Mould Boy จากพื้นผิวสีขาวของปูนซีเมนต์ขาว และการจัดแสงในลักษณะพิเศษ ประสบการณ์ในการรับรู้รูปทรง ในแบบที่แตกต่างจากที่เคยเป็น กำาลังจะเกิดขึ้น ผศ.ดร. เถกิง พัฒโนภาษ มีงานประจำาเป็นผู้ช่วยคณบดี ฝ่าย วิจั ย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์ม หาวิ ทยาลั ย กับ สอนและ ทำางานวิจัยเกี่ยวกับการออกแบบที่ ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม เกือบ 10 ปีแล้ว ที่เถกิงทำาวิจัยเกี่ยวกับ รูปทรงเว้า(concavity) ซึ่งตรงข้ามกัน กับรูปทรงนูน(convexity) ที่เราพบได้บ่อยกว่าในชีวิตประจำา วัน ใน ขณะที่คนส่วนใหญ่มักว่ามองเห็นสิ่งต่างๆมีอยู่ ผ่านรูปทรง ภายนอกที่ห่อหุ้ม มวลไว้ภายใน เถกิงเสนอให้เรามองในมุมกลับ ผ่านพื้นผิวที่เว้าลึกที่เผยให้เห็น ร่ อ ง ร อ ย ภ า ย ใ น งานของเขาเปรียบเหมือนฝักถั่วที่ไม่เหลือเมล็ดอยู่ในนั้นแล้ว แต่ เขาใช้แสงเป็นสื่อช่วยให้เขานำาภาพของเมล็ดถั่วกลับเข้ามาลวงคนดูให้เห็นรูปทรง 3 มิติลอยเด่นขึ้นมาจากฝักถั่วที่ว่างเปล่า ได้อย่างน่าประหลาดใจ “ผม บัญญัติคำาว่า counter-form illusion นี้ขึ้นมาใช้เรียกรูปทรงในงาน ของผมทีมี ลัก ษณะตรงข้ามกับ รูป ทรงที่เราคุ้น เคย (counter form) ประติมากรรมของผมมี ลัก ษณะคล้า ยกับแม่พิมพ์ของรูป ทรงที่เราคุ้นเคย” “ตอนแรกคุณอาจจะเห็นแค่รูปทรงที่เว้าเข้าไป แต่เมื่อ ตาของคุณปรับการรับรู้ได้ คุณจะเห็นรูปทรงนูน 3 มิติลอยออกมาจากความเว้านั้น แต่ละคนใช้เวลาปรับ การรับรู้ให้เห็นภาพลวงตานี้ได้ ไม่เท่ากัน บางคนอาจต้องดูงานผมนานถึง ครึ่งชั่วโมง จึงจะเริ่มเห็นว่ามีอะไรซ่อนเนียนอยู่ในนั้น พอเห็นแล้วบางคนก็ตะลึง ข น ลุ ก ไ ป ก็ มี ” จ า ก ที่ เ ค ย ใ ช้ fiibreglass แ ล ะ water-based polymer เป็นวัสดุหลัก เถกิงสร้างงานชิ้นใหม่ของเขาด้วยวัสดุที่เขาไม่เคย ใช้มาก่อน “ผมอยากลองสร้างงานด้วยซีเมนต์มาตั้งแต่สมัยทำาวิจัยที่อังกฤษ แต่ Professor Andrew Stonyer ครูของผมห้ามไว้ เพราะครูแก รู้ดีว่างานของผมจำา เป็นต้องควบคุมรายละเอียดแทบทุก ตารางมิล ลิเมตร” “นี่จึงเป็นครั้งแรกที่ผมลองใช้ ซีเมนต์ขาว และพอทำาเข้าจริงๆ แล้ว ผมกลับ พบว่าวัสดุนี้ควบคุมรายละเอียดบนชิ้นงานได้ง่ายกว่าโพลีเมอร์ (ถ้ามีผู้ช่วย คอยผสมซีเมนต์ให้กับคอยช่วยออกแรงยกชิ้นงานซึ่งหนักกว่าเดิมพอดู)” จะทำา อย่ า งไร ? เมื่ อ ต้ อ งทำา งานกั บ ซี เ มนต์ ข าว ในขณะที่ ประติมากรรมของเถกิงมักเป็นแผ่นค่อนข้างบางเพื่อช่วยให้สะดวกเวลาปรับการ ติด ตั้ง ชิ้น งานใน installation ให้สั มพั นธ์ กับ แสงและมมมองของคนดู เถกิงแก้ปัญหาโดยเสริมไฟเบอร์กลาสและเส้นพลาสติกแข็งเข้าทั่วชิ้นงานขนาด 50x33 นิ้ว ช่วยให้ประติมากรรมซีเมนต์ขาวชิ้นนี้ หนาเพียง 2 เซนติเมตร เ ท่ า นั้ น และเขาใช้ ซี เ มนต์ ข าวสร้ า งสรรค์ ผิ ว สั ม ผั ส (texture) ให้ สัมพันธ์กับแสงที่ปรับแต่งอย่างละเอียด ช่วยให้สร้าง counter-form
