ความเสี่ยงคือความไม่แน่นอนของผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคตซึ่งมาจากหลายสาเหตุ และผลจากความไม่แน่นอนของการทำากำาไรและการสูญเสีย กลยุทธ์ 4 T 1. Transfer - เป็นการถ่ายโอนความเสี่ยงไปให้ผู้อื่น เช่น การทำาประกันภัย 2. Terminate – หลีกเลี่ยงความเสี่ยงนั้นๆ ด้วยการหันไปลงทุนในด้านอื่นแทนที่มีความ เสี่ยงน้อยกว่า 3. Treat – เป็นวิธีการลดความรุนแรงของความเสี่ยง หรือที่รู้จักกันในนามของการกระ จายความเสี่ยง 4. Tolerate – ยอมรับความเสี่ยงนั้น เนื่องจากการลงทุนบางประเภทเราไม่สามารถหลีก เลี่ยงความเสี่ยงได้ การบริหารความเสี่ยง หรือ Risk Management นั้นเป็นกระบวนการควบคุม ติดตาม และ ตรวจสอบการทำาธุรกรรมของสถาบันการเงินเพื่อให้มีความเสี่ยงอยู่ในระดับที่เหมาะสม การบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของทุ ก กิ จ การในสถาบั น การเงิ น และเป็ น หั ว ใจ สำาคัญในการบริหารธุรกิจของสถาบันการเงิน การบริ ห ารความเสี่ ย งมี บ ทบาทในการลดความเสี่ ย งของธุ ร กิ จ ด้ ว ยการวิ เ คราะห์ ธุรกรรมตั้งแต่เริ่มทำาและพยายามประเมินความเสี่ยงให้ออกมาเป็นตัวเลข เพื่อประโยชน์ ในการเปรียบเทียบผลตอบแทนกับความเสี่ยงว่าคุ้ม ค่าในการลงทุนหรือ ไม่ ขั้นตอนนี้ เรี ย กว่ า Risk Quantification และนำา ไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นการประเมิ น ความเพี ย งพอของเงิ น ทุนสำารอง การจัดสรรเงินทุนตามความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพ การตั้งราคาที่เหมาะ สม การแบ่งกลุ่มตลาดและเลือกกลุ่มเป้าหมายที่เหมาะสม การบริหารพอร์ตการลงทุน และการกำาหนดกลยุทธ์การลงทุนและการป้องกันความเสี่ยง การวัดประสิทธิภาพการทำา ธุรกิจ เป็นต้น หากธนาคารสามารถบริหารความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ต้นทุน ในการบริหารธุรกิจของธนาคารควรตำ่าลง หนี้เสียลดลง มีกำาไรมากขึ้น สามารถกำาหนด อัตราดอกเบี้ยที่เป็นธรรมแก่ลูกค้า และในที่สุดก็สามารถสร้างความมั่นคงแก่สถาบันการ เงินและระบบเศรษฐกิจ
Internal View (Bank Managers’ View)
External View (Bank Regulators’ View)
Objectives
need a measure that allows active, efficient management
accurately measure bank risk and set the bank’s capital requirement
Timeliness and Scope
concern with selective intraday risk measurement
like to monitor the intraday & long-term total risk
Efficiency
tradeoff between measurement precision and the cost and timeliness of reporting
Not to undertake their own measurements but choose to monitor and stress test bank risk
