Module 4

  • Uploaded by: peterkop
  • 0
  • 0
  • December 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Module 4 as PDF for free.

More details

  • Words: 1,251
  • Pages: 53
MODULE 4 • บทที่ 5 - 10

บทที่ 5

Mental and behavioural disorder โรคทางจิตเวชและความผิดปกติของ พฤติกรรม (F00-F99) เล่ม 1 หน้า 311

รวม:

ความผิดปกติของพัฒนาการทาง จิตใจ ไม่รวม : อาการ,อาการแสดง และความผิด ปกติทางคลินิก และห้องปฏิบัติการ (R00-R99)

แบ่งออกเป็น 11 Block คือ F00-F09 F10-F19 F20-F29 F30-F39 F40-F48 F50-F59

ความผิดปกติทางจิตใจที่มีสาเหตุจากโรคทางกาย ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรมเนื่องจาก การใช้วัตถุออกฤทธิต์ ่อจิตประสาท จิตเภท, พฤติกรรมแบบจิตเภท และความหลงผิด ความผิดปกติทางอารมณ์ โรคประสาท ความเครียด และอาการทางกายที่ เกิดจากจิตใจ ความผิดปกติของพฤติกรรม ที่เกี่ยวเนื่องจาก ความผิดปกติทางร่างกายและสรีรวิทยา

F60-F69 F70-F79 F80-F89 F90-F98 F99

ความผิดปกติของพฤติกรรม และบุคลิกภาพ ในผู้ใหญ่ ภาวะปัญญาอ่อน ความผิดปกติของพัฒนาการทางจิตใจ ความผิดปกติทางพฤติกรรมและอารมณ์ที่เริ่ม ในเด็ก และวัยรุ่น กลุ่มอาการผิดปกติทางจิตใจที่ไม่ได้ระบุ

จุดที่สำาคัญในบทที่ 5 •กลุ่มที่มีเครื่องหมายดอกจันในบทนี้ได้แก่ F00* สมองเสื่อม(dementia)จากโรคอัลไซเมอร์ F02* สมองเสื่อม(dementia)จากโรคอื่นๆที่ระบุไว้แล้ว •แต่ละรหัสจะมีคำาอธิบายอย่างละเอียดทั้งที่ต้น Block และ ในรหัสนั้นเอง

• มีการเน้นทั้งความผิดปกติของพฤติกรรม(Behavioral disorder)และความผิตปกติของจิตใจ (Mental disorder) • Block F00-F09 รวม organic mental disorder คือความผิดปกติทั้งหลายที่เป็นผลจากโรค ทางกาย เช่น dementia in Alzheimers disease

• Block F10-F19 รวม ความผิดปกติที่เกิดจากการใช้ สารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและสารอื่นๆ โดยรหัส 3 หลักแรกบอกถึงสารที่ใช้ คือ -F10 -F11 -F12 -F13 -F14 -F15 -F16

Alcohol สารกลุม่ ฝิ่น เฮโรอีน กัญชา ยานอนหลับ และ sedative โคเคน สารกระตุ้น รวมทั้ง Caffeine hallucinogen สารที่ทำาให้เกิดประสาทหลอน เช่น LSD เห็ดเมา

-F17 -F18 -F19

ยาสูบ สารระเหยต่าง ๆ ถ้าใช้สารหลายอย่างหรือวัตถุออกฤทธิ์อย่างอื่น

ส่วนรหัสตัวที่ 4 บอกถึงลักษณะทางคลินิกหรืออาการที่แสดงออก ดูหน้า 320 - 323 ประกอบในการให้รหัส หลักที่ 4

