09-ท้ายเล่ม.pdf

  • Uploaded by: TeerusLaohverapanich
  • 0
  • 0
  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 09-ท้ายเล่ม.pdf as PDF for free.

More details

  • Words: 1,464
  • Pages: 10
วารสารดนตรีรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต: Rangsit Music Journal ปี ที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560: Vol.12 No.1 January-June 2017

129

แนะนำผู้เขียน ภัสชำ น้อยสอำด อำจำรย์ประจำสำขำวิชำดนตรีตะวันตก คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนคร ศศ.ม. (ดนตรีวิทยา) วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศล.บ. (ดนตรีสากล) เกียรตินิยมอันดับ 2 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

ช้ำงต้น กุญชร ณ อยุธยำ รองคณบดีฝ่ำยบริหำร วิทยำลัยดนตรี มหำวิทยำลัยรังสิต Dip. (Professional Diploma) Berklee College of Music, U.S.A. ศศ.ม. (วัฒนธรรมการดนตรี) มหาวิทยาลัยมหิดล ศ.บ. (เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จิโรจ หวังเจริญ อำจำรย์ประจำวิชำเปียโน โรงเรียนดนตรียำมำฮ่ำ เซ็นทรัลซิตี้บำงนำ ศศ.ม. (ดนตรีชาติพันธ์วิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศศ.บ. (บริหารธุรกิจสาขาธุรกิจระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

พัชรินทร์ สันติอัชวรรณ อำจำรย์ประจำภำควิชำนำฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ศศ.ด. (นาฏยศิลป์ไทย) คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศศ.ม. (นาฏยศิลป์ไทย) คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศป.บ. (นาฏยศิลป์) คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วจียำพร ชำตะวรำหะ อำจำรย์ประจำวิชำเปียโนและไวโอลิน โรงเรียนดนตรียำมำฮ่ำ ป๊อปปูล่ำมิวสิค สยำมคิดส์ อยุธยำ ศป.ม. (ดนตรีชาติพันธุ์วิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศป.บ. (ดุริยางคศิลป์) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

วำนิช โปตะวนิช อำจำรย์ประจำวิทยำลัยดนตรี มหำวิทยำลัยรังสิต ศป.ด. (ดุริยางคศิลป์ตะวันตก) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศป.ม. (การประพันธ์เพลง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศป.บ. (ดนตรีตะวันตก) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิบูลย์ ตระกูลฮุ้น รองคณบดีฝ่ำยวิชำกำรและวิจัย วิทยำลัยดนตรี มหำวิทยำลัยรังสิต D.A. (Music Theory and Composition), Ball State University, U.S.A. ศป.ม. (การประพันธ์เพลง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศศ.ม. (ดนตรีวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล ศศ.บ. (ดนตรีสากล) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วุฒินันท์ เลำหรัตนเวทย์ ดศ.ม. (ดนตรี) มหาวิทยาลัยรังสิต ศศ.บ. (ดนตรี) มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง

130

วารสารดนตรีรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต: Rangsit Music Journal ปี ที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560: Vol.12 No.1 January-June 2017

รำยละเอียดและหลักเกณฑ์ในกำรส่งบทควำม วารสารดนตรีรังสิต จัดพิมพ์เพื่อเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ความรู้และวิทยาการด้านดนตรี อีกทั้งเป็นการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างนักวิชาการจากสถาบัน และหน่วยงานต่างๆ ซึ่งจัดพิมพ์ เป็นราย 6 เดือน (ปีละ 2 ฉบับ) ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม บทความที่ ส่ งมาตีพิ มพ์ ต้องไม่เคยเผยแพร่ในวารสารหรือสิ่ งพิ มพ์ ใดมาก่อน และไม่ อยู่ ระหว่างการพิจารณาของวารสารหรือสิ่งพิมพ์อื่น ประเภทของผลงานที่ตีพิมพ์ ต้องเป็นบทความ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ วิ ช าการด้ า นดนตรี เช่ น บทความวิ จั ย บทความวิ ช าการ ผลงานสร้ า งสรรค์ บทวิเคราะห์ บทความอื่นๆ ซึ่งครอบคลุมในทุกสาขาวิชาทางด้านดนตรี หรือบทความที่มีดนตรี เกี่ยวข้อง กรุณาส่งผลงานของท่านมาที่กองบรรณาธิการ ตามที่อยู่ข้างล่างนี้ กองบรรณำธิกำรวำรสำรดนตรีรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธำนี 12000 email: [email protected] โทรศัพท์: 02-791-6258-62 Website: www.rsu.ac.th/rscmjournal ค่ำใช้จ่ำยสำหรับกำรดำเนินงำน 3,000.- บำท ต่อ 1 บทควำม * ส่งต้นฉบับบทความพร้อมแสดงหลักฐานการชาระเงินผ่านบัญชีธนาคาร เท่านั้น

