Mdt 2004 Thai Edition Extracted

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Mdt 2004 Thai Edition Extracted as PDF for free.

More details

  • Words: 1,217
  • Pages: 8
< อธิบายหลักและวิธก ี ารใชคําสัง่ พืน้ ฐานทัง้ หมดของ

Mechanical desktop 2004 < การใช Design Variables และ Microsoft Excel ควบคุมการเปลี่ยนเวอรชนั่ ของพารทและแอสเซมบลี < การใช Content 3D สอดแทรกพารทมาตรฐาน อาทิ เชน นอต สกรู สปริง ซีล เพลา แบริ่งและอื่นๆ เปนตน

3 CDs

< การวิเคราะห หาความแข็งแรงและความเคนภายใน

วัสดุของพารทดวยวิธี Finite Element Analysis (FEA) < แนะนําการเรนเดอรพารทและแอสเซมบลีแบบเหมือนจริง ดวยปลั๊กอิน Brazil Rendering System ใน 3DSMAX R5 < ไฟลแบบฝกหัดทั้งหมดบนแผน CD-ROM สามารถ ใชรวมกับ Mechanical Desktop รีลีส 6

รวมแผน CD-ROM มัลติมีเดียแสดงจอภาพเคลื่อนไหวพรอมเสียง อธิบายประกอบจํานวน 3 แผน ซึง่ แสดงขัน้ ตอนวิธกี ารใชคาํ สัง่ ตางๆ และแสดงวิธกี ารทําแบบฝกหัดตามทีป่ รากฏบนรูปหนาปกทัง้ หมด

ภาณุพงษ ปตติสิงห

แสดงขัน้ ตอนการขึน้ รูปพารท การสรางแอสเซมบลีและการสรางภาพฉายแบบตางๆ อยางละเอียด

แบบฝกหัดการขึ้นรูปพารท V 395 ก็ใหเปลีย่ นเปน WorkPlane1 โดยใชจดุ ที่ 1 ของรูปที่ 17.26 (ซาย) สวนขอที่ 77 ก็ใหใช สเกทช Profile5 เปนตนฉบับเชนเดิม สวนขอที่ 78 ก็ใหเปลีย่ นเลเยอรสเกทช Profile7 ใหไปอยูใ นเลเยอร Loft2-3 สวนขอที่ 79 ใหซอ น WorkPlane1 สวนขอที่ 80 ปด(Off) เลเยอร Loft2-1 และปดเลเยอร Loft2-2 ทัง้ สองเลเยอร แลวกําหนดใหเลเยอร Loft2-3 เปนเลเยอรใชงาน สวนขอที่82 ก็ใหใชเสนบอกขนาดในแนวนอนซึง่ บอก ความยาวของ สเกทชหารดวย 2 (ซึง่ อาจจะเปน d59/2 ก็ได)และกําหนดคาใหเสนบอกขนาดในแนวดิง่ เทากับ d6 เชนเดิม สวนขอที่ 83 เปลีย่ นเสนบอกขนาดไปอยูใ นเลเยอร Loft2-3 สวนขอที่ 84 แกไขคาสมการของเสนบอกขนาด d65 ใหเปน d59-(d61*2) แลวแกไขคาของ ตัวแปร d61 ใหมคี า เปน 44 หนวย แลวแกไขคาของตัวแปร d58 ใหมคี า เปน 32 หนวย แลวแกไขคาของตัวแปร d62 ใหมคี า เปน 106 หนวย แลวแกไขคาของตัวแปร d63 ใหมคี า เปน 106 หนวย จะปรากฏ Profile7 ดังรูปที่ 17.26 (ขวา) 89. เปดเลเยอร Loft2-1, Loft2-2, Loft2-3 และเลเยอร Parts โดยคลิกบนปุม เลเยอรทงั้ สามบนแถบรายการควบคุมเลเยอรและกําหนดให เปนเลเยอรใชงาน

ของ

90. คลิกบนปุม (Toggle Shading/Wireframe) แลวคลิกบนปุม 3D Orbit แลวคลิก และลากวงกลม Orbit เพือ่ หมุนสเกทชใหปรากฏ ดังรูปที่ 17.27 (ซาย) ่ 1.1 รูปรูปทีที่ 17.27