1.การระบุความเสี่ยง 2.การวัดความเสี่ยง จะใช้การเทียบต้นทุนและรายได้ 3.การบริหารความเสี่ยง 4.การตรวจสอบและควบคุมความเสี่ยง
Overall targets Risk limits Profitability Risk and Profitability allocations
Group Business Units
Transaction Reporting
ปิระมิดความเสี่ยงแสดงถึงปัจจัยสำาคัญของการกระจายความเสี่ยงว่า การดำาเนิน การกระจายความเสี่ยงโดยรวมสามารถแก้ปัญหาได้ดีกว่าปัญหาเดียวๆดังเดิมของแต่ละ ประเภทที่เกิดขึ้น นอกจากการประเมินความเสี่ยงที่กล่าวมาข้างต้นยังขาดความสัมพันธ์ ระหว่างความเสี่ยงที่พยุงหน่วยธุรกิจไว้กับความเสี่ยงโดนรวมที่ยอดปิระมิด ซึ่งควรถูก กระจายความเสี่ยงโดยการจำากัดทุนของธนาคาร การจัดการความเสี่ยงเป็นทั้งขบวนการขาขึ้นและลง ณ ที่ระดับสูงสุดจะถูกตั้งเป้า รายได้และจำากัดความเสี่ยง จากส่วนบนลงส่วนล่าง(ขาลง) เป้าหมายโดยรวมถูกแปลมา เป็นสัญญาณทางหน่วยธุรกิจ และนำาไปสู่ผู้จัดการที่จะดำา เนินการต่อลูกค้า สัญญาณนี้
รวมทั้ ง เป้ า หมายทางรายรั บ การจำา กั ด ความเสี่ ย ง และแนวทางกำา หนดนโยบายของ หน่วยธุรกิจนั้น การตรวจสอบและรายงานความเสี่ยง คือ นำา จากส่วนล่างสู่ส่วนบน(ขาขึ้น) เริ่ม จากการจัดการความเสี่ยงและจบลงด้วยการจับความเสี่ยงมารวมกัน รายได้ ปริมาณการ ดำาเนินงานมารวมกัน การรวมกันนี้ตระหนักถึงการควบคุมจุดมุ่งหมายและเพื่อเปรียบ เทียบได้ ท้ายสุดของขบวนการเป็นขบวนการลำา ดับขั้นส่วนบนลงส่วนล่าง(ขาลง) เปลี่ยน จากเป้าหมายโดยรวมสู่เป้าหมายของหน่วยธุรกิจ และส่วนล่างสู่ส่วนบน(ขาขึ้น) เป็นการ รวมความเสี่ยง กำาไร และตรวจสอบความเสี่ยงนั้น
การจัดการสินทรัพย์และหนี้สินเป็นเซตย่อยของการจัดการความเสี่ยง ซึ่งเน้นการ จัดการเชิงปริมาณของความเสี่ยงของอัตราดอกเบี้ยและสภาพคล่อ ง ณ ระดับโดยรวม เขตหลักของการจัดการสินทรัพย์และหนี้สินประกอบด้วย 1.ปริมาณการวัดและการตรวจสอบความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยและสภาพคล่อง โดยการตั้งเป้าหมายรายรับและปริมาณการดำา เนินการ รวมทั้งมีการตั้งเป้าจำา กัดอัตรา ดอกเบี้ย 2.ตั้ ง กองทุ น และควบคุ ม จำา กั ด ดุ ล งบประมาณการเงิ น เพื่ อ จำา กั ด สภาพคล่ อ ง วางแผนนโยบายหนี้สิน และพิจารณาอัตราส่วนทุนและความสามารถในการชำา ระหนี้ สิน 3.โปรแกรมการกระจายความเสี่ ย งสำา หรั บ ทั้ ง ความเสี่ ย งสภาพคล่ อ งและอั ต รา ดอกเบี้ย
