Learn

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Learn as PDF for free.

More details

  • Words: 3,624
  • Pages: 49
สาระและมาตรฐานการเรียนรู สาระทักษะการเรียนรู เปนสาระการเรียนรูที่เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรูของผูเรียนในดานการเรียนรู ด ว ยตนเอง การใช แ หล ง เรี ย นรู การจั ด การความรู การคิ ด เป น และการวิ จั ย อย า งง า ย โดยมี วัตถุประสงคเพื่อใหผูเรียนสามารถกําหนดเปาหมาย วางแผนการเรียนรูไดดวยตนเอง สามารถ เขาถึงและเลือกใชแหลงเรียนรู จัดการความรู โดยใชกระบวนการแกปญหา และตัดสินใจอยางมี เหตุผล เพื่อใชเปนเครื่องมือในการชี้นําตนเองในการเรียนรูไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐานที่ 1.1 มาตรฐานที่ 1.2 มาตรฐานที่ 1.3 มาตรฐานที่ 1.4 มาตรฐานที่ 1.5

มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ตี อการเรียนรูด วยตนเอง มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ตี อการใชแหลงเรียนรู มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการจัดการความรู มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการคิดเปน มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการวิจัยอยางงาย

สาระทักษะการเรียนรูประกอบดวยวิชาบังคับและวิชาเลือก โดยมีวิธีการลงทะเบียนเรียน ดังนี้ 1. วิชาบังคับ ผูเรียนในทุกระดับการศึกษาตองเรียนวิชาบังคับ จํานวน 5 หนวยกิต (200 ชั่วโมง) โดยมี เงื่อนไขการเรียน คือ ตองเรียนรายวิชาบังคับใหครบทุกมาตรฐานของสาระทักษะการเรียนรูใน ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลาย ใหครบจํานวนหนวยกิตตาม โครงสราง ระดับการศึกษาละ 5 หนวยกิต 2. วิชาเลือก ผูเรียนทุกระดับการศึกษาตองเรียนวิชาเลือกในสาระทักษะการเรียนรู ตามความสนใจให ครบตามจํานวนหนวยกิตที่กาํ หนดในโครงสรางหลักสูตรแตละระดับการศึกษา โดยวิชาที่เคยเลือก มาแลวไมตองเรียนซ้ําใหเลือกเรียนรายวิชาเลือกอื่น ๆ ไดตามความสนใจจนครบตามโครงสราง หลักสูตร

-2-

ทักษะการเรียนรู มาตรฐานที่ 1.1 การเรียนรูดวยตนเอง

มาตรฐานที่ 1.2 การใชแหลงเรียนรู

มาตรฐานที่ 1.3 การจัดการความรู

มาตรฐานที่ 1.4 การคิดเปน

มาตรฐานที่ 1.5 การวิจัยอยางงาย

ƒ ความหมายความสําคัญ ของการเรียนรูดวยตนเอง ƒ กําหนดเปาหมายและวางแผนการ เรียนรูดวยตนเองโดยคิดริเริ่มการเรียน ดวยตนเองวินิจฉัยกําหนดเปาหมาย สื่อการเรียนการติดตอกับบุคคลอื่นๆ หาแหลงความรู กําหนดเลือกใช ยุทธวิธีการเรียนรู การเสริมแผนการ เรียนรู และการประเมินผลการเรียนของ ตนเองได ƒ มีทักษะพื้นฐานและเทคนิคในการ เรียนรูดวยตนเอง (การอาน การฟง การสังเกตการจําการจดบันทึก การวิเคราะห วิจารณ การจําการทําผัง ความคิดและเทคนิคอื่นๆ)

ƒ ความหมาย ความสําคัญ ของการใชแหลงเรียนรู ƒ ประเภทของแหลงเรียนรู ƒ การเขาถึงและเลือกใช แหลงเรียนรู ƒ การใชแหลงเรียนรู ประเภทตาง ๆ ƒ การใชเทคโนโลยี สารสนเทศ/นวตกรรมอื่น ๆ

ƒ ความหมาย ความสําคัญ ของการจัดการความรู ƒ การกําหนดเปาหมาย ƒ ระบุความรูที่ตองใช ƒ การแสวงหาความรู ƒ สรุปองคความรู ƒ ประยุกตใชความรู ƒ แลกเปลี่ยนเรียนรู ƒ การรวมกลุมเพื่อตอยอด ความรู ƒ พัฒนาขอบขายความรู ของกลุม ƒ จัดทําสารสนเทศ องคความรู

ƒ ความหมาย ความสําคัญ ของการคิดเปน ƒ รวบรวมและวิเคราะห สภาพปญหา ƒ ใชขอมูล ดานตนเอง ดานวิชาการ ดานสังคม สิ่งแวดลอม ƒ เลือกแนวทางการ แกปญหาอยางมีเหตุผล มี คุณธรรมจริยธรรม และมี ความสุข

ƒ ความหมาย ความสําคัญ ของการวิจัยอยางงาย ƒ การกําหนดปญหา/ สิ่งที่ ตองการพัฒนา ƒ ศึกษาและรวบรวมขอมูล ƒ วิเคราะหขอมูล ƒ สรุปผลและจัดทํารายงาน

-3-

เปาหมายการเรียนรู หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนดผลการ เรียนรูที่คาดหวังที่เปนขอกําหนดเปาหมายการเรียนรู โดยมีรายละเอียดเปาหมายการเรียนรูในแตละ ระดับการศึกษา ดังนี้ ระดับประถมศึกษา การเรียนรูดวยตนเอง 1. บอกความหมาย วิธีการ และกําหนดวิธีการแสวงหาความรูได 2. ยอมรับ ตั้งใจรวมกิจกรรมอยางเห็นคุณคา 3. ทําตาม ปฏิบัติการแสวงหาความรูไดอยางถูกตอง การใชแหลงเรียนรู 1. บอกประเภท คุณลักษณะของแหลงเรียนรู และเลือกใชแหลงเรียนรูไดตามความเหมาะสม 2. ใชแหลงเรียนรูอยางเห็นคุณคา 3. สังเกต ทําตามกฎ กติกา และขั้นตอนการใชแหลงเรียนรู การจัดการความรู 1. อธิบายความหมาย กระบวนการชุมชนปฏิบัติการ กําหนดขอบเขตความรูจาก ความสามารถหลักของชุมชน และวิธีการยกระดับขอบเขตความรูใหสงู ขึ้น 2. รวมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู และสรุปผลการเรียนรูที่บงชี้ถึงคุณคาของกระบวนการจัดการความรู 3. สามารถสังเกต และทําตามกระบวนการการจัดการความรูชุมชน การคิดเปน 1. อธิบาย ปรัชญาคิดเปน และอธิบาย และยกตัวอยางกระบวนการคิดเปน รวมทั้งใช กระบวนการคิดเปนในการแกปญหา 2. ยอมรับและเห็นความสําคัญของกระบวนการคิดเปน 3. ใชขอมูลตนเอง สังคม วิชาการ วิเคราะหตดั สินใจ

-4การวิจัยอยางงาย 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ และขั้นตอนในการทําวิจยั คนหาความรูความจริง และใช กระบวนการวิจัยในการแกปญ  หา หรือสิ่งที่ตองการรู 2. ยอมรับและเห็นความสําคัญของกระบวนการวิจยั 3. ปฏิบัติการเก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล และสรุปผลการหาความรูความจริงได ระดับมัธยมศึกษาตอนตน การเรียนรูดวยตนเอง 1. วิเคราะหความรูจากการอาน การฟง การสังเกต และสามารถจดบันทึก 2. เห็นความสําคัญจัดระบบการแสวงหาความรูใหกับตนเอง 3. ปฏิบัติตามขั้นตอนในการแสวงหาความรูเกี่ยวกับทักษะการอาน ทักษะการฟง และ ทักษะการจดบันทึกถูกตองตามหลักวิชา การใชแหลงเรียนรู 1. จําแนกความแตกตางของแหลงเรียนรู และตัดสินใจเลือกใชแหลงเรียนรู 2. เรียงลําดับความสําคัญของแหลงเรียนรู และจัดทําระบบในการใชเรียนรูของตนเอง 3. สามารถปฏิบัติการใชแหลงเรียนรูตามขั้นตอนไดอยางถูกตอง การจัดการความรู 1. วิเคราะหผลที่เกิดขึ้นของขอบเขตความรู ตัดสินคุณคากําหนดแนวทางพัฒนา 2. เห็นความสัมพันธของกระบวนการจัดการความรู กับการนําไปใชในการพัฒนาชุมชน 3. ปฏิบัติตามกระบวนการการจัดการความรูไ ดอยางเปนระบบ การคิดเปน 1. จําแนก เปรียบเทียบ ตรวจสอบ ขอมูลดานตนเอง สังคม และวิชาการ ใชประกอบการตัดสินใจ 2. เห็นความสัมพันธของกระบวนการคิดเปน กับการนําไปใชในชีวิต 3. ปฏิบัติตามกระบวนการคิดเปนไดอยางเปนระบบ การวิจัยอยางงาย 1. ระบุปญหา ความจําเปน วัตถุประสงค และประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย และ สืบคนขอมูลเพื่อทําความกระจางในปญหาการวิจยั รวมทั้งกําหนดวิธีการหาความรูความจริง