.0 สำาหรับ Acute intoxication คือได้รับสารมากไปจน เป็นพิษ เฉียบพลัน .1 สำาหรับ Harmful use ใช้แบบที่ทำาให้เกิดผลร้ายต่อ ร่างกายตามมา .2 สำาหรับการติดยาหรือติดเหล้าทำาให้ต้องเสพประจำา .3 สำาหรับอาการขาดยาเช่นอาการลงแดงในการขาด เฮโรอีน .4 สำาหรับอาการขาดยาแล้วคลุ้มคลั่ง อาจมีอาการชัก .5 สำาหรับความผิดปกติทางจิตที่ไม่ได้เป็นแบบ intoxication คือเป็นพิษ เฉียบพลันหรือแบบอาการขาด ยา เช่นมีอาการประสาทหลอน หลงผิด .6 สำาหรับกลุ่มอาการหลงลืม จำาอะไรไม่ค่อยได้แบบเรือ้ รังจากเหล้าหรือยา .7 สำาหรับอาการที่ยังเกิดขึ้นถึงแม้ยาจะหมดฤทธิ์ไปแล้ว .8 สำาหรับความผิดปกติแบบอื่น .9 ถ้าไม่มีระบุไว้ในเวชระเบียนว่าเป็นแบบไหน

ตัวอย่าง: - คนไข้ติดบุหรี่ มาขอเข้าคลินิกอดบุหรี่ก็ให้รหัส F17.2 - นักศึกษาถูกรุ่นพี่กรอกเหล้าตอนรับน้องใหม่มากไปมีอาการ อาเจียรมากไม่ค่อยรู้ตัวใช้รหัส F10.0 – Chronic alcoholism F10.2 – เมายาบ้าคุ้มคลั่ง F15.5 - ถ้าได้ยาหรือสารเหล่านี้โดยอุบัติเหตุหรือโดยถูกบังคับ ให้ไป ดูรหัส T36-T50 ในบทที่ 19 และต้องให้รหัสสาเหตุใน บทที่ 20 ด้วย

บทที่ 6 Diseases of the nervous system โรคระบบประสาท (G00-G99)เล่ม 1 หน้า 389

ไม่รวม : •ภาวะบางอย่างทีเ่ กิดขึ้นในระยะperinatal(P00-P96) เช่น P11.- Other birth injuries to CNS P14.- Birth injury to peripheral NS

•โรคติดเชื้อและปาราสิต (A00-B99)เช่น

A80-A89 -Viral infections of CNS B00.4 -Herpesviral encephalitis B02.1 -Zoster meningitis B22.0 -HIV disease resulting in encephalopathy

•Complication of pregnancy, childbirth and thepuerperium (O00-O99) เช่น O26.8 - Peripheral neuritis,pregnancyrelated

•ความผิดปกติแต่กำาเนิด ความพิการ และโครโมโซมผิดปกติ (Q00-Q99)เช่น

Q00-Q07 Congenital malformations of the nervous system •โรคต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมตะบอลิซึม (E00-E90)เช่น E11.4 Diabetic polyneuropathy E51.2 Wernicke’s encephalopathy

•การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลจากเหตุภายนอกอื่นๆ (S00-T98)เช่น

S04.- Injury of cranial nerves S06.- Intracranial injury •เนื้องอก (C00-D48)เช่น C71.- Malignant neoplasm of brain D33.- Benign neoplasm of brain and other part of CNS

•อาการ อาการแสดง และความผิดปกติทางคลินิก และ ตรวจในห้องปฏิบตั ิการ ไม่ได้ระบุไว้ที่ใด (R00-R99)เช่น

R25-R29 Symptoms and signs involving the nervous and musculoskeletal systems

แบ่งออกเป็น 11 Block คือ G00-G09 G10-G13 G20-G26 G30-G32 G35-G37 G40-G47 G50-G59

Inflamatory diseases of CNS Systemic atrophies ที่มีผลต่อ CNS Extrapyramidal and movementdisorders Other degenerative of NS Demyelinating dis. of the CNS ความผิดปกติที่เกิดขึ้นและเกิดเป็นครั้งคราว ความผิดปกติของเส้นประสาทรากประสาท และ ปมประสาท

G60-G64 โรคที่เป็นกับเส้นประสาทหลายเส้นและระบบ ประสาทส่วนปลาย G70-G73 โรคของกล้ามเนื้อตรงรอยเส้นประสาท และ กล้ามเนื้อ G80-G83 สมองพิการและกลุม่ อาการอัมพาต G90-G99 โรคอื่น ๆ ของระบบประสาท

จุดที่สำาคัญในบทที่ 6 • กลุ่มที่มีเครือ่ งหมายดอกจันในบทนี้มีมากถึง 16 รหัส ดูเล่ม 1 หน้า 389-390และในเอกสารประกอบ จะต้องหารหัส สาเหตุ(Dagger) มาลงด้วยเสมอห้ามลงรหัสดอกจันเดี่ยว ๆ • บทนี้มีรหัสทั้ง central และ peripheral nervous systems. • G00-G09 รวบรวมโรคติดเชื้อของระบบประสาท ให้ถือว่า meningioencephalitis and meningiomyelitis รวมอยู่ด้วยใน encephalitis, myelitis และncephalomyelitis • G40-G47 เน้นความผิดปกติที่เกิดเป็นครั้งคราว เช่น epilepsy , migraines และ sleep disorders.

• รหัสอัมพาต (เล่ม 1 หน้า 421) G81.- Hemiplegia G82.- Paraplegia and tetraplegia แพทย์หรือพยาบาลควรบันทึกว่าเป็นชนิด Flaccid หรือ Spastic จะได้รหัสที่ชัดเจนกว่าไม่ใช่ unspecified ซึ่งแสดงถึงคุณภาพ ในการแยกโรคไม่ดี นอกจากนัน้ ไม่ควรใช้รหัสอัมพาตเป็น โรคหลัก ยกเว้นไม่มีข้อมูลอื่น หรือบอกว่าเป็นมานานแล้ว และ ไม่ทราบสาเหตุ มักใช้เป็น รหัสเสริมมากกว่าเพือ่ บอกว่าเป็นผลจากสาเหตุต่างๆ

บทที่ 7 Disease of the eye and adnexa โรคของตาและส่วนประกอบของตา (H00-H59)เล่ม 1 หน้า 429

มีโรคตาที่มีรหัสอยู่ในบทอื่นเป็นจำานวนมาก • ภาวะบางอย่างในระยะ perinatal(P00-P96) เช่น P15.3 บาดเจ็บจากการคลอดที่มีผลต่อตา P39.1 เยื่อบุตาอักเสบและถุงนำ้าตาอักเสบในทารกแรกเกิด • โรคติดเชื้อและปรสิต (A00-B99) เช่น A18.5 Tuberculosis of eye A54.3 Gonococcal infection of eye

• Complication of pregnancy, childbirth and the puerperium ให้ใช้ O99.8 สำาหรับโรคตาใดๆก็ตามที่เป็นขึน้ มาขณะ ตั้งครรภ์ คลอด หรือระยะหลังคลอดดูเล่ม 3 หน้า 451 Pregnancy - complicated by - - conditions in - - - H00-H95, O99.8

• ความผิดปกติแต่กำาเนิด ความพิการ และโครโมโซมผิดปกติ รหัส Q10.- ถึง Q15.- รวมความผิดปกติของตาแต่กำาเนิด ไว้ทั้งหมด • Endocrine, nutritional and metabolic disease(E00-E90) เช่น E50.4 Vitamin A deficiency with keratomalacia

• การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลจากเหตุภายนอกอื่นๆ (S00-T98) เช่น S05.- Injury of eye and orbit T15.- Foreign body on external eye T26.- Burn and corrosion confined to eye and adnexa T90.4- Sequelae of injury of eye and orbit

• เนือ้ งอก (C00-D48) เช่น C69.-Malignant neoplasm of eye and adnexa D31.- Benign neoplasm of eye and adnexa • อาการ อาการแสดง และความผิดปกติทางคลินิก และตรวจใน ห้องปฏิบตั ิการไม่ได้ระบุไว้ที่ใด(R00-R99) เช่น R44.1 Visual hallucinations

แบ่งออกเป็น 11 Block คือ H00-H06 ความผิดปกติของหนังตา, ระบบนำ้าตาและเบ้าตา H10-H13 ความผิดปกติของเยื่อบุตา H15-H22 ความผิดปกติของตาขาว, กระจกตา, ม่านตา และ ซีเลียรีบอดี้ H25-H28 ความผิดปกติของเลนส์ H30-H36 ความผิดปกติของคอรอยด์และเรตินา H40-H42 ต้อหิน H43-H45 ความผิดปกติที่วุ้นตาและลูกตา

H46-H48 ความผิดปกติของประสาทตาและเส้นทางของ ประสาทที่เกี่ยวกับการมองเห็น H49-H52 ความผิดปกติของกล้ามเนื้อตา, การกลอกตา, การเพ่งมองและสายตา H53-H54 ความผิดปกติของการมองเห็นและตาบอด H55-H59 ความผิดปกติอื่นของตาและส่วนประกอบ

จุดที่สำาคัญในบทที่ 7 • กลุ่มที่มีเครื่องหมายดอกจันในบทนี้มีถึง 12 รหัส (ดูเล่ม 1 หน้า 429 และในเอกสาร)การที่มเี ครื่องหมายดอกจัน จำานวนมากในบทนีแ้ สดงว่า มีโรคอื่นจำานวนมากที่มาแสดงอาการ ผิดปกติที่ตา จะต้องหารหัสโรคที่เป็นสาเหตุมาให้ได้แล้วลง เป็นรหัสคู่ห้ามใช้รหัสที่มีเครื่องหมายดอกจันเดี่ยว ๆ เช่น Vitamin A deficiency with keratomalacia ให้ลงรหัสคู่เป็น

E50.4, H19.8*

• Secondary glaucoma ต้อหินที่มีสาเหตุมาจากอย่างอื่น ในรหัส H40.3, H40.4, H40.5 และ H40.6 ควรหารหัสสาเหตุมาประกอบด้วย • รหัส H54.- Blindness and low vision ต้องดูตาราง ในหน้า 457 เล่ม 1 ประกอบด้วยจึงให้รหัสได้ถูกต้อง

บทที่ 8 Diseases of the ear and mastoid process โรคของหูและปุ่มกกหู (H60-H95)เล่ม 1 หน้า 459

ไม่รวม :

• ภาวะบางอย่างที่เกิดขึน้ ในระยะปริกำาเนิด (P00-P96) เช่น Birth injury to face ซึ่งรวมใบหูด้วยอาจให้รหัส P15.4 • โรคติดเชื้อและปรสิตบางโรค (A00-B99) การติดเชื้อของหูที่ทราบชื่อเชื้อจะได้รหัสสาเหตุ(Dagger) ในกลุ่มโรคติดเชื้อส่วนรหัสดอกจันจะอยู่ในบทที่ 8 นี้ • ภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์, การคลอดและระยะหลังคลอด (O00-O99) เช่นการอักเสบติดเชื้อของหูระยะตั้งครรภ์ฯ ให้รหัส O98.8

• รูปร่างผิดปกติมาแต่กำาเนิด, การพิการจนผิดรูปและโครโมโซมผิดปกติ (Q00-Q99) เช่น Q16.- Congenital malformation of ear causing impairment of hearing Q17.- Other congenital malformation of ear

• การได้รบั บาดเจ็บ, การเป็นพิษและผลที่ ตามมาเหตุจากภายนอก (S00-T98) เช่น Injury of ear (auricle)(external)(canal) ให้รหัส S09.9

• เนือ้ งอก (C00-D48) เช่น C43.2 Malignant melonoma of ear and external auricular canal C44.2 มะเร็งอื่นของ Skin of ear and external auricular canal C30.1 มะเร็งของMiddle ear, Eustrachian tube, inner ear, mastoid air cells

แบ่งออกเป็น 4 Block คือ H60-H62 โรคของหูชั้นนอก H65-H75 โรคของหูชั้นกลางและปุ่มกกหู H80-H83 โรคของหูชั้นใน H90-H95 ความผิดปกติอื่น ๆ ของหู

