศูนย ควบคุมการไดยินในสมอง เชนเดียวกับระบบการมองเห็น ปรากฎการณที่เกิดขึ้นกับระบบการมองเห็นนัน้ เหมือนกับการไดยินในลักษณะทีว่ า สมองไมอาจสัมผัสทัง้ เสียงและแสงประเภทใดๆได ภายในสมองยังคงเงียบสนิทแมวาจะมีเสียงดังอึกทึกเกิดขึ้นภายนอก อยางไรก็ตาม สมองคือสวนที่รับรูเสียงไดชัดเจนที่สุด เราสามารถไดยินเสียงดนตรีบรรเลง เสียงประสานของวงมโหรี และเสียง อึกทึกในที่ชมุ ชนได ซึ่งถาหากลองใชเครื่องมือที่แมนยําวัดระดับเสียงดังภายในสมองในชวงเวลาใดก็ตาม จะพบ เพียงความเงียบสนิทเทานัน้

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 93

เชนเดียวกับการผลิตภาพทีเ่ ลียนแบบการเกิดภาพในดวงตา หลายทศวรรษมาแลวที่มนุษยพยายามสราง และลอกเลียนเสียงใหมีคุณสมบัติเชนเดียวกับตนเสียงเดิม ทําใหเกิดการผลิตเครื่องบันทึกเสียง ระบบไฮ-ไฟ และ ระบบความไวเสียง อยางไรก็ดี วิทยาการที่กา วหนาและความพยายามของบรรดาวิศวกรและผูเชี่ยวชาญก็ไมอาจ ผลิตเสียงทีม่ ีความคมชัดไดเทากับเสียงที่รบั รูดวยโสตประสาทไดเลย ถาพิจารณาการบันทึกเสียงดวยระบบไฮ-ไฟซึ่ง ถือวาเปนอุปกรณชั้นเยี่ยมทีผ่ ลิตโดยบริษัทที่มชี ื่อเสียงในวงการเพลงเสียงบางเสียงก็ยังสูญหายไปจากกระบวนการ บันทึกเสียง หรือแมกระทัง่ เมื่อเปดเครื่องเสียงระบบไฮ-ไฟ เรามักจะไดยินเสียงซากอนที่เสียงเพลงจะเริ่มขึ้นเสมอ อยางไรก็ดี เสียงที่รับรูโดยโสตประสาทของมนุษยนั้นเปนเสียงที่ชัดเจนและแจมชัดมาก ปราศจากเสียงซา หรือ เสียง จากการสรางบรรยากาศเชนระบบไฮ-ไฟ แตจะรับรูเสียงไดชัดเจนอยางที่เปนอยูจ ริง ซึง่ เปนลักษณะเฉพาะที่มีมา ตั้งแตเริ่มสรางมนุษย จะเห็นไดวา ไมมีเครื่องมือชนิดใดซึ่งมนุษยสรางขึน้ จะมีความละเอียดออนและมีคุณภาพดีในการรับรูทาง ประสาทสัมผัสไดดีเทากับหูและตาอีกแลว อยางไรก็ตาม ในเรื่องของการมองเห็นและการไดยินนี้ มีรายละเอียดทีล่ ึกซึ้งอีกมากมายที่ยงั ซอนเรนอยู

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 94

ใครคือผูสรางประสาทสัมผัสในการมองเห็นและไดยินในสมอง อะไรที่ทําใหเรามองเห็นโลกที่สวยงาม ไดยินเสียงประสานที่ไพเราะของนกและไดกลิ่นหอมของดอกกุหลาบ สิ่งเราที่ตา หู และจมูกของเราไดรับและสงไปสูสมอง คือ การกระตุนประสาทดวยกระบวนการทางเคมีไฟฟา ในตํารา วิชาการสาขาตางๆไดแก ชีววิทยา ฟสกิ ส และชีวเคมีนั้น มีขอมูลเกี่ยวกับการเกิดภาพในสมองเปนจํานวนมาก อยางไรก็ตาม ยังไมมีผูใดเคยพบขอมูลทีส่ ําคัญที่สุดทีว่ า การกระตุนดวยกระบวนการทางเคมีไฟฟานัน้ ใครเปนผู แปรเปนรูป รส เสียง และ สัมผัส ถากลาววาจิตสํานึกในสมองรับรูสิ่งตางๆ เหลานี้โดยไมตองอาศัย ตา หู และจมูกแลว ก็จะเกิดคําถาม ตามมาอีกวาใครเปนผูสรางจิตสํานึก ซึ่งแนนอนวา เสนประสาท ชัน้ ไขมัน และเซลลประสาทที่ประกอบกันขึ้นเปน สมองนัน้ ไมอาจทําใหเกิดจิตสํานึกเหลานีไ้ ด แมแตนักวัตถุนิยมและนักนิยมทฤษฎีดารวินทีม่ ีความเชื่อวาทุกสิง่ ประกอบขึ้นจากสสารนั้นก็ยังไมอาจหาคําตอบมาอธิบายได เพราะจิตสํานึกคือจิตวิญญาณซึ่งพระผูเปนเจาทรงสรางขึ้น เปนสิง่ ที่ไมตองอาศัยดวงตาเพื่อมองดูภาพ ไม ตองใชหูเพื่อฟงเสียง และไมตองใชสมองเพื่อจะคิด หากวาผูใดไดรับทราบขอเท็จจริงทางวิทยาศาสตรที่ชัดเจนเชนนี้แลว ควรจะตระหนักถึงความยิ่งใหญในเด ชานุภาพของพระเจา และขอความคุมครองจากพระองค พระองคอลั ลอฮ (ซ.บ.) ผูทรงกรุณาปรานีไดยอจักรวาลอัน กวางใหญไพศาลใหมาอยูในที่อนั มืดมิดเพียงไมกี่ลูกบาศกเซนติเมตรในรูปแบบของภาพสามมิติ