-52. เห็นความสัมพันธของกระบวนการวิจยั กับการนําไปใชในชีวิต 3. ปฏิบัติการศึกษา ทดลอง รวบรวม วิเคราะหขอมูล และสรุปความรูความจริงตาม ขั้นตอนไดอยางถูกตอง ชัดเจน ระดับศึกษาตอนปลาย การเรียนรูดวยตนเอง 1. ประมวลความรู และสรุปเปนสารสนเทศ 2. ทํางานบนฐานขอมูลดวยการแสวงหาความรูจนเปนลักษณะนิสัย 3. มีความชํานาญในทักษะการอาน ทักษะการฟง และทักษะการจดบันทึก อยางคลองแคลว รวดเร็ว การใชแหลงเรียนรู 1. วางแผนการใชแหลงเรียนรูตามความตองการจําเปนของแตละบุคคล 2. ใชแหลงเรียนรูตามความตองการจําเปนจนเปนกิจนิสัย 3. ใชแหลงเรียนรูอยางแคลวคลองจนเปนนิสัยสวนตัว การจัดการความรู 1. ออกแบบผลิตภัณฑ สรางสูตร สรุปองคความรูใหมของขอบเขตความรู 2. ประพฤติตนเปนบุคคลแหงการเรียนรู 3. สรางสรรคสังคมอุดมปญญา การคิดเปน 1. วางแผนการแกปญหาอยางเปนระบบ 2. แกปญหาโดยใชกระบวนการคิดเปนจนเปนลักษณะนิสยั  หาอยางแคลวคลอง 3. ปฏิบัติการใชกระบวนการคิดเปนการแกปญ การวิจัยอยางงาย 1. ออกแบบการวิจัย เพื่อคนหาความรู ความจริงที่ตองการคําตอบ 2. ใชกระบวนการวิจัยเปนเครื่องมือในการดําเนินชีวิตจนเปนลักษณะนิสยั 3. ดําเนินการตามแบบแผนการวิจัย และวิเคราะหขอมูล สรุปสารสนเทศความรู ความจริงที่ตองการคําตอบอยางแคลวคลอง

-6-

มาตรฐานการเรียนรูระดับ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

-7มาตรฐานที่ 1.1 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอการเรียนรูดวยตนเอง ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน มาตรฐาน ผลการเรียนรู มาตรฐาน ผลการเรียนรู การเรียนรู ที่คาดหวัง การเรียนรู ที่คาดหวัง สามารถวิเคราะห 1. วิเคราะหความรูจาก สามารถบอก 1. บอกความหมาย ยอมรับ และทําตาม วิธีการ และกําหนด เห็นความสําคัญ และ การอาน การฟง การสังเกต วิธีการแสวงหา วิธีการแสวงหาความรู ปฏิบัติการแสวงหา และสามารถจดบันทึก ความรู ได ความรูจากการอาน ฟง 2. เห็นความสําคัญจัดระบบ และจดบันทึกไดถูกตอง การแสวงหาความรูใหกับ 2. ยอมรับ ตั้งใจรวม ตนเอง กิจกรรมอยางเห็นคุณคา ตามหลักวิชาการ 3. ทําตาม ปฏิบัติการ 3. ปฏิบัติตามขั้นตอนในการ แสวงหาความรูไดอยาง แสวงหาความรูเกี่ยวกับ ถูกตอง ทักษะการอาน ทักษะการฟง และทักษะการจดบันทึก ถูกตองตามหลักวิชา

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐาน ผลการเรียนรู ที่คาดหวัง การเรียนรู สามารถประมวลความรู 1. ประมวลความรู และ ทํางานบนฐานขอมูล สรุปเปนสารสนเทศ และมีความชํานาญใน 2. ทํางานบนฐานขอมูล การอาน ฟง จดบันทึก ดวยการแสวงหาความรู เปนสารสนเทศอยาง จนเปนลักษณะนิสัย คลองแคลวรวดเร็ว 3. มีความชํานาญใน ทักษะการอาน ทักษะ การฟง และทักษะการ จดบันทึก อยางคลองแคลว รวดเร็ว

-8มาตรฐานที่ 1.2 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอการใชแหลงเรียนรู ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน มาตรฐาน ผลการเรียนรู มาตรฐาน ผลการเรียนรู การเรียนรู ที่คาดหวัง การเรียนรู ที่คาดหวัง รูจัก เห็นคุณคา และ 1. บอกประเภท สามารถจําแนก 1. จําแนกความแตกตางของ ใชแหลงเรียนรูถูกตอง คุณลักษณะของแหลง จัดลําดับความสําคัญ แหลงเรียนรู และตัดสินใจ เรียนรู และเลือกใช และปฏิบัติการใชแหลง เลือกใชแหลงเรียนรู แหลงเรียนรูไดตาม เรียนรูถูกตอง 2. เรียงลําดับความสําคัญของ ความเหมาะสม แหลงเรียนรู และจัดทําระบบ ในการใชเรียนรูของตนเอง 2. ใชแหลงเรียนรูอยาง เห็นคุณคา 3. สามารถปฏิบัติการใช แหลงเรียนรูตามขั้นตอนได 3. สังเกต ทําตามกฎ อยางถูกตอง กติกา และขั้นตอนการ ใชแหลงเรียนรู

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐาน ผลการเรียนรู ที่คาดหวัง การเรียนรู สามารถวางแผนและ 1. วางแผนการใช ใชแหลงเรียนรูอยาง แหลงเรียนรูตามความ คลองแคลวจนเปน ตองการจําเปนของ กิจนิสัย แตละบุคคล 2. ใชแหลงเรียนรูตาม ความตองการจําเปน จนเปนกิจนิสยั 3. ใชแหลงเรียนรู อยางแคลวคลอง จนเปนนิสัยสวนตัว

-9มาตรฐานที่ 1.3 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอการจัดการความรู ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน มาตรฐาน ผลการเรียนรู มาตรฐาน ผลการเรียนรู การเรียนรู ที่คาดหวัง การเรียนรู ที่คาดหวัง เขาใจความหมาย 1. อธิบายความหมาย กระบวนการ สามารถจําแนก 1. วิเคราะหผลที่เกิดขึ้นของ กระบวนการชุมชน ชุมชนปฏิบัติการ กําหนดขอบเขต ขอบเขตความรู ตัดสิน ผลที่เกิดขึ้นจาก ปฏิบัติการ และทํา ความรูจากความสามารถหลักของ คุณคากําหนดแนวทาง ขอบเขตความรู ตามกระบวนการ ชุมชน และวิธีการยกระดับขอบเขต ตัดสินคุณคา พัฒนา จัดการความรูช ุมชน ความรูใหสูงขึน้ กําหนดแนวทาง 2. เห็นความสัมพันธของ พัฒนา 2. รวมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู และ กระบวนการจัดการความรู สรุปผลการเรียนรูที่บงชี้ถึงคุณคา กับการนําไปใชในการ ของกระบวนการจัดการความรู พัฒนาชุมชน 3. สามารถสังเกต และทําตาม 3. ปฏิบัติตามกระบวนการ กระบวนการการจัดการความรูชุมชน การจัดการความรูไดอยาง เปนระบบ

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐาน ผลการเรียนรู ที่คาดหวัง การเรียนรู สามารถสรุป 1. ออกแบบ ผลิตภัณฑ องคความรูใหม นําไปสรางสรรค สรางสูตร สรุป สังคมอุดมปญญา องคความรูใหมของ ขอบเขตความรู 2. ประพฤติตนเปน บุคคลแหงการ เรียนรู 3. สรางสรรคสังคม อุดมปญญา

-10มาตรฐานที่ 1.4 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอการคิดเปน ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน มาตรฐาน ผลการเรียนรู มาตรฐาน ผลการเรียนรู การเรียนรู ที่คาดหวัง การเรียนรู ที่คาดหวัง 1. อธิบาย ปรัชญาคิดเปน สามารถจําแนก เห็น 1. จําแนก เปรียบเทียบ สามารถอธิบาย และอธิบาย และยกตัวอยาง ความสัมพันธ และ ตรวจสอบขอมูล ปรัชญาคิดเปน ดานตนเอง สังคม และ และใชกระบวนการ กระบวนการคิดเปน รวมทั้ง ใชขอมูลดานตนเอง ใชกระบวนการคิดเปนใน สังคม วิชาการ วิชาการ ใชประกอบการ คิดเปนในการ การแกปญหา ประกอบการตัดสินใจ ตัดสินใจ แกปญหา 2. ยอมรับและเห็น 2. เห็นความสัมพันธของ ความสําคัญของ กระบวนการคิดเปน กับ กระบวนการคิดเปน การนําไปใชในชีวิต 3. ใชขอมูลตนเอง สังคม 3. ปฏิบัติตามกระบวนการ วิชาการ วิเคราะหตดั สินใจ คิดเปนไดอยางเปนระบบ

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐาน ผลการเรียนรู ที่คาดหวัง การเรียนรู สามารถวางแผนและใช 1. วางแผนการแกปญหา กระบวนการคิดเปนใน อยางเปนระบบ การแกปญหาจนเปน 2. แกปญหาโดยใช ลักษณะนิสัยอยาง กระบวนการคิดเปน คลองแคลว จนเปนลักษณะนิสัย 3. ปฏิบัติการใช กระบวนการคิดเปนการ แกปญหาอยางแคลวคลอง

-11มาตรฐานที่ 1.5 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอการวิจัยอยางงาย ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน มาตรฐาน ผลการเรียนรู มาตรฐาน ผลการเรียนรู การเรียนรู ที่คาดหวัง การเรียนรู ที่คาดหวัง เขาใจ 1. อธิบายความหมาย สามารถวิเคราะห 1. ระบุปญหา ความจําเปน วัตถุประสงค ความหมาย ความสําคัญ และขั้นตอนในการ ปญหา ความ และประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการ เห็น ทําวิจยั คนหาความรูความจริง จําเปน วิจัย และสืบคนขอมูลเพื่อทําความ ความสําคัญ และใชกระบวนการวิจัยในการ เห็น กระจางในปญหาการวิจัย รวมทั้ง และปฏิบัติการ แกปญหา หรือสิ่งที่ตองการรู ความสัมพันธ กําหนดวิธีการหาความรูความจริง รวบรวมขอมูล 2. ยอมรับและเห็นความสําคัญ ของระบวนการ 2. เห็นความสัมพันธของ วิเคราะหขอมูล ของกระบวนการวิจยั วิจัยกับการ กระบวนการวิจัยกับการนําไปใชในชีวิต และสรุปผล 3. ปฏิบัติการเก็บรวบรวมขอมูล นําไปใชในชีวติ 3. ปฏิบัติการศึกษา ทดลอง รวบรวม การหาความรู วิเคราะหขอมูล และสรุปผลการ และดําเนินการ วิเคราะหขอมูล และสรุปความรู ความจริง วิจัยทดลองตาม ความจริงตามขั้นตอนไดอยางถูกตอง หาความรูความจริงได ขั้นตอน ชัดเจน

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐาน ผลการเรียนรู ที่คาดหวัง การเรียนรู สามารถวาง 1. ออกแบบการวิจัย เพื่อ แผนการวิจัย คนหาความรู ความจริงที่ ดําเนินการ ตองการคําตอบ ตามแบบแผน 2. ใชกระบวนการวิจยั เปน อยาง เครื่องมือในการดําเนินชีวิตจน แคลวคลอง เปนลักษณะนิสัย เปนลักษณะ 3. ดําเนินการตามแบบ นิสัย แผนการวิจัย และวิเคราะห ขอมูล สรุปสารสนเทศความรู ความจริงที่ตองการคําตอบ อยางแคลวคลอง

-12-

คําอธิบายรายวิชาบังคับ

-13-

รายวิชาบังคับ สาระทักษะการเรียนรู มาตรฐาน ที่

ระดับประถมศึกษา

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

รายวิชา

หนวยกิต

1.1

รหัส รายวิชา ทร 1101

การเรียนรูดว ยตนเอง

1.2

ทร 1102

1.3

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

รายวิชา

หนวยกิต

1

รหัส รายวิชา ทร 2101

รายวิชา

หนวยกิต

1

รหัส รายวิชา ทร 3101

การเรียนรูดว ยตนเอง

การเรียนรูดว ยตนเอง

1

การใชแหลงเรียนรู

1

ทร 2102

การใชแหลงเรียนรู

1

ทร 3102

การใชแหลงเรียนรู

1

ทร 1103

การจัดการความรู

1

ทร 2103

การจัดการความรู

1

ทร 3103

การจัดการความรู

1

1.4

ทร 1104

การคิดเปน

1

ทร 2104

การคิดเปน

1

ทร 3104

การคิดเปน

1

1.5

ทร 1105

การวิจยั อยางงาย

1

ทร 2105

การวิจยั อยางงาย

1

ทร 3105

การวิจยั อยางงาย

1

-14คําอธิบายรายวิชา ทร 1101 การเรียนรูดวยตนเอง สาระทักษะการเรียนรู ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชัว่ โมง) มาตรฐานที่ 1.1 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการเรียนรูดวยตนเอง ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ความหมาย ความสําคัญของการเรียนรูดว ยตนเอง การกําหนดเปาหมาย และวางแผนการ เรียนรูดว ยตนเอง โดยคิดริเริม่ การเรียนดวยตนเอง วินิจฉัย กําหนดเปาหมาย สื่อการเรียน การติดตอ กับบุคคลอื่น ๆ หาแหลงความรู กําหนด เลือกใชยุทธวิธกี ารเรียนรู การเสริมแผนการเรียนรู และ การประเมินผลการเรียนของตนเอง ฝกทักษะพื้นฐานในการศึกษาหาความรู ทักษะการแกปญ  หาและเทคนิคในการเรียนรูดวย ตนเอง ดานการอาน การฟง การสังเกต การจํา และการจดบันทึก ปจจัยที่ทําใหการเรียนรูดวยตนเองประสบความสําเร็จ การเปดรับโอกาสการเรียนรู การคิด ริเริ่มและเรียนรูดวยตนเอง การสรางแรงจูงใจ การสรางวินัยในตนเอง การคิดเชิงบวก ความคิด สรางสรรค ความรักในการเรียน การใฝรูใฝเรียน และความรับผิดชอบ การจัดประสบการณการเรียนรู ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะตาง ๆ ไปพรอมกับการสรางสถานการณในการ เรียนรูอยางสรางสรรค เพื่อ 1) ฝกใหผูเรียนไดกําหนดเปาหมาย และวางแผนการเรียนรู 2) เพิ่มพูน ใหมีทักษะพื้นฐานในการอาน ฟง สังเกต จํา จดบันทึก 3) มีเจตคติที่ดีตอ การเรียนรูดว ยตนเองที่ทํา ใหการเรียนรูด วยตนเองประสบผลสําเร็จ และนําความรูไปใชในวิถีชีวติ ใหเหมาะสมกับตนเอง และ ชุมชน/สังคม การวัดและประเมินผล ใชการประเมินจากสภาพจริงของผูเรียนที่แสดงออกเกีย่ วกับ การกําหนดเปาหมาย และ วางแผนการเรียนรู รวมทักษะพืน้ ฐานและเทคนิคในการเรียนรูตาง ๆ ตลอดจนปจจัยที่ทําใหการ เรียนรูประสบความสําเร็จ

-15คําอธิบายรายวิชา ทร 1102 การใชแหลงเรียนรู สาระทักษะการเรียนรู ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.2 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการใชแหลงเรียนรู ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ศึกษาความหมาย ความสําคัญ ของแหลงเรียนรู โดยทัว่ ไป เชน กลุมบริการขอมูล กลุมศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร กลุมขอมูลทองถิ่น กลุมสื่อ กลุมสันทนาการ การเขาถึงและเลือกใชแหลงเรียนรู หองสมุดประชาชนอําเภอของสถานศึกษา และ ศรช. ศึกษาบทบาทหนาที่และการบริการของแหลงเรียนรูดานตาง ๆ กฎ กติกา เงื่อนไขตาง ๆ ในการไป ขอใชบริการ ฝกทักษะการใชขอมูลสารสนเทศจากหองสมุดประชาชนใหสอดคลองกับความ ตองการ ความจําเปนเพื่อนําไปใชในการเรียนรูของตนเอง การจัดประสบการณการเรียนรู ตองใหผูเรียนทุกคนไปศึกษาหองสมุดประชาชนอําเภอ ทําความเขาใจบทบาท หนาที่ กฎ กติกา เงื่อนไขการใหบริการ เพื่อใชหองสมุดประชาชนใหสอดคลองกับความตองการ ความจําเปน ในการนําไปใชในการเรียนรูของตนเอง การวัดและประเมินผล ผลงานที่ไดใชประโยชนจากแหลงเรียนรู

-16คําอธิบายรายวิชา ทร 1103 การจัดการความรู สาระทักษะการเรียนรู ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.3 มีความรูความเขาใจ ทักษะและเจตคติทดี่ ตี อการจัดการความรู ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ศึกษาความหมาย ความสําคัญ หลักการของการจัดการความรู กระบวนการจัดการ ความรู การรวมกลุมเพื่อตอยอดความรู การพัฒนาขอบขายความรูของกลุม การจัดทําสารสนเทศ เผยแพรความรู ฝกทักษะกระบวนการจัดการความรูดวยตนเองและดวยการรวมกลุมปฏิบัติการ โดยการกําหนดเปาหมายการเรียนรู ระบุความรูที่ตองใช การแสวงหาความรู สรุปองคความรู ประยุกตใชความรู แลกเปลี่ยนความรู การรวมกลุมปฏิบัตกิ ารเพื่อตอยอดความรู การพัฒนาขอบขาย ความรูของกลุม สรุปองคความรูของกลุม จัดทําสารสนเทศองคความรูในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว การจัดประสบการณการเรียนรู ศึกษาคนควาหลักการ และกระบวนการของการจัดการความรู การฝกปฏิบัติจริงโดย การรวมกลุมปฏิบัติการ/ชุมชนปฏิบัติการ สรุปองคความรูของกลุมและจัดทําสารสนเทศเผยแพร ความรู การวัดผลและประเมินผล จากการสังเกต ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีสวนรวม การใหความรวมมือ ในกลุมปฏิบัตกิ าร ผลงาน/ชิ้นงานจากการรวมกลุมปฏิบัติการ ใชวิธีการประเมินแบบมีสวนรวม ระหวางครู ผูเรียนและผูเกี่ยวของรวมกันประเมินตีคาความสามารถ ความสําเร็จกับเปาหมายที่ วางไว และระบุขอบกพรองที่ตองแกไข สวนที่ทําไดดีแลวก็พัฒนาใหดียิ่งขึ้นตอไป

-17คําอธิบายรายวิชา ทร 1104 การคิดเปน สาระทักษะการเรียนรู ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.4 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการคิดเปน ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ศึกษาความหมาย ความสําคัญ ของการคิดเปน การรวบรวมสภาพปญหา ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และคิดวิเคราะห โดยใชขอมูลดานตนเอง ดานวิชาการ และดานสังคม สิ่งแวดลอม มากําหนดแนวทางทางเลือกที่หลากหลายในการแกปญหาอยางมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุข ดานตนเอง เปนการพิจารณาขอมูลของตนเองเกี่ยวกับจุดออน จุดแข็ง ลักษณะนิสยั คานิยม ความตองการ ความรูพื้นฐาน ทรัพยากร สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี และจารีตประเพณีของ ตนเอง กอนตัดสินใจทําสิ่งใด ดานวิชาการ เปนความรูหลักวิชาการที่มีคนคิดสะสมไวแลว และมีความเกี่ยวของกับการ แกปญหา สามารถนํามาพิจารณาประกอบในการแกปญหาได ดานสังคม สิ่งแวดลอม เปนการพิจารณาการกระทําใด ๆ ของตนเองที่จะมีผลกระทบตอ คนอื่น และสิ่งแวดลอมอยางไรบาง การจัดประสบการณการเรียนรู ควรจัดใหผูเรียนไดฝกการวิเคราะห สังเคราะห และเก็บรวบรวมขอมูลในการแกปญ  หา อยางมีเหตุผล และหลักการที่ซับซอนจากสภาพจริง หรือเรื่องเกี่ยวกับชีวิตจริงของตนเอง หรือ สถานการณจริง หรือ กรณีศกึ ษา ที่ใชแกปญ  หาและตัดสินใจ อยางมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุข การวัดและประเมินผล วัดจากการเก็บรวบรวมขอมูล การคิดวิเคราะห การตัดสินใจแกปญหาจากขอมูลตาม ขอเท็จจริง

-18คําอธิบายรายวิชา ทร 1105 การวิจัยอยางงาย สาระทักษะการเรียนรู ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.5 มีความรู ความเขาใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอการวิจัยอยางงาย ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ศึกษา / ฝกทักษะ ความหมาย ความสําคัญของ การวิจยั อยางงาย กระบวนการและขั้นตอน ของการดําเนินงาน ไดแก การระบุ / กําหนดปญหา ที่ตอ งการหาความรู ความจริง หรือสิ่งตองการ พัฒนา การแสวงหาความรู จากการศึกษาเอกสาร ผูทรงคุณวุฒิ ภูมิปญญาทองถิ่น แหลงความรูตาง ๆ เพื่อกําหนดแนวคําตอบเบื้องตน การเก็บรวบรวมขอมูล โดยการ สอบถาม สํารวจ / สัมภาษณ / ทดลอง การนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหหาคําตอบที่ตองการ การเขียนรายงานสรุปผล และการนํา ความรูไปปฏิบัติจริง การจัดประสบการณการเรียนรู จัดใหผูเรียนไดศึกษา คนควา เอกสารที่เกี่ยวของ ฝกทักษะการสังเกตและคนหาปญหา ที่พบในชีวิตประจําวัน / ในสาระที่เรียน การตั้งคําถาม การแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพือ่ น / ผูรู การ คาดเดาคําตอบอยางมีเหตุผล การฝกปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัยงาย ๆ การเก็บรวบรวมขอมูล การสรุปขอมูลและเขียนรายงานผลอยางงาย ๆ การวัดผลประเมินผล จากการสังเกต ความสนใจ การมีสวนรวม ความรวมมือ จากผลงาน / ชิ้นงานที่ มอบหมายใหฝกปฏิบัติ ในระหวางเรียน และการสอบปลายภาคเรียน

-19คําอธิบายรายวิชา ทร 2101 การเรียนรูดวยตนเอง สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.1 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการเรียนรูดวยตนเอง ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ทบทวน ความหมาย ความสําคัญ ของการเรียนรูดวยตนเอง ทบทวนทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู ทักษะการแกปญหาและเทคนิคในการ เรียนรูดว ยตนเอง ดานการอาน การฟง การสังเกต การจํา และการจดบันทึก การวางแผนการเรียนรู และการประเมินผลการเรียนรูดว ยตนเอง มีทักษะพืน้ ฐานและ เทคนิคในการเรียนรูดวยตนเองในเรื่องการวางแผน การประเมินผลการเรียนรูดวยตนเอง การ วิเคราะหวิจารณ ปจจัย ที่ทําใหการเรียนรูดว ยตนเองประสบความสําเร็จ การเปดรับโอกาสการเรียนรู การ คิดริเริ่มและเรียนรูดว ยตนเอง การสรางแรงจูงใจ การสรางวินยั ในตนเอง การคิดเชิงบวก ความคิด สรางสรรค ความรักในการเรียน การใฝรูใฝเรียน และความรับผิดชอบ การจัดประสบการณการเรียนรู ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะตาง ๆ ไปพรอมกับการสรางสถานการณในการ เรียนรูที่หลากหลาย ซับซอน อยางสรางสรรค เพื่อ 1) ฝกใหผูเรียนไดกําหนดเปาหมาย และ วางแผนการเรียนรู 2) เพิ่มพูนใหมีทักษะพื้นฐานในการการวางแผน การประเมินผลการเรียนรูดว ย ตนเอง การวิเคราะหวจิ ารณ 3) มีเจตคติทดี่ ีตอการเรียนรูดวยตนเองทีท่ ําใหการเรียนรูดวยตนเอง ประสบผลสําเร็จ และนําความรูไปใชในวิถชี ีวิตใหเหมาะสมกับตนเอง และชุมชน/สังคม การวัดและประเมินผล ใชการประเมินจากสภาพจริงของผูเรียนที่แสดงออกเกีย่ วกับ การกําหนดเปาหมาย และ วางแผนการเรียนรู รวมทักษะพืน้ ฐานและเทคนิคในการเรียนรูตาง ๆ ตลอดจนปจจัยที่ทําใหการ เรียนรูประสบความสําเร็จ

-20คําอธิบายรายวิชา ทร 2102 การใชแหลงเรียนรู สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.2 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการใชแหลงเรียนรู ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ทบทวนความหมาย ความสําคัญการใชหองสมุดประชาชนอําเภอ การเขาถึงสารสนเทศ ของหองสมุดประชาชน ศึกษาแหลงเรียนรู หอสมุดแหงชาติ หอสมุดวิทยาลัย/มหาวิทยาลัย หองสมุดเฉพาะ หองสมุดโรงเรียน พิพิธภัณฑ อุทยานแหงชาติ แหลงเรียนรูสําคัญอื่น ๆ ในประเทศ ศึกษา เรียนรู การใชอินเทอรเน็ต การเขาถึงขอมูลสารสนเทศที่ตองการและสนใจ การจัดประสบการณการเรียนรู ตองการใหผูเรียนทุกคนไดศกึ ษาสารสนเทศ กวางขวางจากระดับชุมชนสูระดับจังหวัด ประเทศ และโลก การเรียนรูก ารใชอินเตอรเน็ต และแหลงเรียนรูไดสอดคลองกับความตองการ ความจําเปนในการนําไปใชในการเรียนรูข องตนเอง การวัดและประเมินผล ผลงานที่ไดใชประโยชนจากแหลงเรียนรู

-21คําอธิบายรายวิชา ทร 2103 การจัดการความรู สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.3 มีความรูความเขาใจ ทักษะและเจตคติทดี่ ีตอการจัดการความรู ศึกษาและฝกทักษะ ศึกษาความหมาย ความสําคัญ หลักการของการจัดการความรู กระบวนการจัดการ ความรู การรวมกลุมเพื่อตอยอดความรู การพัฒนาขอบขายความรูของกลุม การจัดทําสารสนเทศ เผยแพรความรู ฝกทักษะกระบวนการจัดการความรูดวยตนเองและดวยการรวมกลุมปฏิบัติการ โดยการกําหนดเปาหมายการเรียนรู ระบุความรูที่ตองใช การแสวงหาความรู สรุปองคความรู ระยุกตใชความรู แลกเปลี่ยนความรู การรวมกลุมปฏิบัตกิ ารเพื่อตอยอดความรู การพัฒนาขอบขาย ความรูของกลุม สรุปองคความรูของกลุม จัดทําสารสนเทศองคความรูในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว การจัดประสบการณการเรียนรู ใหผูเรียนศึกษาคนควาหลักการ และกระบวนการของการจัดการความรู การฝกปฏิบัติจริง โดยการรวมกลุมปฏิบัติการ/ชุมชนปฏิบัติการ สรุปองคความรูของกลุมแลกเปลี่ยนเรียนรู ระหวางกลุม ยกระดับความรู และจัดทําสารสนเทศเผยแพรความรู การวัดผลและประเมินผล จากการสังเกต ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีสวนรวม การใหความรวมมือ ในกลุมปฏิบัตกิ าร ผลงาน/ชิ้นงานจากการรวมกลุมปฏิบัติการ ใชวิธีการประเมินแบบมีสวนรวม ระหวางครู ผูเรียนและผูเกี่ยวของรวมกันประเมินตีคาความสามารถ ความสําเร็จกับเปาหมายที่ วางไว และระบุขอบกพรองที่ตองแกไข สวนที่ทําไดดีแลวก็พัฒนาใหดียิ่งขึ้นตอไป

-22คําอธิบายรายวิชา ทร 2104 การคิดเปน สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.4 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการคิดเปน ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ทบทวนศึกษาความหมาย ความสําคัญ ของการคิดเปน จนเกิดการตัดสินใจคิดไดดีทสี่ ุดจาก ในอันที่จะสงเสริมนําไปสูความสําเร็จในการแกปญหา การรวบรวมสภาพปญหา ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และคิดวิเคราะห โดยใชขอมูลดานตนเอง ดานวิชาการ และดานสังคม สิ่งแวดลอม มากําหนดแนวทางทางเลือกที่หลากหลายในการแกปญหาอยางมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุขในอันที่จะสงเสริมนําไปสูความสําเร็จในการแกปญหางานอาชีพหรือ ปญหางานอื่น ๆ ศึกษาความหมาย ความสําคัญ ขอมูลการประกอบอาชีพอิสระและอาชีพแรงงานใน สถานประกอบการ ตั้งแตในอดีต ปจจุบนั และแนวโนมในอนาคต ถึงจุดแข็ง จุดออน อุปสรรค และโอกาส ความมั่นคงของอาชีพ แรงงานในสถานประกอบการ การขยายอาชีพของตนเอง และคูแขง ดานทุน ดานทําเล ดานแรงงาน และดานการจัดการตลาด การจัดประสบการณการเรียนรู ควรจัดใหผูเรียนไดฝกการวิเคราะห สังเคราะห และเก็บรวบรวมขอมูลในการแกปญ  หา อยางมีเหตุผล และหลักการที่ซับซอนจากสภาพจริง หรือเรื่องเกี่ยวกับชีวิตจริงของตนเอง หรือ สถานการณจริง หรือ กรณีศกึ ษา ที่ใชแกปญ  หาและตัดสินใจ อยางมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุข การวัดและประเมินผล วัดจากการเก็บรวบรวมขอมูล การคิดวิเคราะห การตัดสินใจแกปญหาจากขอมูลตาม ขอเท็จจริง

-23คําอธิบายรายวิชา ทร 2105 การวิจัยอยางงาย สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.5 มีความรู ความเขาใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอการวิจยั อยางงาย ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ทบทวนความหมาย ความสําคัญการวิจัยอยางงาย กระบวนการและขั้นตอนของการดําเนินงาน ศึกษา ฝกทักษะ สถิติงาย ๆ เพื่อการวิจัย เครื่องมือการวิจัย และการเขียนโครงการวิจัยอยางงาย ๆ การจัดประสบการณการเรียนรู จัดใหผูเรียนไดศึกษา คนควา เอกสารที่เกี่ยวของ ฝกทักษะการสังเกตและคนหาปญหา ที่พบในชีวิตประจําวัน / ในสาระที่เรียน การตั้งคําถาม การแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพือ่ น / ผูรู การคาดเดาคําตอบอยางมีเหตุผล / การตั้งสมมติฐาน การฝกปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัยที่มีความ ซับซอนขึ้น การเก็บรวบรวมขอมูล การสรางเครื่องมือ การวิเคราะหขอ มูลโดยใชสถิติพื้นฐาน การนําเสนอขอมูล การสรุปขอมูลและเขียนรายงานผล การเผยแพรขอ คนพบ การวัดผลประเมินผล จากการสังเกต ความสนใจ การมีสวนรวม ความรวมมือ จากผลงาน / ชิ้นงานที่ มอบหมายใหฝกปฏิบัติ ในระหวางเรียน และการสอบปลายภาคเรียน

-24คําอธิบายรายวิชา ทร 3101 การเรียนรูดวยตนเอง สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.1 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการเรียนรูดวยตนเอง ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ทบทวน ความหมาย ความสําคัญ และกระบวนการของการเรียนรูดวยตนเอง ทบทวนทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู ทักษะการแกปญหาและเทคนิคในการ เรียนรูดว ยตนเอง ดานการอาน การฟง การสังเกต การจํา และการจดบันทึก ทบทวนการวางแผนการเรียนรู และการประเมินผลการเรียนรูดวยตนเอง มีทักษะพืน้ ฐาน และเทคนิคในการเรียนรูดว ยตนเองในเรื่องการวางแผน การประเมินผลการเรียนรูดว ยตนเอง การวิเคราะหวจิ ารณ มีความรูและทักษะการพูด และการทําแผนผังความคิด ปจจัย ที่ทําใหการเรียนรูดว ยตนเองประสบความสําเร็จ การเปดรับโอกาสการเรียนรู การ คิดริเริ่มและเรียนรูดว ยตนเอง การสรางแรงจูงใจ การสรางวินยั ในตนเอง การคิดเชิงบวก ความคิด สรางสรรค ความรักในการเรียน การใฝรูใฝเรียน และความรับผิดชอบ การจัดประสบการณการเรียนรู ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะตาง ๆ ไปพรอมกับการสรางสถานการณในการ เรียนรูที่หลากหลาย ซับซอน อยางสรางสรรค เพื่อ 1) ฝกใหผูเรียนไดกําหนดเปาหมาย และ วางแผนการเรียนรู 2) เพิ่มพูนใหมีทักษะพื้นฐานทักษะการพูด และการทําแผนผังความคิด 3) มีเจตคติที่ดตี อการเรียนรูด วยตนเองที่ทาํ ใหการเรียนรูด วยตนเองประสบผลสําเร็จ และนําความรู ไปใชในวิถีชีวติ ใหเหมาะสมกับตนเอง และชุมชน/สังคม การวัดและประเมินผล ใชการประเมินจากสภาพจริงของผูเรียนที่แสดงออกเกีย่ วกับ การกําหนดเปาหมาย และ วางแผนการเรียนรู รวมทักษะพืน้ ฐานและเทคนิคในการเรียนรูตาง ๆ ตลอดจนปจจัยที่ทําใหการ เรียนรูประสบความสําเร็จ

-25คําอธิบายรายวิชา ทร 3102 การใชแหลงเรียนรู สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.2 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการใชแหลงเรียนรู ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ทบทวน ความหมาย ความสําคัญ ประเภทแหลงเรียนรู ทบทวนการใชหองสมุดประชาชนอําเภอ การเขาถึงสารสนเทศหองสมุดประชาชน หองสมุดอื่น ๆ แหลงเรียนรูอ ื่น ๆ ที่สําคัญ รวมทั้งการใชอินเตอรเน็ตเพือ่ การเรียนรูของตนเอง ศึกษา สํารวจ แหลงเรียนรูภายในชุมชน จัดกลุม ประเภท และความสําคัญ ศึกษาเรียนรูกบั ภูมิปญญา ปราชญ ผูรูในทองถิ่น การจัดประสบการณการเรียนรู ตองใหผูเรียนทุกคนไปสํารวจ ศึกษา รวบรวมแหลงเรียนรู ภายในชุมชน จังหวัด ประเทศ และโลก ทําความเขาใจ บทบาท หนาที่ และใหเรียนรูกบั ปราชญ/ภูมิปญญา ในทองถิ่นตามความ ตองการ ความสนใจ การวัดและประเมินผล ผลงานที่ไดใชประโยชนจากแหลงเรียนรู ปราชญ/ผูรู/ภูมิปญญา

-26คําอธิบายรายวิชา ทร 3103 การจัดการความรู สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.3 มีความรูความเขาใจ ทักษะและเจตคติทดี่ ีตอการจัดการความรู ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ศึกษาความหมาย ความสําคัญ หลักการของการจัดการความรู กระบวนการจัดการ ความรู การรวมกลุมเพื่อตอยอดความรู การพัฒนาขอบขายความรูของกลุม การจัดทําสารสนเทศ เผยแพรความรู ฝกทักษะกระบวนการจัดการความรูดว ยตนเองและดวยการรวมกลุมปฏิบัติการ โดยการกําหนดเปาหมายการเรียนรู ระบุความรูที่ตองใช การแสวงหาความรู สรุปองคความรู ประยุกตใชความรู แลกเปลี่ยนความรู การรวมกลุมปฏิบัตกิ ารเพื่อตอยอดความรู การพัฒนาขอบขาย ความรูของกลุม สรุปองคความรูของกลุม จัดทําสารสนเทศองคความรูในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว การจัดประสบการณการเรียนรู ศึกษาคนควาหลักการ และกระบวนการของการจัดการความรู การฝกปฏิบัติจริงโดย การรวมกลุมปฏิบัติการ/ชุมชนปฏิบัติการ สรุปองคความรูของกลุม แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกลุม ยกระดับความรู/สรางองคความรูใหมและจัดทําสารสนเทศเผยแพรความรู ดวยวิธีการที่หลากหลาย การวัดผลและประเมินผล จากการสังเกต ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีสวนรวม การใหความรวมมือ ในกลุมปฏิบัตกิ าร ผลงาน/ชิ้นงานจากการรวมกลุมปฏิบัติการ ใชวิธีการประเมินแบบมีสวนรวม ระหวางครู ผูเรียนและผูเกี่ยวของรวมกันประเมินตีคาความสามารถ ความสําเร็จกับเปาหมายที่ วางไว และระบุขอบกพรองที่ตองแกไข สวนที่ทําไดดีแลวก็พัฒนาใหดียิ่งขึ้นตอไป

-27คําอธิบายรายวิชา ทร 3104 การคิดเปน สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.4 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการคิดเปน ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ศึกษาความหมาย ความสําคัญ ของการคิดเปน การรวบรวมสภาพปญหา ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และคิดวิเคราะห โดยใชขอมูลดานตนเอง ดานวิชาการ และดานสังคม สิ่งแวดลอม มากําหนดแนวทางทางเลือกที่หลากหลายในการแกปญหาอยางมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุข การประยุกตใชอยางมีเหตุผลเหมาะสมกับตนเอง ครอบครัว และชุมชน/ สังคม ดานตนเอง เปนการพิจารณาขอมูลของตนเองเกี่ยวกับจุดออน จุดแข็ง ลักษณะนิสยั คานิยม ความตองการ ความรูพื้นฐาน ทรัพยากร สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี และจารีตประเพณีของ ตนเอง กอนตัดสินใจทําสิ่งใด ดานวิชาการ เปนความรูหลักวิชาการที่มีคนคิดสะสมไวแลว และมีความเกี่ยวของกับการ แกปญหา สามารถนํามาพิจารณาประกอบในการแกปญหาได ดานสังคมสิ่งแวดลอม เปนการพิจารณาการกระทําใด ๆ ของตนเองที่จะมีผลกระทบตอ คนอื่น และสิ่งแวดลอม การจัดประสบการณการเรียนรู ควรจัดใหผูเรียนไดฝกการวิเคราะห สังเคราะห และเก็บรวบรวมขอมูลในการแกปญ  หา อยางมีเหตุผล และหลักการที่ซับซอนจากสภาพจริง หรือเรื่องเกี่ยวกับชีวิตจริงของตนเอง หรือ สถานการณจริง หรือ กรณีศกึ ษา ที่ใชแกปญ  หาและตัดสินใจ อยางมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุข การวัดและประเมินผล วัดจากการเก็บรวบรวมขอมูล การคิดวิเคราะห การตัดสินใจแกปญหาจากขอมูลตาม ขอเท็จจริง

-28คําอธิบายรายวิชา ทร 3105 การวิจัยอยางงาย สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.5 มีความรู ความเขาใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอการวิจยั อยางงาย ศึกษาและฝกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้ ทบทวนความหมาย ความสําคัญการวิจัยอยางงาย กระบวนการและขั้นตอนของการ ดําเนินงาน สถิติงาย ๆ เพื่อการวิจยั เครื่องมือการวิจยั และการเขียนโครงการวิจัยอยางงาย ๆ ศึกษา ฝกทักษะ การวิจัยในบาน การเขียนรายงานวิจัย การนําเสนอและเผยแพรงานวิจัย การจัดประสบการณการเรียนรู จัดใหผูเรียนไดศึกษา คนควา เอกสารที่เกี่ยวของ การใชเทคโนโลยีเพื่อสืบคนขอมูล ฝกทักษะการสังเกตและคนหาปญหาที่พบในชีวิตประจําวัน / ในการประกอบอาชีพ / ในสาระที่เรียน การตั้งคําถาม การแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพือ่ น / ผูรู การคาดเดาคําตอบอยางมีเหตุผล / การ ตั้งสมมติฐาน การพิสูจน ทดสอบสมมติฐาน การออกแบบเพื่อพิสูจน / ทดสอบ การฝกปฏิบัติการ เขียนโครงการวิจัยตามหลักการ การเก็บรวบรวมขอมูล การสรางเครื่องมือ การวิเคราะหขอมูลโดย ใชสถิติที่เหมาะสมกับขอมูล การใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการวิเคราะหขอมูล การนําเสนอขอมูล การสรุปขอมูลและเขียนรายงานผลตามหลักการ การเผยแพรขอคนพบดวยวิธีการหลากหลาย การวัดผลประเมินผล จากการสังเกต ความสนใจ การมีสวนรวม ความรวมมือ จากผลงาน / ชิ้นงานที่ มอบหมายใหฝกปฏิบัติ ในระหวางเรียน และการสอบปลายภาคเรียน

-29-

รายละเอียด คําอธิบายรายวิชาบังคับ

-30รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 1101 การเรียนรูดวยตนเอง สาระทักษะการเรียนรู ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชัว่ โมง) มาตรฐานที่ 1.1 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการเรียนรูดวยตนเอง ที่

หัวเรื่อง

1 การเรียนรู ดวยตนเอง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

1. บอกความหมาย ตระหนัก และเห็น ความสําคัญของการ เรียนรูดว ยตนเอง 2. กําหนดเปาหมาย และวางแผนการเรียนรู ดวยตนเอง 3. มีทักษะพื้นฐานทาง การศึกษาหาความรู ทักษะการแกปญหา และเทคนิคในการ เรียนรูดว ยตนเอง (การอาน การฟง การ สังเกต การจํา และ การจดบันทึก) 4. สามารถอธิบาย ปจจัย ที่ทําใหการ เรียนรูดว ยตนเอง ประสบความสําเร็จ

1. ความหมาย ความสําคัญของการ เรียนรูดว ยตนเอง 2. การกําหนดเปาหมายและ วางแผนการเรียนรูดว ยตนเอง 3. ทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหา ความรู ทักษะการแกปญหา และ เทคนิคในการเรียนรูดวยตนเอง (การอาน การฟง การสังเกต การจํา และการจดบันทึก) 4. ปจจัย ที่ทําใหการเรียนรูดว ย ตนเองประสบความสําเร็จ

จํานวน (ชั่วโมง) 6 9 15

10

-31รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 1102 การใชแหลงเรียนรู สาระทักษะการเรียนรู ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.2 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการใชแหลงเรียนรู ที่

หัวเรื่อง

2

การใช แหลงเรียนรู

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

1. บอกความหมาย และ เห็นความสําคัญของ แหลงเรียนรูโดยทัว่ ไป 2. อธิบายถึงความสําคัญ ของการใชแหลงเรียนรู 3. บอกและยกตัวอยาง ประเภทของแหลงเรียนรู 4. เลือกและบอกวิธีการ เขาถึงแหลงเรียนรู 5. ยกตัวอยางการใชแหลง เรียนรูของตนเอง 6. อธิบายหรือยกตัวอยาง การใชขอมูลสารสนเทศ จากหองสมุดประชาชนที่ สอดคลองกับความ ตองการ ความจําเปนเพื่อ นําไปใชเปนแนวทางใน การเรียนรูของตนเองได

1. ความหมาย ความสําคัญของ แหลงเรียนรูโดยทัว่ ไป (กลุม บริการขอมูล กลุมศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร กลุมขอมูลทองถิ่น กลุมสื่อ และกลุมสันทนาการ) 2. การเขาถึงและเลือกใชแหลง เรียนรู (หองสมุดประชาชนอําเภอ ของสถานศึกษา และ ศรช.) 3. บทบาทหนาที่และการบริการ ของแหลงเรียนรูดานตาง ๆ 4. กฎ กติกา เงือ่ นไขตาง ๆ ในการ ไปขอใชบริการแหลงเรียนรู 5. ทักษะการใชขอมูลสารสนเทศ จากหองสมุดประชาชนที่ สอดคลองกับความตองการ ความจําเปนเพือ่ นําไปใชในการ เรียนรูของตนเอง

จํานวน (ชั่วโมง) 5

10

5 5 15

-32รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 1103 การจัดการความรู สาระทักษะการเรียนรู ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.3 มีความรูความเขาใจ ทักษะและเจตคติทดี่ ตี อการจัดการความรู ที่ 3

หัวเรื่อง การจัดการ ความรู

จํานวน (ชั่วโมง) 6 1. ความหมาย ความสําคัญ ประโชน 1. บอกความหมาย ความสําคัญ ประโยชน และหลักการของการจัดการความรู 6 และหลักการของการ 2. กระบวนการจัดการความรู 6 จัดการความรู 3. การรวมกลุม เพื่อตอยอดความรู 12 2. อธิบายกระบวนการ 4. การพัฒนาขอบขายความรู การจัดการความรู ของกลุม 10 3. เลือกแนวทางในการ 5. การจัดทําสารสนเทศเผยแพร ใชการจัดการความรู ความรู เปนเครื่องมือในการ เรียนรูดว ยตนเอง 4. อธิบายจัดการ ความรูโดย กระบวนการกลุม 5. อธิบายการใช สารสนเทศเปน เครื่องมือในการ เผยแพรองคความรู ตัวชี้วัด

เนื้อหา

-33รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 1104 การคิดเปน สาระทักษะการเรียนรู ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.4 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการคิดเปน ที่ 4

หัวเรื่อง การคิดเปน

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

1. บอกความหมายและ ความสําคัญของการ คิดเปน และปรัชญา คิดเปน 2. สรุปสภาพปญหา และขอเท็จจริงที่ เกี่ยวของกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และ ประเทศชาติ 3. วิเคราะหปญ  หา โดย ใชขอมูลดานตนเอง ดานวิชาการ และดาน สังคมสิ่งแวดลอม มาประกอบการคิด 4. อธิบายแนวทาง การแกปญหาไดอยาง เปนระบบ มีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุข

1. ความหมาย ความสําคัญของ การคิดเปน และปรัชญาคิดเปน 2. การรวบรวมสภาพปญหา 3. การวิเคราะหสาเหตุของปญหา 4. การวิเคราะหทางเลือกในการ แกปญหา 5. การตัดสินใจเลือกแนวทางที่ เหมาะสมกับตนเองและแกปญ  หา ไดอยางเปนระบบ มีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรมและมีความสุข

จํานวน (ชั่วโมง) 6 6 8 10 10

-34รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 1105 การวิจัยอยางงาย สาระทักษะการเรียนรู ระดับประถมศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.5 มีความรู ความเขาใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอการวิจัยอยางงาย ที่ 5

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

การวิจัยอยางงาย 1. อธิบายความหมาย และเห็นความสําคัญ ของการวิจยั อยางงาย 2. วิเคราะหและ กําหนดปญหาหรือสิ่ง ที่ตองการคําตอบ 3. อธิบายกระบวนการ และขั้นตอนการวิจัย 4. ปฏิบัติการสังเกต ปญหา การระบุปญหา การตั้งสมมติฐาน การ เก็บรวบรวมขอมูล การ สรุปขอมูลและ การเขียนรายงานการ วิจัยอยางงาย 5. บอกความสัมพันธ ของการวิจยั กับการ นําไปใชในชีวติ

เนื้อหา 1. ความหมายและความสําคัญของ การวิจยั อยางงาย 2. กระบวนการและขั้นตอนของการ ดําเนินงานวิจยั อยางงาย 3. การเขียนรายงานการวิจยั อยางงาย

จํานวน (ชั่วโมง) 5 20 15

-35รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 2101 การเรียนรูดวยตนเอง สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.1 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการเรียนรูดวยตนเอง ที่ 1

หัวเรื่อง การเรียนรู ดวยตนเอง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

1. อธิบายความหมาย ตระหนักและเห็น ความสําคัญของการ เรียนรูดว ยตนเอง 2. กําหนดเปาหมาย และวางแผนการเรียนรู ดวยตนเอง 3. มีทักษะพื้นฐานทาง การศึกษาหาความรู ทักษะการแกปญหา และเทคนิคในการ เรียนรูดว ยตนเอง ไดอยางคลองแคลว รวดเร็ว 4. อธิบายปจจัยที่ทําให การเรียนรูดว ยตนเอง ประสบความสําเร็จ 5. วางแผนการเรียนรู และการประเมินผล การเรียนรูดว ยตนเอง

1. ความหมาย ความสําคัญ ของ การเรียนรูดว ยตนเอง 2. การกําหนดเปาหมายและการวาง แผนการเรียนรูดวยตนเอง 3. ทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหา ความรู ทักษะการแกปญหา และ เทคนิคในการเรียนรูดวยตนเอง (การอาน การฟง การสังเกต การจํา และการจดบันทึก) 4. ปจจัยที่ทําใหการเรียนรูดว ย ตนเองประสบความสําเร็จ 5. การวางแผนการเรียนรู และ การ ประเมินผลการเรียนรูดวยตนเอง 6. การฝกทักษะวางแผนการเรียนรู และการประเมินผลการเรียนรูดวย ตนเอง การวิจารณ

จํานวน (ชั่วโมง) 3 3 3

3 8 20

-36รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 2102 การใชแหลงเรียนรู สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.2 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการใชแหลงเรียนรู ที่

หัวเรื่อง

2

การใช แหลงเรียนรู

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

1. อธิบายความหมาย ความสําคัญของการใช หองสมุดอําเภอ 2. บอกการเขาถึงสารสนเทศ ของหองสมุดประชาชน 3. อธิบายแหลงเรียนรู หอสมุดแหงชาติ หอสมุด วิทยาลัย/มหาวิทยาลัย หองสมุดเฉพาะ หองสมุด โรงเรียน พิพิธภัณฑ อุทยาน แหงชาติ แหลงเรียนรูสําคัญ อื่น ๆ ในประเทศ 4. วางแผนการใชแหลงเรียนรู ตามความตองและความ จําเปนของตนเอง 5. อธิบายและปฏิบัติการใช อินเทอรเน็ต และการเขาถึง ขอมูลสารสนเทศที่ตองการ และสนใจไดอยางแคลวคลอง

1. ความหมาย ความสําคัญ ของการใชหองสมุดอําเภอ 2. การเขาถึงสารสนเทศของ หองสมุดประชาชน 3. แหลงเรียนรู หอสมุด แหงชาติ หอสมุดวิทยาลัย/ มหาวิทยาลัย หองสมุดเฉพาะ หองสมุดโรงเรียน พิพิธภัณฑ อุทยานแหงชาติ แหลงเรียนรูสําคัญอื่น ๆ ในประเทศ 4. การใชอินเทอรเน็ต การ เขาถึงขอมูลสารสนเทศที่ ตองการและสนใจ

จํานวน (ชั่วโมง) 5 5 10

20

-37รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 2103 การจัดการความรู สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.3 มีความรูความเขาใจ ทักษะและเจตคติทดี่ ีตอการจัดการความรู ที่

หัวเรื่อง

3 การจัดการ ความรู

จํานวน (ชั่วโมง) 5 1. อธิบายความหมาย 1. ความหมาย ความสําคัญ หลักการ ความสําคัญ หลักการ กระบวนการจัดการความรู กระบวนการจัดการ การรวมกลุมเพื่อตอยอดความรู ความรู การรวมกลุม การพัฒนาขอบขายความรูของกลุม เพื่อตอยอดความรู และการจัดทําสารสนเทศเผยแพร ความรู การพัฒนาขอบขาย 20 ความรูของกลุม และ 2. การฝกทักษะกระบวนการจัดการ การจัดทําสารสนเทศ ความรูดวยตนเอง และ เผยแพรความรู กระบวนการจัดการความรูดว ยการ 2. มีทักษะการจัดการ รวมกลุมปฏิบัติการ 15 ความรูดวยตนเอง และ 3. สรุปองคความรูของกลุม จัดทํา สารสนเทศองคความรูในการพัฒนา กระบวนการจัดการ ตนเอง ครอบครัว ความรูดานการ รวมกลุมปฏิบัติการ ตัวชี้วัด

เนื้อหา

-38รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 2104 การคิดเปน สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.4 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการคิดเปน ที่

หัวเรื่อง

4 การคิดเปน

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

1. อธิบาย ความหมาย ความสําคัญ ของการ คิดเปน และปรัชญา คิดเปน 2. ปฏิบัติการรวบรวม สภาพปญหา ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และ การคิดวิเคราะห โดยใช ขอมูลดานตนเอง ดาน วิชาการ และดานสังคม สิ่งแวดลอม 3. วางแผนการแกปญหา อยางเปนระบบโดยใช กระบวนการคิดเปน 4. กําหนดแนวทาง ทางเลือกที่หลากหลายใน การแกปญหา 4. อธิบายความหมาย ความสําคัญของขอมูล การประกอบอาชีพอิสระ

1. ความหมาย ความสําคัญ ของการ คิดเปน และปรัชญาคิดเปน 2. การรวบรวมสภาพปญหา ของ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และการ คิดวิเคราะห โดยใชขอมูลดาน ตนเอง ดานวิชาการ และดานสังคม สิ่งแวดลอม 3. การวางแผนการแกปญหาอยาง เปนระบบ 4. การกําหนดแนวทางทางเลือกที่ หลากหลายในการแกปญหา อยาง มีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุข 5. ความหมาย ความสําคัญของ ขอมูลการประกอบอาชีพอิสระและ อาชีพแรงงานในสถานประกอบการ ตั้งแตในอดีต ปจจุบันและแนวโนม ในอนาคต 6. การวิเคราะห SWOT

จํานวน (ชั่วโมง) 5 5

6 6

8

10

-39มาตรฐานที่ 1.4 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการคิดเปน ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด และอาชีพแรงงานใน สถานประกอบการ 3. ปฏิบัติการวิเคราะห SWOT และการขยาย อาชีพ

เนื้อหา (จุดแข็ง จุดออน อุปสรรคและ โอกาส ความมั่นคงของอาชีพ แรงงานในสถานประกอบการ การ ขยายอาชีพของตนเอง และคูแขง

จํานวน (ชั่วโมง)

-40รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 2105 การวิจัยอยางงาย สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.5 มีความรู ความเขาใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอการวิจยั อยางงาย ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

5 การวิจัยอยางงาย 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญการวิจัย อยางงาย 2. อธิบายกระบวนการ และขั้นตอนของการ วิจัยอยางงาย 3. บอกความสัมพันธ ของกระบวนการวิจยั กับการนําไปใชในชีวิต 4. กําหนดวิธีการหา ความรูความจริง 5 ปฏิบัติการสืบคน ขอมูลเพื่อความชัดเจน ในปญหาวิจยั

เนื้อหา 1. ความหมาย ความสําคัญการวิจัย อยางงาย กระบวนการและขัน้ ตอน ของการวิจยั อยางงาย 2.. สถิติงาย ๆ เพื่อการวิจัย 3. เครื่องมือการวิจัย 4. การเขียนโครงการวิจยั อยางงาย

จํานวน (ชั่วโมง) 9

9 10 12

-41รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 3101 การเรียนรูดวยตนเอง สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.1 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการเรียนรูดวยตนเอง ที่

หัวเรื่อง

1 การเรียนรู ดวยตนเอง

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ และ กระบวนการของการ เรียนรูดว ยตนเองได 2. ปฏิบัติการฝกทักษะ พื้นฐานทางการศึกษา หาความรู ทักษะการ แกปญหา และเทคนิค ในการเรียนรูด วย ตนเอง และการวาง แผนการเรียนรู และ การประเมินผลการ เรียนรูดว ยตนเอง 3. อธิบายทักษะการพูด 4. อธิบายการทํา แผนผังความคิด 5. อธิบายปจจัย ที่ทํา ใหการเรียนรูด วย ตนเองประสบ ความสําเร็จ

1. ความหมาย ความสําคัญ และ กระบวนการของการเรียนรูดว ย ตนเอง 2. ทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหา ความรู ทักษะการแกปญหาและ เทคนิคในการเรียนรูดวยตนเอง รวมทั้งการวางแผนการเรียนรู และ การประเมินผลการเรียนรูดว ย ตนเอง 3. การวางแผนการเรียนรู และการ ประเมินผลการเรียนรูดวยตนเอง 4. ทักษะการพูด 5. การทําแผนผังความคิด 6. ปจจัย ที่ทําใหการเรียนรูดว ย ตนเองประสบความสําเร็จ 7. การแสวงหาความรูดวยตนเอง ประมวลความรู และสรุปเปน สารสนเทศ