ได้ง่ายขึ้น “แต่ก่อนผมมีปัญหาว่าผิวของงานดูดซับแสงได้ไม่ดี พอ ไม่ว่าผมจะ treat ผิวชิ้นงานดีแค่ไหน มันก็ยังแอบสะท้อนแสงในบางมุมที่ ผมคุ ม ไม่ ไ ด้ ” “แต่ กั บ ซี เ มนต์ ข าว ผมสามารถทำา surface treatment ได้หลายขั้น ตั้งแต่ตอนที่ซีเมนต์เริ่มเซ็ทตัว ผมก็สามารถขูด ขีดลงไปบนผิวคล้ายทำา แรเงาหรือ drawing หรือใช้วิธีที่วิศวกรส่ายหัว เช่น แกะสลักซีเมนต์ขาวด้วยเครื่องมือสลักหิน เพื่อสร้าง texture หยาบ แต่ควบคุม form ได้แม่นยำา บางจุดผมก็ขัดด้วยหินชิ้นเล็กๆให้เรียบคล้าย terrazzo ทั้ ง หมดนี้ ช่ ว ยให้ ไ ด้ พื้ น ผิ ว ที่ ส ามารถ absorb และ diffuse แ ส ง ไ ด้ อ ย่ า ง ใ จ ผ ม ” งานส่วนใหญ่ ข องเถกิง มั ก จะมาพร้ อมกั บ ความเรี ย บกริบ ที่ นั ก วิจารณ์ชาวตะวันตกบอกเขาว่ามี ลั กษณะ “high finish” แต่ภายใต้ ความเรียบนิ่งนี้ Mould Boy (1/2006) กลั บแฝงความหมายซับ ซ้ อ น ซ่ อ นอยู่ ใ นทุ ก อณู ข องพื้ น ผิ ว สี ข าวของรู ป ทรงที่ เ ริ่ ม จากการ หล่อ(mould)ท้องของว่าที่คุณแม่ในช่วงเวลาก่อนวันคลอดเพียง 2 วัน ด้วยปูนพลาสตอร์บางๆเสริมแรงด้วยผ้าก๊อซเบาๆ เขาพบว่าท้องที่หล่อขึ้น มานั้น มีสะดือซึ่งเป็นองค์ประกอบเดียวที่เด่นขึ้นมาจากพื้นผิวเรียบของรูปครึ่ง ทรง(เกือบ)กลมของท้อง “ก่อนเอาท้องที่หล่อไว้แล้วนานก่อนหน้านี้มาทำา เป็นประติมากรรมผมกลัวว่ามันจะเหมือนลูกปิงปองยักษ์ครึ่งซีกที่มีสะดืออยู่ ตรงกลาง” “ผมก็เลยตัดต่อให้สะดือให้เคลื่อนไปจากศูนย์กลางของชิ้น งาน ผลที่ได้ก็คือคนดูรู้สึกเหมือนกับมีพลังบางอย่างพยายามดิ้นรนออกมา จากท้องกลมๆนี้ ออกมาจาก space ข้างใน เมื่อผนวกกับพื้นผิวที่เรือง แสงขึ้ น ด้ ว ยมี แ สงนวลสมำ่า เสมอ ปรากฏการณ์ ทั้ ง หมดนี้ ก็ จ ะทำา ให้ counter-form ในประติม ากรรมนี้ นู นลอยเเด่นขึ้นมาจากพื้น ที่ร อบๆ” Mould Boy (1/2006) เป็นการบันทึกความทรงจำาดีๆที่ นำาไปสู่ความเรืองรองของชีวิตใหม่ แต่ก็มีที่ว่างเหลือมากพอให้ ที่รอให้คนดู “อ่าน”งานชิ้นนี้ได้ตามใจ ผลที่ได้จึงกลายเป็นสุนทรียภาพที่เกิดจากความ กำา ก ว ม illusion
ติ ด ตามงานของเถกิ ง ได้ จ าก www.be-focused.blogspot.com ปีหน้าเถกิงได้รับเชิญให้ร่วมแสดงงานที่ Shanghai Studio ในประเทศจีน และ จะมีนิทรรศการเกี่ยวกับ light & space ร่วมกับเพื่อนศิลปินจากสิงคโปร์ ที่ Art Center แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมาณเดือนสิงหาคม 2550