MODULE 7 • บทที่ 19, 20
โครงสร้างรหัสตำาแหน่งบาดแผล รหัส S • • • • • • • • • •
S0 S1 S2 S3 S4 S5 S6 S7 S8 S9
ศีรษะ ลำาคอ ทรวงอกและหลังท่อนบน ท้อง, เชิงกรานและหลังท่อนล่าง หัวไหล่และแขนท่อนบน ข้อศอกและแขนท่อนล่าง ข้อเท้า เท้าและนิว้ เท้า สะโพกและขาท่อนบน เข่าและขาท่อนล่าง ข้อเท้า, เท้าและนิ้วเท้า
โครงสร้างรหัสตำาแหน่งที่สาม บอกลักษณะบาดแผล • • • • • • • • • •
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
บาดเจ็บชั้นผิว(Superficial Injury) บาดแผลเปิด(Open Wound) กระดูกหัก(Fracture) บาดเจ็บต่ออวัยวะภายใน บาดเจ็บต่ออวัยวะภายใน บาดเจ็บต่ออวัยวะภายใน บาดเจ็บต่ออวัยวะภายใน บาดเจ็บแบบบดขยี(้ Crushing) การขาดของอวัยวะ(Amputation) บาดเจ็บไม่ทราบประเภทของแผล(Unspecified)
ลักษณะโครงสร้างรหัส S สามตัวแรก ลงท้ายด้วย 2 • • • • • • • • • •
S02 S12 S22 S32 S42 S52 S62 S72 S82 S92
กระดูกหักบริเวณกระโหลกศีรษะ กระดูกหักบริเวณคอ กระดูกหักบริเวณทรวงอก กระดูกหักบริเวณเชิงกราน กระดูกหักบริเวณไหล่ และแขนท่อนบน กระดูกหักบริเวณข้อศอกและแขนท่อนล่าง กระดูกหักบริเวณข้อมือ มือ และนิ้ว กระดูกหักบริเวณสะโพก ต้นขา กระดูกหักบริเวณเข่า ขาท่อนล่าง กระดูกหักบริเวณข้อเท้า เท้า นิ้วเท้า
รหัสตำาแหน่งที่ 5 ในบทที่ 19 • มักพบในรหัสที่ขึ้นต้นด้วยอักษร S มากกว่า T • เป็นเลข 0 หรือ 1 • บ่งบอกถึงการมีบาดแผลเปิดจากภายนอกเข้าสู่ภายใน หรือไม่ –0 ไม่มีแผลเปิด –1 มีแผลเปิด • อธิบายไว้ในคำาอธิบายกลุ่มรหัส
รหัสที่ขึ้นต้นด้วยอักษร T ในบทที่ 19 • การบาดเจ็บหลายตำาแหน่ง (ไม่ควรนำามาใช้) • แผลถูกความร้อนหรือสารกัดกร่อน • การได้รับพิษจากยาหรือสารเคมี • ภาวะแทรกซ้อนหรือผลข้างเคียงในการรักษาโรค
รหัสสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บ • รหัสกลไกการบาดเจ็บ ต้องใช้คู่กับรหัสบทที่ 19 เสมอ • การจัดกลุ่มกลไกการบาดเจ็บ – อุบัติเหตุ จากการใช้ยานพาหนะ V00-V99 – อุบัติเหตุ ประเภทอื่น W00-W99, X00-X59 – ฆ่าตัวตาย X60-X84 – ถูกทำาร้าย X85-Y09 – ไม่ทราบกลไก Y10-Y34 – บาดเจ็บจากสงคราม,การรักษา, อื่นๆ Y35-Y99
โครงสร้างรหัสอุบัติเหตุจากการใช้ย านพาหนะ • รหัสสองตัวแรก บอกว่าผูบ้ าดเจ็บใช้ยานพาหนะชนิดใด • รหัสตัวที่สาม บอกว่าชนกับยานพาหนะชนิดใด • รหัสตัวที่สี่ บอกว่า ผูบ้ าดเจ็บอยู่ในตำาแหน่งไหน ของยานพาหนะ (ขับขี่ หรือโดยสาร) • รหัสตัวที่ห้า บอกกิจกรรมที่ผู้บาดเจ็บกำาลังจะ เดินทางไปทำา ขณะเกิดอุบัติเหตุ
โครงสร้างรหัสอุบัติเหตุจากการใช้ยานพาหนะ • • • • • • • • • •
V0 V1 V2 V3 V4 V5 V6 V7 V8 V9
คนเดินถนน จักรยาน (สองหรือสามล้อ) จักรยานยนต์ สามล้อเครื่อง รถยนต์สี่ล้อ รถปิคอัพ, รถตู้ รถบรรทุก รถขนส่งขนาดหนัก รถที่จัดทำาเป็นพิเศษ ไม่ทราบประเภทยานพาหนะ
รหัสตำาแหน่งที่ 4 ของอุบัตเิ หตุจากยานพาหนะ(V) • บอกตำาแหน่งในยานพาหนะ และประเภทของอุบัติเหตุ • บรรยายไว้ในคำาอธิบายต้นหมวด • ต้องใช้ความละเอียดในการให้รหัส และอาจต้องหา ข้อมูลเพิ่มเติม ในกรณีทแี่ พทย์ ไม่สรุปกลไกการบาดเจ็บ อย่างละเอียด