นอกจากปิ ร ะมิ ด ความเสี่ ย งแล้ ว ยั ง มี 2 วิ ธี จั ด การองค์ ก รที่ ถู ก แปลงสั ญ ญาณสู่ หน่วยธุรกิจและรวมรวมข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายโดยรวม ซึ่งมีดังนี้ 1.ระบบโอนย้ายราคาระหว่างหน่วยธุร กิจ กับหน่วยธุร กิจอื่น ๆ จะมีการคำา นวณ เศรษฐกิจ การค้า ต้นทุน และจัดตั้งเป้าหมายต่าง ๆ 2.ระบบการจัดสรรทุนซึ่งถู กใช้ใ นการจั ดสรรความเสี่ย งโดยรวม และหาต้น ทุ น ระหว่างหน่วยธุรกิจหรือระหว่างการดำาเนินการ ซึ่งระบบใช้โดยปราศจากการหากำาไรที่ สามารถเปรียบเทียบระหว่างหน่วยธุรกิจได้ Risk and capital allocation ระบบการจัดสรรทุนมีจุดประสงค์ของการกระจายความเสี่ยงเพื่อดำา เนินงาน ณ หลายระดับของการรวบรวม อาทิ หน่วยธุรกิจ สายการผลิตหรือคู่แข่ง ดังนั้นความเสี่ยง รวมเป็นส่วนย่อยการดำาเนินงานที่ปราศจากต้นทุน พิจารณาโดยเฉพาะความเสี่ยงรวมมีบางคนแนะนำาว่า ความเสี่ยงไม่ควรกระจาย แต่ได้ให้ความสำาคัญฐานความเสี่ยงต้นทุนเพื่อป้องกันความสูญเสีย บวกกับราคาต้นทุน ที่สูง จึงมีความเป็นเหตุเป็นผลที่มีความต้องการทุนกลับ ยิ่งไปกว่านั้นความเสี่ยงบางตัว
ไม่ต้องจัดการความเสี่ยง เนื่องจากความเสี่ยงของอัตราดอกเบี้ยและสภาพคล่องเป็นตัว วัด และควบคุ ม ระดั บความเสี่ ย งรวมเท่ านั้ น เพราะความเสี่ ยงแต่ล ะตั วจะมีร ะดับ การ จัดการตัวมันเองด้วย ส่วนความเสี่ยงการกู้ยืมจะเป็นในทางกลับกัน
Global Transfer prices
Business units management
Risk and capital allocation
3 1. ความเสี่ยงด้านเครดิต (Credit Risk) 2. ความเสี่ยงด้านตลาด (Market Risk) 3. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ (Operational Risk) (Credit Risk) ความเสี่ยงด้านเครดิต คือ ความเสียหายหรือปัจจัยที่อาจก่อให้เกิดความเสียหาย จากการที่ลูกหนี้ไม่สามารถชำา ระเงิ นกู้ คืน หรือได้รั บชำา ระช้า กว่ า กำา หนดที่ ได้ ต กลงไว้ ความเสี่ยงด้านเครดิตจะปรากฏอยู่ในทุกกิจการของธนาคาร แต่จะมีขนาดรุนแรงมาก น้อยแตกต่างกัน โดยมีสาเหตุจากปริมาณสินเชื่อที่ให้กับลูกค้าและคุณภาพของลูกค้าที่ แสดงออกในรูปของความสามารถการชำาระดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านเครดิตถือเป็นสาเหตุ หลักที่ก่อให้เกิดความล้มเหลวในการบริหารธนาคาร เพราะสินเชื่อเป็นสินทรัพย์ที่ก่อให้ เกิดรายได้ที่มีสัดส่วนต่อสินทรัพย์รวมสูงสุดและเป็นสินทรัพย์ที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า การลงทุนด้านอื่นๆ การบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตเป็นการพยายามประเมินค่าความสูญเสียที่อาจ เกิดขึ้นกับลูกค้าโดยวิธีการทางคณิตศาสตร์ ตัวเลขที่ได้สามารถนำามากำาหนดกลยุทธ์เชิง บริหาร เช่น การกำาหนดวงเงินสูงสุดสำาหรับปล่อยสินเชื่อแก่ลูกค้าแต่ละราย การกำาหนด หลักเกณฑ์สำา หรับอนุมัติสินเชื่อ แก่กลุ่มลูกค้า การตั้งเงินทุ นสำา รอง การกำา หนดอัตรา ดอกเบี้ยเงินกู้ การกระจายการลงทุนสู่ธุรกิจต่างๆ การวัดประสิทธิภาพการดำา เนินงาน เป็นต้น