ชื่อบัญชี มหำวิทยำลัยรังสิต: วิทยำลัยดนตรี ธนำคำรกรุงเทพ สำขำมหำวิทยำลัยรังสิต เลขที่บัญชี 020 - 0 - 29951 - 9 ผู้เขียนบทความที่ได้รับการตีพิมพ์จะได้รับวารสารจานวน 2 เล่ม โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย หาก ต้องการวารสารเพิ่มสามารถสั่งซื้อได้ในราคาพิเศษ

วารสารดนตรีรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต: Rangsit Music Journal ปี ที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560: Vol.12 No.1 January-June 2017

131

คำแนะนำในกำรจัดเตรียมต้นฉบับ นโยบำยกำรตีพิมพ์และกำรส่งบทควำม วารสารดนตรีรังสิต เป็นวารสารที่มีการประเมินบทความก่อนตีพิมพ์ (Refereed Journal) ซึ่งบทความแต่ละบทจะถูกพิจารณาคุณภาพโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) จานวน 2-3 คน ที่มี องค์ความรู้และความเชี่ยวชาญตรงหรือเกี่ยวเนื่องกับสาขาของบทความ ผู้ประเมินจะไม่ทราบว่า กาลังพิจารณาบทความของผู้เขียนคนใด พร้อมกันนั้นผู้เขียนบทความจะไม่สามารถทราบว่าใครเป็น ผู้ พิ จ ารณา (Double Blind Review) โดยบทความและผลงานการศึก ษาวิจั ยที่ ป ระสงค์ ส่ งพิ ม พ์ ในวารสารดนตรีรังสิตต้องอยู่ในรูปแบบดังต่อไปนี้ 1. ผู้ เขีย นต้องระบุ ป ระเภทของบทความว่าเป็น บทความประเภทใด เช่น บทความวิจัย บทความวิชาการ ผลงานสร้างสรรค์ บทวิเคราะห์ ห รือบทความอื่นๆ โดยส่ งถึงกองบรรณาธิการ ประกอบด้วยต้นฉบับของบทความในรูปแบบ MS Word และ PDF (ต้องส่งทั้ง 2 แบบ) 2. บทความภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (ภาษาใดภาษาหนึ่ง) ความยาวของบทความรวม ตัวอย่าง ภาพประกอบ โน้ตเพลง บรรณานุกรม และอื่นๆ ไม่ควรเกิน 15 หน้ากระดาษพิมพ์ A4 โดย ให้ตั้งค่าหน้ากระดาษ ด้านบน 4.5 ซม. ด้านล่าง 4 ซม. ด้านซ้าย 3.5 ซม. และด้านขวา 3 ซม. ใช้ แบบอักษรมาตรฐาน TH Sarabun New ตลอดทั้งบทความ และมีส่ ว นประกอบของบทความที่ สาคัญตามลาดับ ดังนี้ 2.1 ชื่ อ เรื่ อ ง (Title) ใช้ อั ก ษรตั ว หนา ขนาด 18 pt ตั ว พิ ม พ์ ใ หญ่ จั ด กึ่ ง กลาง หน้ ากระดาษ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยแต่ล ะภาษาจานวนไม่ควรเกิน 1 บรรทัด และ หลีกเลี่ยงการใช้อักษรย่อเป็นส่วนหนึ่งของชื่อเรื่อง 2.2 ชื่อผู้เขียน (Author) ใช้อักษรขนาด 14 pt จัดต่อจากชื่อเรื่องชิดขวา ระบุข้อมูล เฉพาะชื่อ - นามสกุลจริงของผู้เขียนเท่านั้น (ไม่ต้องใส่ตาแหน่งทางวิชาการ) หากมีผู้เขียนร่วมจะต้อง ระบุให้ครบถ้วนถัดจากชื่อผู้เขียนหลักทุกรายการ 2.3 บทคัดย่อ (Abstract) ทุกบทความต้องมีบทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใช้ อั ก ษรปกติ ขนาด 16 pt จั ด แนวพิ ม พ์ แ บบกระจายบรรทั ด (Thai Distributed) ซึ่ ง ควร ประกอบด้ ว ยรายละเอี ย ด เกี่ ย วกั บ ปั ญ หา หรื อ ความส าคั ญ ของปั ญ หา หรื อ ความส าคั ญ ของ