รหัสตำาแหน่งที่ 5 ของอุบัติเหตุจากยานพาหนะ(V) • บอกกิจกรรมที่ผู้บาดเจ็บกำาลังจะเดินทางไปกระทำา • บรรยายไว้ในคำาอธิบายต้นบท หน้า 1017-1018 • ต้องใช้ความละเอียดในการให้รหัส และอาจต้องหาข้อมูลเพิ่มเติม ในกรณีที่แพทย์ไม่สรุปกลไกการบาดเจ็บอย่างละเอียด
การสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม • ต้องหารายละเอียดให้ครบ –ชนิดและตำาแหน่งของบาดแผล –ผู้ปว่ ยได้รับบาดเจ็บมาอย่างไร • แหล่งข้อมูลได้แก่ บันทึกการพยาบาล บันทึกห้องฉุกเฉิน ผลการตรวจพิเศษต่างๆ
การแปลงกลไกการบาดเจ็บเป็ นภาษาอังกฤษ • ตกต้นไม้ ต้องแปลงเป็นคำาว่า Fall From Tree • โดนแก้วบาด ต้องแปลงเป็นคำาว่า Contact with Sharp Glass • ถูกแทง ต้องแปลงเป็นคำาว่า Stab • กินยา Aspirin ฆ่าตัวตาย ต้องแปลงเป็นคำาว่า Intentional Self-harm by Aspirin
กลไกการบาดเจ็บหลัก • • • • • •
อุบัติเหตุ ถูกทำาร้าย ถูกกระทบ,บาด ฆ่าตัวตาย ตกจากทีส่ ูง,หกล้ม Fall จมนำ้า Drowning • ไฟไหม้, นำ้าร้อนลวก • บาดเจ็บจากสงคราม,จลาจล Legal
Accident Assault Contact Suicide Drowned, Burn War Operation, Intervention
ตารางยาและสารเคมี • มีชื่อยาเรียงตามลำาดับตัวอักษร และรหัส บทที่ 19 ที่แสดง การได้รับพิษจากยาหรือสารเคมีชนิดนั้น • มีสดมภ์ แสดงรหัสสาเหตุภายนอกของการได้รับพิษจากยา – สดมภ์ 3อุบตั เิ หตุจากการใช้ยา – สดมภ์ 4ตัง้ ใจทำาร้ายตัวเองโดยการใช้ยา – สดมภ์ 5ไม่ทราบสาเหตุ – สดมภ์ 6ผลข้างเคียงหรือแทรกซ้อนจากการรักษา • รหัสยังไม่สมบูรณ์ ต้องหารหัสตำาแหน่งที่ 4 และ 5 ต่อจากเล่ม 1
รหัสตำาแหน่งที่ 4 ของ W00-Y3 • รหัสสถานที่เกิดเหตุ Place of Occurrence Code • หน้า 1013 ของหนังสือเล่มที่ 1 • ใช้กับรหัส W00-Y34 ยกเว้น Y06-Y07 • แตกต่างกับรหัสตำาแหน่งที่ 4 ของรหัส V00-V99
รหัสตำาแหน่งที่ 5 ของ W00-Y3 • บอกกิจกรรมที่ผู้บาดเจ็บทำาอยู่ขณะเกิดเหตุ • บรรยายไว้ในคำาอธิบายต้นบท หน้า 1017-1018 • ต้องใช้ความละเอียดในการให้รหัส และอาจต้องหาข้อมูลเพิ่มเติม ในกรณีที่แพทย์ไม่สรุปกลไกการบาดเจ็บอย่างละเอียด • ใช้รหัสชุดเดียวกับ V00-V99
การใช้รหัสบทที่ 19, 20 • MAIN CONDITION โรคหลัก – ใช้รหัสบทที่ 19 เป็นโรคหลัก – ใช้รหัสบทที่ 20 เป็นโรคอืน่ ๆ • UNDERLYING CAUSE OF DEATH สาเหตุการตาย – ใช้รหัสบทที่ 20 เป็นสาเหตุการตาย – ใช้รหัสบทที่ 19 เป็นโรคอืน่ ๆ
• • •
กระดุมหลุดเข้าไปค้างอยู่ในรูหู กลืนเข็มกลัดเข้าไปติดที่หลอดอาหาร ขี่มอเตอร์ไซค์ชนกับรถบรรทุกสิบล้อมีกระโหลกศีรษะร้าวร่วมกับมี เลือดออกในช่องเยื่อหุ้มสมอง
• แจ๊คนั่งเรือไททานิคแล้วเรือชนกับภูเขานำำาแข็งกลางมหาสมุทรเสียชี วิตจากแช่อยู่ในนำำาทะเล(hypothermia) • ท่านชายรองถูกวางยาเบื่อหนู(rodenticide)เสียชีวิต • นายแพทย์ลืมกรรไกรตัดไหมไว้ในท้อง
• • • •
ตรวจสุขภาพก่อนไปทำางานที่ประเทศไต้หวัน ต้องการตรวจเอกซเรย์เต้านมเพื่อเช็คหามะเร็งในระยะเริ่มแรก มาตรวจตามนัดแพทย์หลังจากผ่าตัดไส้ติ่งเมื่อ ๒ อาทิตย์ก่อน
มาตรวจตามนัดแพทย์หลังจากแพทย์ให้ยาเคมีบำาบัดเพื่อรักษามะเร็ง เม็ดเลือดขาว • มาเข้าคลินิคเพื่อฝึกการพูดทางหลอดอาหาร(esophageal voice speech therapy)หลังการผ่าตัดเอากล่องเสียงออกเนื่องจากมะเร็ง • ญาติมาขอซือำ ยาความดันโลหิตสูงให้ผู้ป่วย