1 2

91. จากรูปที่ 17.27 (ซาย) สรางสวนโคง Fillet บน Loft1 โดยใชคําสั่ง Part4Placed Features4Fillet เลือก Constant และกําหนดรัศมี 25 หนวย แลวคลิกเสนขอบ ตรงจุดที่ 1 และจุดที่ 2 แลวคลิกขวา จะปรากฏสวนโคง Fillet บนเสนขอบทัง้ สอง 92. เริม่ สรางฟเจอร Loft จากสเกทชทงั้ สาม โดยใชคาํ สัง่ Part4Sketched Features4Loft จะปรากฏขอความ Select profiles or planar faces to loft: ใหคลิกสเกทช Profile5, Profile6 และ Profile7 ตามลําดับ แลวคลิกขวา จะปรากฏ ไดอะล็อค Loft ดังรูปที่ 17.12 (ซาย) กําหนดให Operation = Join, Termination = Section, Type = Cubic, Start Section - Weight = 0, End Section - Weight = 0 แลวคลิกปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค แลว คลิกบนปุม (Toggle Shading/Wireframe) จะปรากฏดังรูปที่ 17.27 (ขวา)

chap-17-1.pmd

395

12/10/2549, 23:54

402 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7 ่ 1.1 รูปรูปทีที่ 17.38

2 1

Work Plane ใหคลิกปุม เรดิโอ Planar Normal ใน 1st Modifier และคลิกปุม เรดิโอ On Edge/Axis ใน 2nd Modifier แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Select work plane, planar face or... ใหคลิกบน WorkPlane ตรงจุดที1่ และคลิกบนเสนขอบของพารทตรงจุดที่ 2 จะปรากฏแกน X,Y,Z ใหคลิกซายจนกระทัง่ แกน X,Y,Z ปรากฏดังรูปที่ 17.38 (ขวา) แลวคลิกขวา WorkPlane7 จะตัง้ ฉากกับ WorkPlane6 และอยูบ นเสนขอบตรงจุดที่ 2 ของพารท 121. ซอนระนาบ Work Plane ทัง้ หมด โดยคลิกบนปุม ไอคอน (Part Visibility) เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Desktop Visibility คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย √ หนาเช็คบอกซ Work Planes แลวคลิกบนปุม Apply และ OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค 122. คลิกบนปุม ไอคอน Sketch View เพือ่ ไปยัง Top View ของระนาบสเกทชใชงาน แลวคลิกบนปุม (Toggle Shading/Wireframe) จะปรากฏดังรูปที่ 17.39 (ซาย) 7 1 3

2

4

6

5

8

่ 1.1 รูปรูปทีที่ 17.39

123. จากรูปที่ 17.39 (ซาย) เริม่ เขียนหนาตัดสเกทชใหม โดยเปลีย่ นเลเยอรใชงานเปนเลเยอร ใหแนใจวา OSNAP อยูใ นสถานะปด เริม่ เขียนรูปสามเหลีย่ ม คราว โดยใชคาํ สัง่ Design4Polyline ใหปรากฏดังรูปที่ 17.39 (กลาง) 124. แปลงรูปสามเหลีย่ มใหเปนสเกทช โดยใชคาํ สัง่ Part4Sketch Solving4Single จะปรากฏ Profile10 บนเดสท็อปบราวเซอร

chap-17-2.pmd

402

12/10/2549, 23:55

410 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

161. จากรูปที่ 17.51 (กลาง) บังคับสเกทชดว ยรูปทรง โดยใชคาํ สัง่ Part42D Constaints4 Collinear แลวคลิกเสนตรงจุดที่ 10 และคลิกเสนขอบตรงจุดที่ 11 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 17.51 (ขวา) 162. สรางฟเจอรเพือ่ ตัดเฉือนพารท โดยใชสเกทช Profile11 เปนตัวตัดเฉือนดวยคําสัง่ Part 4Sketched Features4Extrude หรือคลิกขวาบน Profile11 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสัง่ Extrude กําหนดให Operation = Cut, Termination Type = Blind, Distance = 3 เราควรคลิกขวาในชอง Draft angle แลวเลือก 3D Orbit จะปรากฏวงกลม Orbit ใหคลิกและลากเพือ่ หมุนพารทไปในมุมมองทีส่ ามารถมองเห็นเวคเตอรแสดง ทิศทางในการตัดเฉือนพารทดังรูปที่ 17.52 (ซายบน) แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏ ExtrusionBlind1 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวคลิกบนปุม (Toggle Shading/ Wireframe) จะปรากฏพารทดังรูปที่ 17.52 (ขวา) 3 2

1 ่ 1.1 รูปรูปทีที่ 17.52

163. จากรูปที่ 17.52 (ขวา) เจาะรู Drill โดยใชคําสัง่ Part4Placed Features4Hole ใหคลิกบนปุม (Drilled) แลวกําหนดให Termination = Through, Placement = Concentric, Diameter = 10 แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Select work plane, planar face or ... ใหคลิกบนเสนขอบโคงตรงจุดที่ 1 จะปรากฏขอความ Select concentric edge: ใหคลิกบนเสนขอบโคงตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 17.52 (ซายลาง) Note

chap-17-2.pmd

เปนอันวาเราไดสรางพารทเกือบจะเสร็จสมบรูณแ ลว เหลือแตเพียงการลบขอบคมหรือลบมุม Fillet ตามเสน ขอบตางๆ แตในขณะนี้เรายังไมสามารถทีจ่ ะ Fillet ได เนือ่ งจากเราจะตองสราง Shell เพือ่ นําเนือ้ วัสดุดา นหลัง ออกไปใหเปนผนังหนา 1 มิลลิเมตรเสียกอน หากเราเลือกทีจ่ ะ Fillet เสนขอบตางๆ กอน เราจะไมสามารถสราง ผนัง Shell ทีห่ นา 1 มิลลิเมตรหรือหนามากกวา 1 มิลลิเมตรไดเนือ่ งจาก การสราง Shell จะนําฟลเลทไปพิจารณา ดวย ซึง่ ถา Fillet มีคา นอย เราก็จะไมสามารถสรางผนังทีม่ คี วามหนามากๆ ได ถาพิจารณาดูพารทของเราแลว จะเห็นวาเสนขอบบางเสนของพารท จะสามารถมีรัศมีไดเพียง 1 หนวยหรือ 1 มิลลิเมตรเทานัน้ แตเสนขอบบาง เสนก็สามารถมีรศั มีฟล เลทขนาดใหญ กวา 1 มิลลิเมตรได ดังนัน้ เราจึงไมมที างเลือกซึง่ จึงจําเปนทีจ่ ะตองสราง ผนัง Shell เสียกอนแลวจึง Fillet ในภายหลัง แตกม็ ขี อ เสียก็คอื เราจะตองฟลเลทผนังทัง้ สองดาน

410

12/10/2549, 23:55

แบบฝกหัดการขึ้นรูปพารท V 417 ่ 1.1 รูปรูปทีที่ 17.61

1

187. สรางความหนาใน 3 มิตใิ หกบั ตัวอักษร โดยใชคาํ สัง่ Part4Sketched Features4Extrude หรือคลิกขวาบน TextSketch1 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสัง่ Extrude กําหนดให Operation = Join , Termination Type = Blind, Distance = 0.8 เราควรคลิก ขวาในชอง Draft angle แลวเลือก 3D Orbit จะปรากฏวงกลม Orbit ใหคลิกและลากเพือ่ หมุนพารทไปในมุมมองทีส่ ามารถมองเห็นเวคเตอรแสดงทิศทางในการ สรางความหนา หากเวคเตอรไมออกนอกพารทในทิศทางทีต่ อ งการเพิม่ ความหนา ใหคลิกบนปุม Flip เพือ่ พลิกกลับทิศทางของเวคเตอร แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏ ExtrusionBlind2 บน (Toggle Shading/Wireframe) เดสท็อปบราวเซอร แลวคลิกบนปุม 188. เปลี่ยนสีใหกับฟเจอร ExtrusionBlind2 โดยคลิกขวาบนฟเจอร ExtrusionBlind2 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสัง่ Color4Assign จะปรากฏไดอะล็อค Select Color ใหเลือกสีใดๆ ทีต่ ดั กับสีของโครงลวดลําโพงเดิม จะปรากฏดังรูปที่ 17.61 (ขวา) 189. จากรูปที่ 17.61 (ขวา) คัดลอกตัวอักษร 3 มิติ โดยคลิกขวาบนฟเจอร ExtrusionBlind2 แลวเลือกคําสัง่ Copy จะปรากฏขอความ Specify location on the active part or [Parameters /Rotate/Flip]: ใหคลิกประมาณจุดที่ 1 แลวคลิกขวา จะปรากฏ ExtrusionBlind3 บน เดสท็อปบราวเซอรและจะปรากฏดังรูปที่ 17.62 (ซาย) ่ 1.1 รูปรูปทีที่ 17.62

190. จากรูปที่ 17.62 (ซาย) แกไขขอความ โดยคลิกขวาบนฟเจอร ExtrusionBlind3 แลวเลือก คําสัง่ Edit Sketch จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.59 (ขวา) ใหปอ นตัวอักษร Bass เขาไป แทนที่ ตั วอักษร Volume แล วคลิ ก OK เพื่ อออกจากไดอะล็ อค แล วใช คําสั่ ง

chap-17-3.pmd

417

12/10/2549, 23:55

แบบฝกหัดการขึ้นรูปพารท V 421 2

1

่ 1.1 รูปรูปทีที่ 17.68

204. จากรูปที 17.68 (ซาย) เริม่ ตัดเฉือนตัวอักษร MDT7 ใหมผี วิ หนาโคงตาม Surface โดยใช คําสัง่ Part4Placed Features4Surface Cut จะปรากฏขอความ Select surface or [Type]: ใหคลิกบน Surface ตรงจุดที่ 1 จะปรากฏขอความ Select work point: ใหคลิกบน Work Point ตรงจุดที่ 2 จะปรากฏขอความ Specify portion to remove [Flip/Accept] : ใหแนใจวาเวคเตอรชไี้ ปในทิศทางทีต่ อ งการนําวัสดุของ ตัวอักษรทิง้ ไป แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ 205. เปลีย่ นสีใหกบั ฟเจอร SurfCut1 โดยคลิกขวาบนฟเจอร SurfCut1 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลือกคําสัง่ Color4Assign จะปรากฏไดอะล็อค Select Color ใหเลือกสีใดๆ ทีต่ ดั กับ สีของโครงลวดลําโพงเดิม จะปรากฏดังรูปที่ 17.68 (ขวา) 206. เริม่ ตัดเฉือนตัวอักษร MDT7 ดานหลังของพารท โดยคลิกบนปุม 3D Orbit แลว คลิกและลากวงกลม Orbit เพือ่ หมุนพารทไปรอบๆ ใหปรากฏดังรูปที่ 17.69 (ซาย) ่ 1.1 รูปรูปทีที่ 17.69

1

207. จากรูปที่ 17.69 (ซ าย) ระงั บฟ เจอร ExtrusionBlind7 โดยคลิ กขวาบนฟเจอร ExtrusionBlind7 บนเดสท็อปบราวเซอร แลวเลื อกคําสั่ ง Suppress จะปรากฏ ขอความ Continue? [Yes/No] : ใหคลิกขวา ตัวอักษร MDT7 จะถูกซอน ชัว่ คราวดังรูปที่ 17.69 (ขวา) 208. จากรูปที่ 17.69 (ขวา) เริม่ สราง NURBS Surface จากพืน้ ผิวโคงของพารท โดยใช คําสั่ง Surface4Create Surface4From Acad จะปรากฏขอความ Enter an option [Face/Objects] : ใหพมิ พตวั เลือก F จะปรากฏขอความ Select face: ให คลิกผิวหนาโคงตรงจุดที่ 1 ผิวหนาโคงจะถูกไฮไลท ใหคลิกขวา NURBS Surface จะถูกสรางขึน้ และจะปรากฏดังรูปที่ 17.70 (ซาย)

chap-17-3.pmd

421

12/10/2549, 23:55

424 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7 ่ 1.1 รูปรูปทีที่ 17.72 1 2