จุดที่สำาคัญในบทที่ 8 • กลุ่มที่มีเครื่องหมายดอกจันในบทนี้ได้แก่

H62* ความผิดปกติของหูชั้นนอกในโรคที่มีรหัสระบุไว้ที่อื่น H67* หูนำ้าหนวกในโรคที่มีรหัสระบุไว้ที่อื่น H75* ความผิดปกติอื่นของหูชั้นกลางและปุม่ กกหูในโรคที่มีรหัส ระบุไว้ที่อื่น H82*อาการเวียนศีรษะในโรคที่มีรหัสระบุไว้ที่อื่น H94* ความผิดปกติอื่นของหูที่มีรหัสระบุไว้ที่อื่น

• โรคของหูชั้นนอกเป็นโรคของรูหูและใบหู

• โรคของหูชั้นกลางจะรวมกระดูก Mastoid หรือปุ่มกกหูไว้ด้วย จะพบว่าหูนำ้าหนวกแบ่งย่อยเป็นหลายชนิด แพทย์ควรให้ การวินิจฉัยที่ละเอียดเท่าที่เป็นไปได้และไม่ควรลืมแยกว่า เป็น Acute หรือ Chronic • โรคของหูชั้นในที่สำาคัญคือโรคของอวัยวะเกี่ยวกับการทรงตัว H81.- มีคำาว่า Vertigo ที่อาจสับสนในการลงรหัสได้ ถ้าแพทย์ เขียน Vertigo เฉย ๆ รหัสจะเป็น R42 Dizziness and giddiness แต้ถา้ แพทย์จะหมายถึงการวิงเวียนทรงตัวไม่ค่อยอยู่จาก ความผิดปกติของนำ้าในหูหรือ Vestibular function จะต้องบอก ให้ชดั เจนเป็น auditory หรือ aural หรือ otogenic หรือ peripheral หรือ central vertigo

• โรคหูตึงและหูหนวกจะอยู่ในกลุ่ม H90-H91 มีการแบ่ง รหัสหลักที่ 4 อย่างชัดเจนและยังแบ่งเป็น ข้างเดียวหรือสองข้าง แต่ไม่มีรหัส ข้างซ้ายหรือขวา • รหัสในบทนี้จะพบมีการอักเสบติดเชื้ออยู่หลายชนิด แต่บางรหัสมีดอกจัน บางรหัสไม่มี รหัสการอักเสบติดเชื้อ ที่ไม่มีดอกจันถ้าทราบชื่อเชื้อก็สามารถให้รหัสเสริมจากบทที่ 1 คือ B95.-, B96.- และ B97.- ได้ ส่วนรหัสที่มีดอกจันนั้น ต้องหารหัสกริช(Dagger) มาเป็นรหัสหลักเสมอ

บทที่ 9 Diseases of the circulatory system โรคระบบไหลเวียนโลหิต (I00-I99)เล่ม 1 หน้า 471

บทนี้ว่าด้วยโรคของระบบไหลเวียนเลือดและนำ้าเหลืองแต่ไม่ รวมโรคเลือดซึ่งอยู่ในบทที่ 3

ไม่รวม:

โรคระบบไหลเวียนเลือดที่มีรหัสในบทอื่นๆ เช่น หญิงมี ครรภ์ ความผิดปกติแต่กำาเนิดของระบบไหลเวียนเลือด

แบ่งออกเป็น 10 Block คือ

I00-I02 ไข้รูมาติกเฉียบพลัน I05-I09 โรคหัวใจรูมาติกเรื้อรัง I10-I15 โรคความดันโลหิตสูง I20-I25 โรคหัวใจขาดเลือด I26-I28 โรคหัวใจเกี่ยวเนื่องกับปอดและโรคของการไหลเวียน โลหิตของปอด I30-I52 โรคหัวใจแบบอื่นๆ I60-I69 โรคหลอดเลือดในสมอง