(Market Risk) ความเสี่ยงด้านตลาด หรือความเสี่ยงด้านการลงทุน คือ ความเสียหายหรือปัจจัยที่ อาจก่อให้เกิดความเสียหายจากการลงทุนในตราสารทางการเงินประเภทต่างๆ ทั้งใน ตลาดเงินและตลาดทุน ปัจจัยสำา คัญที่ใช้ในการกำา หนดราคาตราสารการเงิน คือ อัตรา ดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน และราคาหุ้น การบริหารความเสี่ยงด้านการลงทุน คือ การควบคุมโอกาสและจำานวนความเสีย หายที่อาจเกิดขึ้นจากการลงทุน โดยควบคุมไม่ให้ลงทุนในตราสารการเงินชนิดใดชนิด หนึ่ ง มากเกิ น ไป การบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นการลงทุ น จำา เป็ น ต้ อ งอาศั ย แบบจำา ลอง คณิต ศาสตร์เช่นเดียวกัน เพื่อ ประเมินมูล ค่าตราสารการเงิ น (Valuation Models) จากนั้นจึง ทำาการประเมินความเสี่ยง และนำาไปสู่การกำาหนดเพดานการขาดทุนเพื่อรักษาจำา นวน ขาดทุนให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ การตั้งเพดานเครดิตเพื่อไม่ให้ทำาธุรกรรมใดธุรกรรม หนึ่งเกินระดับที่กำา หนดไว้ การป้องกันความเสี่ยงแบบต่อเนื่อง การตั้งราคาผลิตภัณฑ์ ทางการเงิน การตั้งเงินสำารอง การกระจายเงินทุนสู่หน่วยงานต่างๆ เป็นต้น (Operational Risk) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ คือ ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน ของพนักงาน ความเสียหายนี้อาจเกิดจากเจตนา ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรืออาจเกิด จากความตั้งใจทุจริตเพือ ่ แสวงหาผลประโยชน์ นอกจากความเสี่ ยงหลั กๆ ทั้ ง 3 ประเภทนี้แล้ ว ยัง มีค วามเสี่ ยงประเภทอื่ นๆอี ก ได้แก่ - ความเสี่ยงด้านกฎหมาย (Legal Risk) - ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) - ความเสี่ยงจากแบบจำาลองคณิตศาสตร์ (Model Risk) - ความเสี่ยงด้านวินาศภัย (Disaster Risk) Risk modeling
เป็นการสร้างแบบจำาลองความเสี่ยง หรือ การสร้างสมการคณิตศาสตร์เพือ ่ อธิบาย ลักษณะและความเป็นไปของปัจจัยเสี่ยงในรูปแบบต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการลงทุน เช่น การอนุ มั ติ เ ครดิ ต ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า การวิ เ คราะห์ นั้ น ต้ อ งคำา นึ ง ถึ ง ปั จ จั ย ต่ า งๆ เช่ น ความ สามารถในการชำาระเงินกู้ การเปลี่ยนแปลงของอันดับความน่าเชื่อถือ ความรู้และความ เข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ปั จ จั ย ต่ า งๆเหล่ า นี้ จ ะทำา ให้ ก ารวิ เ คราะห์ ค วามเสี่ ย งด้ า นเครดิ ต มี ประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งในทางปฏิบัตินั้นไม่มีโมเดลไหนสามารถอธิบายพฤติกรรมปัจจัย เสี่ยงได้ถูกต้อ งและครบถ้วน จึงมีการกำา หนดสมมติฐานขึ้นมาว่าสถานการณ์ใดบ้างที่ สามารถใช้ โ มเดลได้ และแม้ ว่ า สมมติ ฐ านบางข้ อ จะผิ ด ไปจากความเป็ น จริ ง หรื อ แม้ กระทั่งตัวเลขที่ได้จากโมเดลมีค่าผิดพลาด แต่ก็ยังมีการใช้โมเดลกันอยู่ในปัจจุบันและมี อย่างแพร่หลาย เหตุผลที่สำา คัญเป็นเพราะโมเดลจะช่วยลดอคติในการตัดสินใจที่อาจมี ในตัวผู้ปฏิบัติงาน เนื่องจากผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้โมเดลร่วมกับประสบการณ์ในการ ตัดสินใจได้ หลังจากทราบระดับความเสี่ยงที่ประมาณด้วยโมเดลแล้ว นำา มาพิจารณา ความถูกต้องของสมมติฐานว่าสอดคล้องกับความจริงเพียงใด เรียกการตรวจสอบวิธีนี้
ว่า backtesting ถ้ากระบวนการตรวจสอบนี้รับรองโมเดล แสดงว่าค่าความเสี่ยงที่ประเมิน ได้จากโมเดลนั้นมีความน่าเชื่อถือ Credit risk modeling
มีโมเดลสำาคัญสำาหรับความเสี่ยงด้านเครดิตทั้งสิ้น 3 ชนิด คือ 1.credit rating สำาหรับแบ่งกลุ่มลูกค้าขนาดใหญ่ตามความเสี่ยง (corporate) 2.credit scoring สำาหรับแบ่งกลุ่มลูกค้ารายย่อยตามความเสี่ยง (consumer) 3.Economic capital model สำาหรับประเมินเงินทุนสำารองของลูกค้าที่ได้รับการอนุมัติสินเชื่อ credit rating
เครื่องมือที่ใช้ในการแบ่งเกรดลูกค้าขนาดใหญ่โดยใช้งบการเงินที่เชื่อถือได้ โดย จะจัดลำาดับลูกค้าที่มีคุณภาพจากดีสุดไปถึงตำ่าสุด ซึ่งการแบ่งว่าดีในที่นี้หมายถึง โอกาส ในการผิดชำา ระหนี้ตำ่า หรือ มีโอกาสล้มละลายตำ่า ในต่างประเทศได้มีการจัดอันดับจาก บริษัทต่างๆ เช่น Moody, S&P, Fitch และจะทำา การประกาศออกมาเป็นระยะๆ โดยจะใช้ ข้อ มูลทางการเงิน เศรษฐกิจ และการสัม ภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงในการจัดอันดับ แต่ เพราะวิธีการเก็บข้อมูลเหล่านี้ใช้เวลาและค่าใช้จ่ายสูง ทำาให้มีการเปลี่ยนแปลงที่มา เช่น ข้อมูลทางการเงินก็ดูจากงบการเงิน PD = f ( x1 , x 2 ,..., x n )
โดยที่ PD คือ โอกาสในการล้มละลาย (probability of default) xi คือ ข้อมูลการเงิน (อะไรก็ได้ที่ส่งผลกับธุรกิจ) วิธีการสร้างสมการนี้เป็นเรื่องซับซ้อน การจะได้โมเดลที่ดีนั้นขึ้นกับคุณภาพของ ข้ อ มู ล และวิ ศ วกรการเงิ น เป็ น หลั ก และเมื่ อ ผ่ า นวิ ธี ก ารที่ ซั บ ซ้ อ นนี้ แ ล้ ว จะช่ ว ยตอบ คำาถามอย่างน้อย 2 ข้อต่อไปนี้ คือ Probability of Default และ Market Segmentation เมื่อมีลูกค้าเข้ามา ระบบบริหารความเสี่ยงจะใช้ค่ า PD นี้ในการคำา นวณว่าลูกค้า รายนี้จะมีโอกาสที่จะไม่สามารถชำาระหนี้เท่าไหร่ ถ้าสูงเกินไปก็จะไม่อนุมัติสินเชื่อ ส่วน Market Segmentation มีการกำา หนดความเสี่ยงออกเป็นระดับต่างๆ กี่ระดับก็ได้แต่ ควรมีจำานวนมากพอ เพื่อแยกแยะลูกค้าที่มีความเสี่ยงสูงออกจากความเสี่ยงตำ่า และอาจ กำา หนดให้แต่ล ะอันดับมีความกว้างของ PD เท่าไรก็ได้ แต่ร วมกั นแล้วต้อ งเท่ากับ 100% เมื่อรู้ว่าลูกค้าที่กำา ลังเข้ามานั้นอยู่ในอันดับที่เท่าไร เราจึงสามารถจัดอันดับความเสี่ยง ของลูกค้าในพอร์ตทั้งหมด ทำาให้รู้ว่าควรปล่อยสินเชื่อในกลุ่มไหนมากขึ้น กลุ่มไหนเป็นก ลุ่มที่ต้องระวังและปล่อยให้น้อยลง โดยอาจทำาการวิเคราะห์ผลตอบแทนที่คาดหวังและ ระดั บ ความเสี่ ย งในระดั บ ที่ เ หมาะสม ด้ ว ยวิ ธี credit portfolio optimization ซึ่ ง มี ก ารกำา หนด เงื่อนไขต่างๆ สำาหรับการลงทุนไว้ Credit scoring เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ แ บ่ ง เกรดลู ก ค้ า ขนาดเล็ ก ที่ ไ ม่ มี ง บการเงิ น จะคำา นวณ score สำา หรับลูกค้าแต่ละราย เพื่อทำา การจัดลำา ดับลูกค้าที่มีคุณ ภาพดีสุดไปถึงตำ่า สุด เช่น การ อนุมัติบัตรเครดิต การอนุมัติสินเชื่อเงินกู้ซื้อบ้าน การอนุมัติสินเชื่อส่วนบุคคล เป็นต้น score = f ( x11 , x12 ,..., x1n , x 12 , x 22 ,..., x 2m ,..., x 1p , x 2p ,..., x kp )
โดยที่ score เป็นคะแนนของลูกค้า
xis เป็น attributes of characteristic I
attribute เป็นค่าที่บอกคุณลักษณะของลูกค้า ซึ่งอาจจะมีการกำาหนดคะแนนมาหนึ่ง ค่า เรียกว่า cutoff score หากลูกค้าผ่านระบบ scoring และมีคะแนนสูงกว่า cutoff score ก็จะอนุมัติ สินเชื่อให้ ในทางปฏิบัติไม่มีโมเดลไหนที่จะสามารถแยกลูกค้าดีกับลูกค้าไม่ดีออกจากกัน ได้อย่างสมบูรณ์ จึงมีการศึกษาถึงความผิดพลาดในการตัดสินใจ ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือ 1.Probability of Type-I error ยิ่งมีค่าสูงเท่าไร โอกาสที่จะไม่อ นุมัติสินเชื่อให้แก่ลูกค้าดียิ่งมีม ากขึ้ น ทำา ให้เสีย รายได้ที่ควรจะได้ 2. Probability of Type-II error ยิ่งมีค่ามากเท่าไร โอกาสที่จะอนุมัติสินเชื่อให้แก่ลูกค้าที่ไม่ดียิ่งมีมากขึ้น ทำา ให้มี หนี้เสียเพิ่มมากขึ้น โมเดลนี้ ส ามารถจั ด การเรื่ อ ง Market segmentation ได้ เ ช่ น เดี ย วกั บ credit rating คื อ เรา สามารถรวมลูกค้าที่มีคะแนนใกล้เคียงกันไว้ในกลุ่มเดียวกัน แต่ไม่สามารถตอบคำา ถาม เกี่ยวกับโอกาสที่ลูกค้าอาจล้มละลายได้ เนื่องจากเก็บเป็น score ไม่ใช่ค่า PD ในระบบความ เสี่ยงยุคใหม่ สถาบันการเงินต้องการทราบปริมาณเงินสำา รองสำา หรับลูกค้ารายย่อยซึ่ง คำานวณได้จาก Economic Capital Model Economic Capital Model (ECAPM)
เป็นโมเดลที่ใช้คำา นวณปริมาณเงินสำา รองที่คาดว่าจำา เป็นสำา หรับการทำา ธุรกิจ มี ขอบเขตการใช้ ง านที่ ก ระทบต่ อ หน่ ว ยงานต่ า งๆของสถาบั น การเงิ น อย่ า งกว้ า งขวาง สำาคัญมากที่สุดในบรรดา Credit Model ทั้ง 3 ชนิด โดยจะมี 2 วิธีการคำานวณคือ 1.Standard approach