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 95

ศรัทธาแหงวัตถุนิยม จากขอมูลที่กลาวมานี้ แสดงใหเห็นชัดเจนวาทฤษฎีววิ ฒ ั นาการนี้ขัดแยงกับวิทยาศาสตร เชน แนวความคิด เรื่องการกําเนิดชีวิต นอกจากนี้ ลําดับขั้นตอนของวิวัฒนาการดูไมนา เชื่อถือ ซากดึกดําบรรพที่อยูในระหวางขัน้ ตอน ั นาการนี้ควรจะถูกลบลางเนื่องจากไม ของวิวัฒนาการตามทีท่ ฤษฎีอางถึงก็ไมเคยมีจริง ดังนัน้ แนนอนวาทฤษฎีวิวฒ มีพื้นฐานทางวิทยาศาสตรรองรับ ซึ่งเปนเหตุผลเดียวกันกับที่แนวความคิดเรื่องโลกเปนศูนยกลางของจักรวาลไมเปน ที่ยอมรับของนักวิทยาศาสตร อยางไรก็ตาม ทฤษฎีววิ ัฒนาการยังคงเปนประเด็นวิทยาศาสตรทมี่ กี ารกลาวถึงเสมอมา บางคนถึงกับเรียก การวิพากษวิจารณเกี่ยวกับทฤษฎีนี้วา เปน “การตอตานวิทยาศาสตร” เลยทีเดียว เพราะเหตุผลใด ทฤษฎีววิ ัฒนาการเปนความเชื่อที่จําเปนสําหรับคนบางกลุมที่เชื่อมั่นในแนวความคิดวัตถุนิยมและทฤษฎี ดารวินอยางไมลืมหูลืมตา เนื่องจากแนวความคิดวัตถุนิยมเปนสิง่ เดียวที่สามารถนํามาใชอธิบายสิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้น ตามกลไกของธรรมชาติได ประเด็นทีน่ าสนใจ คือ บางครั้งนักปรัชญาและนักวิทยาศาสตรไดยอมรับเหตุผลที่ทาํ ใหแนวความคิดวัตถุ นิยมไดรับความเชื่อถือ เชน ริชารด ซี ลูวอนติน นักพันธุกรรมศาสตรที่มีชื่อเสียงและเปนนักทฤษฎีวิวัฒนาการที่มี ชื่อเสียงจากมหาวิทยาลัยฮารวารด ไดยอมรับวา “เคยเปนนักวัตถุนิยม กอนที่จะผันตัวเองมาเปนนักวิทยาศาสตร” ไมมีวิธีการและองคกรทางวิทยาศาสตรใดๆ ที่บีบบังคับใหเรานําแนวความคิดวัตถุนิยมมาอธิบาย ปรากฎการณตางๆ ในโลกนี้ ตรงกันขาม ความเชื่อมั่นในแนวความคิดวัตถุนิยมนี่เองที่สรางกลไกการ ตรวจสอบและทําใหเกิดคําอธิบายแบบเปนรูปธรรมตางๆ ถึงแมวา แนวคิดนี้จะคานกับสติปญญาหรือทําให ผูอื่นสนเทหกต็ าม ที่สําคัญ แนวคิดวัตถุนิยมถือเปนคําตอบของทุกสิง่ ดังนั้น เราจึงไมอาจเชื่อ ในพลัง อํานาจเหนือธรรมชาติใด ๆ ทั้งสิน้ 42 คํากลาวนี้เปนการยอมรับอยางเปดเผยวาการที่ทฤษฎีดารวินยังคงไดรับความเชื่อถือก็เพียงเพื่อสนับสนุน แนวความคิดวัตถุนยิ มซึง่ เชือ่ วา ทุกสิง่ เริ่มตนจากสสาร วัตถุและสิ่งไมมีชีวิตสามารถสรางชีวิตขึน้ มาได ทฤษฎีนี้ยัง เนนวาสิง่ มีชวี ติ ชนิดตางๆ หลากหลายสายพันธุ ตัวอยางเชน นก ปลา ยีราฟ เสือ แมลง ตนไม ดอกไม ปลาวาฬ และ มนุษย ตางมีตนกําเนิดมาจากสิ่งไมมีชีวิตโดยการปฎิสัมพันธกันระหวางสิง่ ตางๆ เชน สายฝน แสงฟาแลบ ซึง่ เปน หลักการที่คานกับเหตุผลและวิทยาศาสตรโดยสิ้นเชิง แตผูนิยมทฤษฎีดารวนิ กลับยังคงยึดมั่นในความเชือ่ นี้เพียง เพราะวา “ไมอาจเชื่อในพลังอํานาจเหนือธรรมชาติใด ๆ ทัง้ สิ้น”

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 96

ใครก็ตามที่พจิ ารณาตนกําเนิดของสิ่งมีชีวติ โดยไมลําเอียงไปในทางวัตถุนิยมยอมจะมองเห็นสัจธรรม ตอไปนี้ไดชัดเจน กลาวคือ สิ่งมีชีวิตทั้งมวลลวนเปนสิ่งสรางสรรคของพระผูเปนเจา ผูท รงอํานาจ ผูท รงปรีชาญาณ และผูทรงรอบรู คือพระองคอัลลอฮ (ซ.บ.) ผูทรงสรางจักรวาลและสิง่ มีชีวิตทัง้ มวลจากความวางเปลาใหเปนรูปแบบ ที่งดงามสมบูรณที่สุด

………………………………….. พวกเขา (บรรดามะลาอิกะฮ) ทูลวา มหาบริสุทธิพ ์ ระองคทาน ไมมีความรูใดๆ แกพวกขาพระองคนอกจากสิ่งทีพ ่ ระองคไดทรงสอนพวกขาพระองคเทานั้น แทจริงพระองคคือผูทรงรอบรู ผูทรงปรีชาญาณ (อัลกุรอาน 2:32) ………………………………………..

The Miracle (3rd Draft).doc

04/01/2005

Page 97

More Documents from "wanee"

Amal
November 2019 37
Th Questions For Islam
November 2019 20
November 2019 7
Quranjournalhb
November 2019 10
November 2019 8