I70-I79 โรคของหลอดเลือดแดง หลอดเลือดแดงย่อยและ หลอดเลือดฝอย I80-I89 โรคของหลอดเลือดดำา ท่อนำ้าเหลืองและ ต่อมนำ้าเหลืองที่มิได้มีรหัสระบุไว้ที่อนื่ I95-I99 ความผิดปกติของระบบไหลเวียนโลหิตอื่นๆ และที่ไม่ระบุ

จุดที่สำาคัญในบทที่ 9 • กลุม่ ที่มีเครื่องหมายดอกจันในบทนี้ได้แก่ I32* เยือ่ หุ้มหัวใจอักเสบในโรค ที่มีรหัสระบุไว้ที่อื่น I39* หัวใจชั้นในอักเสบและความผิดปกติของลิ้นหัวใจหัวใจ ในโรคต่างๆ ที่มรี หัสระบุไว้ที่อื่น I41* กล้ามเนือ้ หัวใจอักเสบในโรคต่างๆ ที่มีรหัสระบุไว้ที่อื่น I43* กล้ามเนือ้ หัวใจเสื่อมในโรคต่างๆ ที่มีรหัสระบุไว้ที่อื่น

I52* ความผิดปกติของหัวใจอืน่ ๆ ในโรคติดเชื้อแบคทีเรีย ที่มีรหัสระบุไว้ที่อื่น I68* ความผิดปกติของหลอดเลือดในสมองในโรคต่างๆ ที่มีรหัสระบุไว้ทอี่ ื่น I79* ความผิดปกติของหลอดเลือดแดง หลอดเลือดแดงย่อย และหลอดเลือดฝอยในโรคต่างๆ ที่มีรหัสระบุไว้ทอี่ ื่น I98* ความผิดปกติของระบบไหลเวียนโลหิตหลังการทำาหัตถการ อื่นๆที่มีรหัสระบุไว้ที่อื่น

• ให้ระวังการใช้อักษร “I” ในกลุม่ นี้อย่าหลงไปใช้เลขหนึ่ง “1” แทนเพราะบาง Font ใช้อักษรลักษณะเหมือนกัน • กลุ่ม I05-I09 โรคของลิ้นหัวใจส่วนใหญ่ไว้ไม่ว่าจะระบุว่า สาเหตุจากโรค Rheumatic หรือไม่ก็ตาม ยกเว้น aortic valve ที่จะต้องบอกว่าเป็น Rheumatic จึงจะอยูใ่ นกลุ่มนี้ • กลุ่ม I10-I15 Hypertensive disorder ไม่มีรหัสย่อยแบ่ง ระหว่างชนิด Malignant และ benign เหมือนที่ใช้ในบางประเทศ

• I10 ความดันโลหิตสูงถ้าต่อมามีโรคหัวใจ โรคไตแทรกซ้อน ขึ้นมาจะต้องเปลี่ยนรหัสจาก I10 เป็น I11, I12 หรือ I13 ตามความเหมาะสม • กลุ่ม I20-I25 กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือด ถ้ามี Hypertension ด้วย ก็ให้รหัสกลุ่มนี้เป็นหลัก แต่อาจให้รหัส hypertension เป็น รหัสเสริม ไม่ควรใช้คำาว่า Chest pain โดยไม่จำาเป็น ถ้าประวัติ และการตรวจร่างกายบ่งถึง ก็ให้รหัสกลุ่มนี้ได้ • CVA หรือ cerebrovascular accident ในบทนี้จะให้ใช้คำาว่า Stroke แต่ไม่ควรใช้ถ้าสามารถแยกได้ว่าคนไข้เป็นเส้นเลือดแตก หรือ infarction

บทที่ 10

Diseases of the respiratory system

โรคของระบบทางเดินหายใจ

(J00-J99) เล่ม 1 หน้า 515

บทนี้รวมโรคและความผิดปกติของอวัยวะระบบทาง เดินหายใจรวมทั้งที่เกิดจากการติดเชื้อและสาเหตุภายนอก เช่นที่เกิดจากการทำางาน ข้อสังเกต: ถ้าภาวะโรคในกลุ่มนี้เกิดมากกว่าหนึ่งแห่งและไม่ได้มี การทำารหัสไว้พเิ ศษให้จัดใว้ในกลุม่ โรคของส่วนที่อยู่ตำ่ากว่า ทางกายวิภาคของทางเดินหายใจ (เช่นใช้ Bronchitis J40 แทน Tracheobronchitis)