เป็นวิธีที่ง่ายแต่ว่ามีข้อเสียในเรื่องที่ว่า จำานวนเงินทุนสำารองที่คำานวณได้จากวิธี นี้ไม่ได้สะท้อนเงินทุนสำารองที่สถาบันจะต้องมีจริงๆ เพราะวิธีนี้ไม่ได้นำาข้อมูลของลูกค้า มาใช้ จากวิธีการคำานวณด้านล่างนั้น จะเห็นได้ว่า Risk Weight Factor และตัวเลข 8% เป็น สิ่งที่ได้กำาหนดไว้ ไม่ได้ขึ้นกับแต่ละสถาบันการเงิน ดังนั้นตัวเลขที่คำานวณได้จึงมีไว้เพื่อ เป็นกฎระเบียบข้อบังคับ การนำาไปประเมินประสิทธิภาพการทำาธุรกิจ อาจไม่เหมาะสม วิธีคำานวณ 1.นำา Risk Weight Factor ไปคูณกับจำานวนเงินสินเชื่อของลูกค้าแต่ละราย 2.ได้ตัวเลข Risk Weighted Asset หรือสินทรัพย์เสี่ยง 3.นำาตัวเลขในข้อ 2 ของลูกค้าแต่ละรายมารวมกัน 4.คูณตัวเลขที่ได้จากข้อ 3 ด้วย 8% 5.ผลลัพท์ที่ได้คือ เงินทุนสำารองขั้นตำ่าที่สถาบันการเงินต้องตั้งสำารอง ธนาคาร econ ปล่อยสินเชื่อให้ 5 บริษัท มีรายละเอียด ดังนี้ บริษัท 1 มีอันดับความน่าเชื่อถือ AA กู้เงิน 1000 ล้านบาท บริษัท 2 มีอันดับความน่าเชื่อถือ AA- กู้เงิน 900 ล้านบาท บริษัท 3 มีอันดับความน่าเชื่อถือ A+ กู้เงิน 1100 ล้านบาท บริษัท 4 มีอันดับความน่าเชื่อถือ BB กู้เงิน 1200 ล้านบาท
บริษัท 5 มีอันดับความน่าเชื่อถือ B กู้เงิน 100 ล้านบาท ดังนั้น ธนาคารให้กู้ทั้งสิ้น 1000+900+1100+1200+100=4300 ล้านบาท ขั้ น แรก หาสิ น ทรั พ ย์ต ามความเสี่ ย งโดยการคู ณ จำา นวนเงิ น กู้ ด้ ว ย Risk Weight Factor และ เพราะเป็นการปล่อยกู้ให้แก่บริษัท ทาง BIS ได้กำาหนดตารางถ่วงนำ้าหนักไว้ ดังนี้
บริษัท 1 มีสินทรัพย์เสี่ยงเท่ากับ 20%x1000 ล้านบาท = 200 ล้านบาท บริษัท 2 มีสินทรัพย์เสี่ยงเท่ากับ 20%x900 ล้านบาท = 180 ล้านบาท บริษัท 3 มีสินทรัพย์เสี่ยงเท่ากับ 50%x1100 ล้านบาท = 550 ล้านบาท บริษัท 4 มีสินทรัพย์เสี่ยงเท่ากับ 100%x1200 ล้านบาท = 1200 ล้านบาท บริษัท 5 มีสินทรัพย์เสี่ยงเท่ากับ 150%x100 ล้านบาท = 150 ล้านบาท เพราะฉะนั้นมีสินทรัพย์เสี่ยงทั้งสิ้น 200+180+550+1200+150=2280 ล้านบาท ทาง BIS กำา หนดให้ใช้ 8% ของสินทรัพย์เสี่ยงเป็นปริม าณเงินทุ นขั้นตำ่า ดังนั้ น ธนาคาร ต้องมีเงินทุนสำารองอย่างน้อย 8% x 2280 ล้านบาท = 182.4 ล้านบาท 2.Internal Model Approach จุดมุ่งหมายของวิธีการนี้ คือ การจัดสรรเงินทุนและการวิเคราะห์ประสิทธิภาพใน การทำาธุรกิจ ตัวอย่าง software ที่นิยมใช้ได้แก่ CreditMetrics, CreditPortfolioView, และ CreditRisk ซึ่งวิธี การนี้ทางธนาคารจะเป็นผู้ทำาเอง Market Risk Modeling ความเสี่ยงด้านการลงทุนถือเป็นความเสี่ยงที่มีความสลับซับซ้อนมากที่สุด มักจะ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ผลิต ภั ณ ฑ์ ท างการเงิ น ที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ น เช่ น Bond, Forward หรือ Structured Note และเพราะความซับซ้อนนี้เอง ทำา ให้โมเดลที่ใช้มีหลากหลายชนิด แต่มี 2 โมเดลหลักคือ Value-at-Risk (VaR Model) และ Valuation Model