221. จากรูปที 17.72 (ซาย) เริม่ ตัดเฉือนตัวอักษร MDT7 ใหมผี วิ หนาโคงตามแผน Surface โคงรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผา โดยใชคาํ สัง่ Part4Placed Features4Surface Cut จะ ปรากฏขอความ Select surface or [Type]: ใหคลิกบนแผน Surface โคงรูปสีเ่ หลีย่ ม ผืนผาตรงจุดที่ 1 จะปรากฏขอความ Select work point: ใหคลิกบน Work Point ตรงจุดที่ 2 จะปรากฏขอความ Specify portion to remove [Flip/Accept] : ใหแนใจวาเวคเตอรชี้ไปในทิศทางทีต่ องการนําวัสดุของตัวอักษรทิง้ ไป แลวคลิก ขวา เพื่อออกจากคําสัง่ ตัวอักษร MDT7 ทีย่ นื่ ออกจากพืน้ ผิวจะถูกตัดเฉือนทิง้ ไป ดังรูปที่ 17.73 (ซาย) 1

่ 1.1 รูปรูปทีที่ 17.73 3

4 2

222. เริม่ ตัดเฉือนผนังฝาลําโพงและรูเจาะใหสนั้ ลง แตรูลําโพงใหรกั ษาขนาดความลึก ไวเชนเดิมโดยไมใหตดั เฉือนสวนทีเ่ ปนทอของรูลําโพง ใหคลิกบนปุม ไอคอน Sketch View เพือ่ ไปยัง Top View ของระนาบสเกทชใชงาน คลิกบนปุม (Toggle Shading/Wireframe) เพือ่ กลับสูโ หมดโครงลวด จะปรากฏ ดังรูปที่ 17.73 (ขวา) 223. จากรูปที่ 17.73 (ขวา) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน และปดโหมด OSNAP แลวเขียนสีเ่ หลีย่ มผืนผา โดยใชคาํ สัง่ Design4Rectangle แลวคลิกประมาณคราวๆ จุดที่ 1 และจุดที่ 2 แลวคลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ อีกครัง้ แลวคลิกประมาณคราวๆ จุดที่ 3 และจุดที่ 4 จะปรากฏดังรูปที่ 17.74 (ซาย) 224. จากรูปที่ 17.74 (ซาย) แปลงสีเ่ หลีย่ มผืนผาทัง้ สองใหเปนสเกทช โดยใชคาํ สัง่ Part4 Sketch Solving4Profile แลวคลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 และจุดที่ 2 เพือ่ ลอมกรอบวัตถุ แบบ Window แลวคลิกขวา บนเดสท็อปบราวเซอรจะปรากฏสเกทช Profile12

chap-17-3.pmd

424

12/10/2549, 23:55

426 คูมอื การใชโปรแกรม Mechanical Desktop 7

227. ตรวจสอบอีกดานหนึง่ ของพารท โดยคลิกบนปุม 3D Orbit แลว คลิกและลากวงกลม Orbit เพือ่ หมุนพารทใหปรากฏดังรูปที่ 17.75 (ขวา) ่ 1.1 รูปรูปทีที่ 17.75

เปนอันวาเราไดศกึ ษาวิธกี ารขึน้ รูปพารท Front panel ของลําโพง Subwoofer เสร็จสมบรูณเรียบรอย แลว เราสามารถนําเอาหลักการและวิธกี ารในแบบฝกหัดนีไ้ ปประยุกตใชในการขึน้ รูปพารทรูปแบบ อืน่ ๆ ทีม่ สี ว นโคงสวนเวาไดเชนเดียวกัน

chap-17-3.pmd

426

12/10/2549, 23:55

Related Documents