ไม่รวม:

โรคของระบบทางเดินหายใจที่มีรหัสอยู่ในบทอืน่ ที่ถือว่า สำาคัญกว่า เช่นหญิงมีครรภ์ เด็กเกิดใหม่ เป็นต้น ให้ใช้รหัสบทอื่น ที่สำาคัญกว่าแทน

แบ่งออกเป็น 10 Block คือ J00-J06 J10-J18 J20-J22 J30-J39 J40-J47 J60-J70

การอักเสบของทางเดินหายใจส่วนบนจาก การติดเชื้อแบบเฉียบพลัน ไข้หวัดใหญ่และปอดบวม การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนล่างแบบ เฉียบพลันอื่น ๆ โรคอื่นๆ ของทางเดินหายใจส่วนบ โรคเรื้อรังของทางเดินหายใจส่วนล่าง โรคปอดจากสาเหตุภายนอกร่างกาย

J80-J84 โรคทางเดินหายใจอืน่ ๆที่เกิดกับเนื้อปอด J85-J86 การอักเสบเป็นหนองหรือการตายของเนื้อเยื่อ ของทางเดินหายใจส่วนล่าง J90-J94 โรคอื่นๆ ของเยื่อหุ้มปอด J95-J99 โรคอื่นๆ ของระบบทางเดินหายใจ

จุดที่สำาคัญในบทที่ 10 • กลุ่มที่มีเครื่องหมายดอกจัน ในบทนี้ ได้แก่ J17* ปอดบวมจาก โรคที่มีรหัสระบุไว้ที่อื่น J91* มีนำ้าในช่องปอดจากโรคที่มีรหัสระบุไว้ที่อื่น J99* ความผิดปกติของระบบหายใจในโรคที่มีรหัสระบุไว้ที่อื่น • Block J00-J09 Acute respiratory infections จะเรียงรหัสจากจมูกถึง larynx โรคหวัดควรใช้Dx เป็น Acute nasopharyngitis หรือ common cold รหัส J00 ไม่ควร Dx เป็น URI รหัส J06.9

• ถ้ามีโรคมากกว่า 1 แห่งในระบบหายใจและ condition นั้นไม่มี ใน Index ให้ลงรหัสส่วนที่อยู่ลึกกว่า เช่น Tracheobronchitis ให้ลงเป็น Bronchitis(J40) ไม่ใช่ tracheitis+broncheitis (J04.1+J40) แต่บางทีก็ทีรหัสรวมเช่น pharyngotracheitis (J06.8) • ถ้าแพทย์เขียน Bronchitis เฉยๆ ไม่บอกว่าเป็น Acute หรือ Chronic จะให้รหัส J20.9 ถ้าอายุไม่เต็ม 15 ปี นอกนัน้ ใช้รหัส J40.9

• สำาหรับ Abscess of lung with pneumonia ไม่บอกเชือ้ ที่เป็นสาเหตุ จะให้รหัส J85.1 แต่ถ้าทราบเชือ้ ที่เป็นสาเหตุให้ไป ให้รหัสในกลุ่ม J10-J16 • Pleurisy ถ้าไม่บอกว่ามี effusion หรือมี TB ด้วยหรือไม่ จะได้ รหัสอาการคือ R09.1 แต่ถ้ามี Pleural effusion ด้วยก็จะให้ รหัส J90 Pleural effusion

Related Documents

Module 4
May 2020 20
Module 4
December 2019 27
Module 4
October 2019 24
Module 4
April 2020 25
Module 4
June 2020 12
Module 4 Resource
October 2019 15

More Documents from ""

Module 4
December 2019 27