1.VaR Model เป็น การวิเคราะห์โอกาสที่ จ ะขาดทุนหากมีการลงทุนในผลิต ภัณ ฑ์ทางการเงิ น ชนิดใดชนิดหนึ่ง เนื่องจากมูลค่าของผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะถูกกำาหนดโดยสิ่งทีเรียกว่า Risk Factors เช่น อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน ราคานำ้ามัน โมเดลนี้จะพยายามวัดความเสี่ยง จากการเคลื่อนไหวของ Risk Factors เหล่านี้ หลักการของ VaR จะดูการกระจายตัวของกำาไรขาดทุน (P/L) ซึ่งคำานวณได้จากราคา ผลิตภัณฑ์ทางการเงินในวันที่ผ่านมาลบด้วยราคาต้นทุน โดยที่จะมีการกระจายตัวแบบ Normal Distribution จาก t =
x−µ ----> ต่อจากนั้นหาค่า x ออกมา σ
2. Valuation Model
การคำานวณมูลค่าของผลิตภัณฑ์โดยปกติจะใช้โมเดลนี้ ซึ่งจัดว่าเป็นเรื่องยากที่สุด ในบรรดาโมเดลที่มีใช้กันอยู่ ส่งผลให้การบริหารความเสี่ยงเป็นเรือ ่ งที่ยากตามมา เพราะ ต้อ งทำา ความเข้าใจในลักษณะของผลิต ภัณ ฑ์ และเรื่อ งของทฤษฎี การเงิ นที่ เกี่ ย วข้ อ ง รวมทั้งความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์ ประโยชน์ที่จะได้จากการคำานวณราคานั้น นอกจาก ที่จะช่วยคำา นวณค่า VaR แล้วยังช่วยในการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ซับซ้อน การออกแบบ กลยุทธ์หอ ้ งกันความเสี่ยง การวัดความเสี่ยง Operational Risk Modeling ปัจจุบันมีแบบจำาลองความเสี่ยงด้านการปฏิบัติมากมาย แต่วิธีที่มักจะใช้กัน ก็คือ การจัดการความเสี่ยงด้วยการสร้างแผนผังองค์กรและพิจารณาในแต่ละกระบวนการ ทำา งานว่า อะไรที่เ ป็น สาเหตุ ข องความเสี ย หาย จากนั้ น จึ ง หาทางป้ อ งกั น กำา หนดวิ ธี แก้ไข นอกจากนี้ควรมีการกระตุ้นให้พนักงานตระหนักถึงความสำา คัญในการให้ความ ร่วมมือในการป้องกันและแก้ไข อาจมีการใช้เทคโนโลยีด้าน Enterprise engineering มาช่วยใน การปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำางานของทั้งองค์กร แต่อุปสรรคที่สำา คัญคือ การขาดแคลนข้อมูล
มี ข้ อ สงสั ย ว่ า ระบบบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นการปฏิ บั ติ จ ะใช้ ง านได้ จ ริ ง หรื อ ไม่ เนื่อ งจากว่ าระบบนี้ ถู ก ออกแบบให้ ค วบคุม ดู แลพนั ก งานในองค์ ก รเป็น หลั ก แต่ ก รณี ศึกษาที่ผ่านๆมานั้น มักจะมีการกล่าวหาว่าผู้บริหารระดับสูงมีส่วนเกี่ยวข้องด้วย ดังนั้น หากระบบควบคุมนี้ไม่สามารถบังคับผู้บริหารระดับสูงได้ ก็ไม่อาจป้องกันความเสียหายที่ อาจเกิดขึ้นได้