132

วารสารดนตรีรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต: Rangsit Music Journal ปี ที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560: Vol.12 No.1 January-June 2017

การศึกษา ผลการศึกษาและข้อสรุป รายละเอียดข้างต้นต้องเขียนกะทัดรัด (โดยแต่ละภาษาจากัด ประมาณ 150 - 250 คา และจบภายใน 1 ย่อหน้า) 2.4 คาสาคัญ (Keywords) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (ภาษาละไม่เกิน 3 คา) ใต้ บทคัดย่อของภาษานั้นๆ 2.5 ที่อยู่และสังกัดของผู้เขียน (Affiliation) ใช้อักษรขนาด 14 pt ในรูปของเชิงอรรถ ใต้บทคัดย่อ โดยระบุการศึกษาขั้นสูงสุดหรือตาแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี) และสังกัดของผู้เขียน 2.6 เนื้อหา (Content) ใช้อักษรปกติ ขนาด 16 pt จัดแนวพิมพ์แบบกระจายบรรทัด หากเป็ น บทความวิ จั ย หรื อ วิ ท ยานิ พ นธ์ ควรมี เนื้ อ หาที่ ค รอบคลุ ม ในหั ว ข้ อ ต่ า งๆ ได้ แ ก่ บทน า วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขอบเขตการศึกษาและ/หรือข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้ามี) วิธี การศึกษาหรือวิธีการดาเนินงานวิจัย ผลการศึกษา สรุปและอภิปรายผล วันและสถานที่การจัดแสดง (ถ้ า มี ) หากเป็ น บทความที่ ไ ด้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย ให้ ร ะบุ ชื่ อ ของแหล่ ง ทุ น ในส่ ว นของ กิตติกรรมประกาศตามเงื่อนไขการรับทุน 2.7 กรณี่ชื่อบทเพลงทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอื่นๆ ซึ่งปรากฎในเนื้อหาของ บทความ ให้ใช้ตัวอักษรเอน (Italic) เช่น บทเพลงมิติแห่งอากาศธาตุ (Ether-Cosmos) ยกเว้นชื่อ บทความและหัวข้อสาคัญให้ใช้ตัวอักษรตรง 2.8 บรรณานุกรม (Bibliography) ใช้อักษรขนาด 16 pt จัดแนวพิมพ์แบบชิดซ้ายโดย บรรทัดต่อมาของรายการเดียวกันจะต้องย่อหน้าเข้า 1.25 cm (1 Tab) รายการอ้างอิงภายในเนื้อหา เป็นแบบเชิงอรรถ (Footnote) พร้อมทั้งตรงกับบรรณานุกรมท้ายบทความครบถ้วนทุกรายการ โดย เรียงตามลาดับตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (อ่านรายละเอียดหลักเกณฑ์การเขียนเชิงอรรถ และบรรณานุกรมเพิ่มเติม) 2.9 การเขียนเชิงอรรถและบรรณานุกรมอ้างอิงตามระบบ The Chicago Manual of Style เท่านั้น (ดูได้ที่ http://chicagomanualofstyle.org) บรรณานุกรมไม่ควรมีน้อยกว่า 5 แหล่ง และรวมทั้งหมดไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4 3. กรณี ที่ มีไฟล์ เอกสารแนบประกอบกับ บทความ เช่น ภาพประกอบ หรือรูป กราฟฟิ ก จะต้องระบุชื่อไฟล์ให้ชัดเจน และเรียงลาดับหมายเลขชื่อไฟล์ตรงกับรูปในบทความ โดยใช้รูปที่มี ขนาดเหมาะสม มีคุณภาพสีและความละเอียดสาหรับการพิมพ์ (ไฟล์รูปชนิด TIFF หรือ JPEG ความ ละเอียดไม่น้อยกว่า 300 dpi ขนาดไฟล์ไม่น้อยกว่า 500 KB) ถ้ามีเส้นและ/หรือตารางควรมีความ

วารสารดนตรีรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต: Rangsit Music Journal ปี ที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560: Vol.12 No.1 January-June 2017

133

หนาไม่ต่ากว่า 0.75 pt สาหรับชื่อตาราง รูปภาพ หรือตัวอย่าง ให้ระบุเลขที่เป็นตัวเลขอารบิค เช่น ตารางที่ 1 หรือตัวอย่างที่ 1 เป็นต้น 4. กรณีโน้ตเพลง ไม่ควรใช้การถ่ายเอกสารแบบตัดปะ ใช้พิมพ์ใหม่โดยใช้โปรแกรมสาหรับ พิมพ์โน้ต เช่น โปรแกรม Sibelius หรือโปรแกรม Finale เป็นต้น 5. กรณีที่เป็นบทความวิจัยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา (วิทยานิพนธ์ หรือดุษฎีนิพนธ์) ต้องได้รับการรับรองจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักเป็นลายลักษณ์อักษรในการนาผลงาน เสนอตีพิมพ์ อีกทั้งมีชื่อลาดับถัดจากผู้เขียน 6. กรณีที่เป็นบทความที่มีผู้เขียนมากกว่า 1 คน จะต้องมีใบรับรองจากผู้เขียนร่วมทุกคน เป็นลายลักษณ์อักษร โดยให้ระบุชื่อ - นามสกุลจริงในลาดับถัดจากผู้เขียนหลักทุกรายการ (ที่อยู่และ สังกัดของผู้เขียนร่วมให้อยู่ในรูปของเชิงอรรถใต้บทคัดย่อเช่นเดียวกับผู้เขียนหลัก) 7. กรณีเป็นบทความภาษาต่างประเทศ ต้องมีบทคัดย่อภาษาไทยด้วย 8. กองบรรณาธิการสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตอบรับการตีพิมพ์ ความรับผิ ดชอบใดๆ เกี่ ย วกั บ เนื้ อ หาและความคิ ด เห็ น ในบทความเป็ น ของผู้ เขี ย นเท่ า นั้ น กองบรรณาธิ ก ารไม่ ต้ อ ง รับผิดชอบ 9. บทความที่นาลงตีพิมพ์ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้พิจารณา โดยผล การพิจารณาดังกล่าวถือเป็นที่สุด 10. วารสารดนตรีรังสิต มีสิทธิ์ในการตีพิมพ์และพิมพ์ซ้า แต่ลิขสิทธิ์ของบทความยัง คงเป็น ของผู้เขียน

134

วารสารดนตรีรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต: Rangsit Music Journal ปี ที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560: Vol.12 No.1 January-June 2017

เกณฑ์กำรพิจำรณำกลั่นกรองบทควำม (Peer Review) 1. กองบรรณาธิการจะเป็นผู้พิจารณาคุณ ภาพวารสารขั้นต้นจากแบบตรวจสอบรายการ เอกสารประกอบการเสนอส่งบทความต้นฉบับ ที่ผู้เขียนได้แนบมาพร้อมหลักฐานต่างๆ 2. บทความต้น ฉบั บที่ผ่ านการตรวจสอบปรับแก้ให้ ตรงตามรูปแบบวารสาร (การอ้างอิง บรรณานุกรม และอื่นๆ) อีกทั้งเป็นงานเขียนเชิงวิชาการ มีความสมบูรณ์และความเหมาะสมของ เนื้อหาจะได้รับการอ่านพิจารณากลั่นกรองโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ที่มีองค์ความรู้ ความ เชี่ยวชาญ หรือมีประสบการณ์การตรงตามสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งไม่มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้เขียน จานวน 2-3 คนต่อ 1 บทความ 3. บทความที่ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ โดยมีความเห็นสมควรให้ตีพิมพ์จะได้รับ การบันทึกสถานะและเก็บรวบรวบต้นฉบับที่ สมบูรณ์เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ กองบรรณาธิการจะแจ้ง ผู้เขียนรับทราบเป็นหนังสือตอบรับการตีพิมพ์ ซึ่งจะระบุปีที่และฉบับที่ตีพิมพ์ 4. ผู้ เขียนจะได้รับ วารสารฉบับสมบูรณ์ เมื่อกองบรรณาธิการได้เสร็จสิ้ นการตรวจพิ สูจน์ อักษรและมีการตีพิมพ์เผยแพร่ 5. กรณีที่ผู้เขียนมีความประสงค์ต้องการยกเลิกการตีพิมพ์ ต้องแจ้งความประสงค์เป็นลาย ลักษณ์อักษรเรียนถึง “บรรณาธิการวารสารดนตรีรังสิต วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต” เท่านั้น 6. บทความที่ ไม่ ผ่ านการพิ จารณา กองบรรณาธิ ก ารจะเรีย นแจ้งผู้ นิ พ นธ์ รับ ทราบเป็ น ลายลั กษณ์ อักษร โดยไม่ส่ งคืน ต้น ฉบับ และค่าธรรมเนียม ทั้งนี้ ผลการพิ จารณาถือเป็ นอันสิ้ นสุ ด ผู้เขียนจะไม่มีสิทธิ์เรียกร้องหรืออุทธรณ์ใดๆ ทั้งสิ้น อนึ่ ง กรณี ที่ ผู้ เขี ย นถู ก ปฏิ เสธการพิ จ ารณาบทความ เนื่ อ งจากตรวจพบการคั ด ลอก บทความ (Plagiarism) โดยไม่มีการอ้างอิงแหล่งที่มา จะไม่สามารถเสนอบทความเดิมได้อีก และกอง บรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์การส่งบทความของผู้เขียนในฉบับถัดไป จนกว่าจะมีการปรับปรุงคุณภาพ บทความตามเกณฑ์ที่กาหนด

วารสารดนตรีรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต: Rangsit Music Journal ปี ที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560: Vol.12 No.1 January-June 2017

135

หลักเกณฑ์กำรเขียนเชิงอรรถ และบรรณำนุกรม วารสารดนตรี รั ง สิ ต ขอให้ ผู้ เขี ย นบทความทุ ก ท่ า นใช้ รู ป แบบการอ้ า งอิ ง และการเขี ย น บรรณานุกรมจาก The Chicago Manual of Style รูปแบบ Note and Bibliography การอ้างอิง ภายในเนื้อหาของบทความเป็น แบบเชิงอรรถ (Footnote) ซึ่งจะปรากฏบริเวณส่วนล่างของหน้ า นั้ น ๆ ทั้ งนี้ วารสารดนตรี รังสิ ต ได้ เสนอตัว อย่างการเขียนเชิงอรรถและบรรณานุ กรมที่น ามาจาก แหล่งข้อมูลต่างๆ ดังต่อไปนี้ *หมายเหตุ: เอกสารที่มีหมายเลขกากับด้านหน้า คือ เชิงอรรถ เอกสารทีไ่ ม่มีหมายเลขกากับ คือ บรรณานุกรม

ผู้แต่งคนเดียว 1 Dennis Shrock, Choral Repertoire (New York: Oxford University Press, 2009), 35. 2 ณรงค์ ฤ ทธิ์ ธรรมบุ ต ร, การประพั น ธ์ เ พลงร่ ว มสมั ย (กรุ ง เทพ: ส านั ก พิ ม พ์ แ ห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2552), 58. Shrock, Dennis. Choral Repertoire. New York: Oxford University Press, 2009. ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร. การประพันธ์เพลงร่วมสมัย. กรุงเทพ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2552. ผู้แต่ง 2-3 คน 1 Stefan Kostka and Dorothy Payne, Tonal Harmony with an Introduction to Twentieth-Century Music, 6th ed. (Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall, 2008), 45-46. 2 ศิริชัย กาญจนวาสี, ทวีวัฒน์ปิตยานนท์, และดิเรก ศรีสุโข, การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมสาหรับการ วิจัย, พิมพ์ครั้งที่ 6 (กรุงเทพ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555), 88. Kostka, Stefan, and Dorothy Payne. Tonal Harmony with an Introduction to Twentieth-Century Music. 6th ed. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall, 2008. ศิริชัย กาญจนวาสี, ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์, และดิเรก ศรีสุโข. การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมสาหรับ การวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.

136

วารสารดนตรีรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต: Rangsit Music Journal ปี ที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560: Vol.12 No.1 January-June 2017

หมำยเหตุ: ถ้ามีผู้แต่งตั้งแต่ 4 คน ขึ้นไป ให้ใส่เฉพาะชื่อแรก ตามด้วย "และคณะ" หรือ "and others" เช่น ศิริชัย กาญจนวาสี และคณะ Kostka, Stefan, and others บทควำมในวำรสำร เชิงอรรถให้ระบุเฉพาะเลขหน้าของบทความที่ข้อมูลนั้นๆ ถูกอ้างถึง ส่วนบรรณานุกรมให้ระบุ เลขหน้าแรกถึงเลขหน้าสุดท้ายของบทความ 1 David Taylor Nelson, "Béla Bartók: The Father of Ethnomusicology," Musical Offerings 3, 2 (Fall 2012): 85. 2 วิบูลย์ ตระกูลฮุ้น, "ซิมโฟนีหมายเลข 3 โอปุส36 ซิมโฟนีแห่งความเศร้า," วารสารดนตรีรังสิต 4, 2 (2552): 28. Nelson, David Taylor. " Béla Bartók: The Father of Ethnomusicology." Musical Offerings 3, 2 (Fall 2012): 75-91. วิบูลย์ ตระกูลฮุ้น. "ซิมโฟนีหมายเลข 3 โอปุส36 ซิมโฟนีแห่งความเศร้า." วารสารดนตรีรังสิต 4, 2 (2552): 25-39. บทควำมในหนังสือ เชิงอรรถให้ระบุเฉพาะเลขหน้าของบทความที่ข้อมูลนั้นๆ ถูกอ้างถึง ส่วนบรรณานุกรมให้ระบุ เลขหน้าแรกถึงเลขหน้าสุดท้ายของบทความ 1 Rosamund Bartlett, "Stravinsky's Russian Origins," in The Cambridge Companion to Stravinsky, ed. Jonathan Cross (Cambridge, UK: Cambridge University Press, 2003), 16. Bartlett, Rosamund. "Stravinsky's Russian Origins." In The Cambridge Companion to Stravinsky, edited by Jonathan Cross, 3-18. Cambridge, UK: Cambridge University Press, 2003: 1-25.

วารสารดนตรีรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต: Rangsit Music Journal ปี ที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560: Vol.12 No.1 January-June 2017

137

วิทยำนิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์ 1 Michele J. Edwards, "Performance Practice in the Polychoral Psalms of Heinrich Schutz" (D.M.A. diss., University of Iowa, 1983), 8. 2 อดิวัชร์ พนาพงศ์ไพศาล, "การศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเล่นเสียงต่อเนื่อง สาหรับทรอมโบน" (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556), 63. Edwards, Michele J. "Performance Practice in the Polychoral Psalms of Heinrich Schutz." D.M.A. diss., University of Iowa, 1983. อดิวัชร์ พนาพงศ์ไพศาล. "การศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเล่นเสียงต่อเนื่อง สาหรับทรอมโบน." วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรังสิต, 2556. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 1 Valentine Hugo, "Sketches of Performing the Sacrificial Dance," accessed July 27, 2014, http://i.imgur.com/Q9mDJ.jpg. Hugo, Valentine. "Sketches of Performing the Sacrificial Dance." Accessed July 27, 2014. http://i.imgur.com/Q9mDJ.jpg.

138

วารสารดนตรีรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต: Rangsit Music Journal ปี ที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560: Vol.12 No.1 January-June 2017

แบบเสนอขอส่งบทควำมเพื่อลงตีพิมพ์ในวำรสำรดนตรีรังสิต ข้าพเจ้า..................................................................................................................ตาแหน่ง...................................................... วุฒิการศึกษาสูงสุด (ระบุชื่อปริญญา).................................................สาขาวิชา........................................................................ ชื่อสถาบันที่สาเร็จการศึกษา...................................................................................................................................................... สถานที่ทางาน............................................................................................................................................................................ ที่อยู่ที่ติดต่อสะดวก.................................................................................................................................................................... โทรศัพท์ (ที่ทางาน) .............................................................................มือถือ............................................................................ โทรสาร..............................................................email.............................................................................................................. มีควำมประสงค์ขอส่ง  บทความวิชาการ  บทความวิจัย  บทวิจารณ์หนังสือ/ตารา  อื่นๆ (โปรดระบุ)...................................... บทความวิชาการและบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ ต้องระบุชื่อบทความและจัดทาบทคัดย่อทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ชื่อเรื่อง (ไทย)............................................................................................................................................................................ ชื่อเรื่อง (อังกฤษ)....................................................................................................................................................................... กรณีเป็นบทความวิจัยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสาเร็จการศึกษาได้ทาการสอบป้องกันเมื่อวันที่................................................. คำรับรองบทควำมวิจัยจำกอำจำรย์ที่ปรึกษำ (กรณีเป็นบทความวิจัยของนักศึกษา) ข้าพเจ้า.........................................................................................................................อาจารย์ที่ปรึกษาของ (นาย/นาง/น.ส.) ............................................................................เป็นนักศึกษาระดับ.....................................สาขาวิชา..................................... หลักสูตร.............................................คณะ..................................................ของมหาวิทยาลัย.................................................. ได้อ่านและพิจารณาบทความแล้วเห็นสมควรนาเสนอเพื่อให้วารสารดนตรีรังสิตพิจารณา ลงชื่อ....................................................................อาจารย์ที่ปรึกษา (...................................................................) วันที่........................................................................... ข้าพเจ้ารับรองว่าบทความนี้ (เลือกให้มากกว่า 1 ข้อ)  เป็นบทความของข้าพเจ้าแต่เพียงผู้เดียว  เป็นผลงานของข้าพเจ้าและผู้ร่วมงานตามชื่อที่ระบุไว้ในบทความจริง  ไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบหรือแหล่งตีพิมพ์ใดๆ มาก่อน  ไม่อยู่ระหว่างการนาเสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารหรือแหล่งเผยแพร่อื่นใดพร้อมกัน  ข้าพเจ้ายอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาต้นฉบับ ทั้งยินยอมให้กองบรรณาธิการตรวจแก้ต้นฉบับตามที่ เห็นสมควร พร้อมกันนี้ขอมอบลิขสิทธิ์บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ให้แก่ วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อความทั้งหมดข้างต้นเป็นความจริงทุกประการ ลงชื่อ.....................................................................ผู้เขียน (….................................................................) วันที่...........................................................................

Related Documents

Edge Sep 7 09pdf
May 2020 9
01-03-09pdf
December 2019 19

More Documents from ""

November 2019 15
Saxophone 1-8.docx
November 2019 10
November 2019 17
November 2019 20
November 2019 13