จํานวน (ชั่วโมง) 5

5

5 10 5 10

-42รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 3101 การเรียนรูดวยตนเอง สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.1 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการเรียนรูดวยตนเอง ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด 6. นําเสนอการ แสวงหาความรู ดวยตนเอง ประมวล ความรู และสรุปเปน สารสนเทศ

เนื้อหา

จํานวน (ชั่วโมง)

-43รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 3102 การใชแหลงเรียนรู สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.2 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการใชแหลงเรียนรู ที่

หัวเรื่อง

3 การใช แหลงเรียนรู

จํานวน (ชั่วโมง) 1. อธิบายความหมาย 1. ความหมาย ความสําคัญ ประเภท 10 ความสําคัญ ประเภท แหลงเรียนรู การใชหองสมุด แหลงเรียนรู การใช ประชาชนอําเภอ การเขาถึง สารสนเทศหองสมุดประชาชน หองสมุดประชาชน หองสมุดอื่น ๆ แหลงเรียนรูอ ื่น ๆ ที่ อําเภอ การเขาถึง สารสนเทศหองสมุด สําคัญ รวมทั้งการใชอินเตอรเน็ต ประชาชน หองสมุด เพื่อการเรียนรูข องตนเอง อื่น ๆ แหลงเรียนรู 15 2. การสํารวจแหลงเรียนรูภายใน อื่น ๆ ที่สําคัญ รวมทั้ง ชุมชน จัดกลุม ประเภท และ การใชอินเตอรเน็ตเพื่อ ความสําคัญของแหลงเรียนรู 15 การเรียนรูของตนเอง 3. การศึกษาเรียนรูกับภูมิปญญา 2. สํารวจและนําเสนอ ปราชญ ผูรูในทองถิ่น แหลงเรียนรูภายใน ชุมชน จัดกลุม ประเภท และ ความสําคัญของแหลง เรียนรู 3. ปฏิบัติการเรียนรูกับ ภูมิปญญา ปราชญ ผูรู ในทองถิ่นได ตัวชี้วัด

เนื้อหา

-44รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 3103 การจัดการความรู สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.3 มีความรูความเขาใจ ทักษะและเจตคติทดี่ ีตอการจัดการความรู ที่

หัวเรื่อง

3 การจัดการ ความรู

จํานวน (ชั่วโมง) 10 1. อธิบายความหมาย 1. ความหมาย ความสําคัญ หลักการ ความสําคัญ หลักการ กระบวนการจัดการความรู การ กระบวนการจัดการ รวมกลุมเพื่อตอยอดความรู การ ความรู การรวมกลุม พัฒนาขอบขายความรูของกลุม การ เพื่อตอยอดความรู การ จัดทําสารสนเทศเผยแพรความรู 15 พัฒนาขอบขายความรู 2. ทักษะกระบวนการจัดการความรู ของกลุม การจัดทํา ดวยตนเองและดวยการรวมกลุม สารสนเทศเผยแพร ปฏิบัติการ 15 ความรู 3. สารสนเทศองคความรูใน การพัฒนาตนเอง ครอบครัว 2. ปฏิบัติการดาน ทักษะกระบวนการ จัดการความรูด วย ตนเองและดวยการ รวมกลุมปฏิบัติการ 3. สรุปองคความรูของ กลุม จัดทําสารสนเทศ องคความรูในการ พัฒนาตนเอง ครอบครัวได ตัวชี้วัด

เนื้อหา

-45รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 3104 การคิดเปน สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.4 มีความรูความเขาใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีตอการคิดเปน ที่

หัวเรื่อง

4 การคิดเปน

ตัวชี้วัด

เนื้อหา

1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ ของการ คิดเปน และปรัชญา คิดเปน 2. รวบรวมและ วิเคราะหสภาพปญหา ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และ คิด วิเคราะห โดยใช ขอมูลดานตนเอง ดาน วิชาการ และดาน สังคมสิ่งแวดลอมได 3. วางแผนการ แกปญหาอยางเปน ระบบ 4. กําหนดแนวทาง ทางเลือกที่หลากหลาย ในการแกปญหาอยางมี เหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมี ความสุข

1.ความหมาย ความสําคัญ ของการ คิดเปน และปรัชญาคิดเปน 2. การรวบรวมและวิเคราะหสภาพ ปญหา ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และคิดวิเคราะห โดยใชขอมูลดาน ตนเอง ดานวิชาการ และดานสังคม สิ่งแวดลอม 3. การกําหนดแนวทางทางเลือกที่ หลากหลายในการแกปญหาอยางมี เหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมี ความสุข การประยุกตใชอยางมี เหตุผลเหมาะสมกับตนเอง ครอบครัว และชุมชน/สังคม

จํานวน (ชั่วโมง) 6 14

20

-46รายละเอียดคําอธิบายรายวิชา ทร 3105 การวิจัยอยางงาย สาระทักษะการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 1 หนวยกิต (40 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.5 มีความรู ความเขาใจ ทักษะ และเจตคติที่ดีตอการวิจยั อยางงาย ที่

หัวเรื่อง

ตัวชี้วัด

5 การวิจัยอยางงาย 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ กระบวนการ และขั้นตอนของการวิจยั อยางงาย ความสัมพันธของ กระบวนการวิจัยกับการ นําไปใชในชีวติ 2. กําหนดวิธีการหาความรู ความจริง 3. ปฏิบัติการสืบคนขอมูลเพื่อ ความชัดเจนในปญหาวิจัย 4. อธิบาย สถิติงาย ๆ เพื่อ การวิจยั และสรางเครื่องมือ การวิจยั อยางงาย 5. ปฏิบัติการเขียน โครงการวิจัยอยางงาย เกี่ยวกับการวิจัยในบาน การเขียนรายงานวิจยั การ นําเสนอและเผยแพรงานวิจยั

เนื้อหา 1. ความหมาย ความสําคัญการ วิจัยอยางงาย กระบวนการและ ขั้นตอนของการวิจัยอยางงาย 2. สถิติงาย ๆ เพื่อการวิจยั 3. การสรางเครื่องมือการวิจยั 4. การเขียนโครงการวิจยั อยางงาย 5. ทักษะการวิจัยในบาน การ เขียนรายงานวิจัย การนําเสนอ และเผยแพรงานวิจยั

จํานวน (ชั่วโมง)

-47-

ภาคผนวก

-48-

นิยามศัพท เจตคติ หมายถึง สภาพความรูสึกทางดานจิตใจที่เกิดจากประสบการณและการเรียนรูของ บุคคลอันเปนผลทําใหเกิด มีทาทีหรือมีความคิดเห็น รูสึกตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งในลักษณะที่ชอบ หรือ ไมชอบ เห็นดวยหรือไมเห็นดวย ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถสูงสุดที่เปนไปไดของบุคคล สัตว สิ่งของนั้น ๆ ไดรับการ บํารุงสงเสริม อยางเต็มที่ และถูกตองทั้งทางกายและทางจิต ผังมโนทัศน หมายถึง ภาพที่ปรากฏภายในใจของแตละคน แมจะมองไมเห็นแตะตองไมได แตทุกคนก็ทราบดีวาภายในใจของคนมีภาพตาง ๆ ปรากฏอยู เชน ภาพของตนไม ภูเขา ทุงนา ความอดยาก ความสนุกสนาน คําอธิบายรายวิชา หมายถึง ขอมูลรายละเอียดของแตละรายวิชา ประกอบดวยมาตรฐานการ เรียนรู เนื้อหาสาระ เวลาเรียน รหัสวิชา ชื่อวิชา จํานวนหนวยกิต ระดับการศึกษา เพื่อใชเปนกรอบ ทิศทาง ที่ผูสอนใชในการวางแผน และออกแบบการเรียนรู สาระการเรียนรู หมายถึง องคความรู ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะสําคัญรวมไวใน มาตรฐานการเรียนรู ซึ่งผูเรียนตองรูและปฏิบัติได การเรียนรูดวยตนเอง หมายถึง กระบวนการเรียนรูที่บุคคลริเริ่มการเรียนรูดวยตนเองตาม ความสนใจ ความตองการ และความถนัด มีเปาหมาย รูจักแสวงหาแหลงทรัพยากรการเรียนรู เลื อ กวิ ธี ก ารเรี ย นรู จนถึ ง ประเมิ น ความก าวหนา ของการเรี ย นรูข องตนเอง โดยจะดํา เนิ น การ ดวยตนเองหรือรวมมือชวยเหลือกับผูอื่นหรือไมก็ได การใชแหลงเรียนรู หมายถึง การที่บุคคลเห็นความสําคัญและรูจักใชแหลงเรียนรู ประกอบการเรียนรู การจัดการความรู หมายถึง การรวบรวม สราง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยนและประยุกตใช ความรูของบุคคล ชุมชน คิดเปน หมายถึง การแสวงหาแนวทางแกไขปญหาโดยใชขอมูลตนเอง สังคม และวิชาการ อยางเปนกระบวนการเพื่อใชประกอบการตัดสินใจ การวิจัยอยางงาย หมายถึง การวิจัยของบุคคลที่ทําการวิจัยเล็ก ๆ เพื่อปรับปรุงและพัฒนา งานและการแกปญหาของตนหรือชุมชน

-49-

คณะผูจัดทํา ที่ปรึกษา นายอภิชาติ ดร.ทองอยู ดร.ชัยยศ นางพรทิพย ผูเขารวมประชุม นายกิตติเกษม นางอัชราภรณ นางศิริพรรณ นายสมชาย นางสาวสุวิชา นายกัญจยโชติ นางสาวมนตสุดา ดร.รุงอรุณ คณะทํางาน นางดุษฎี นางพรทิพย นางสาวชนิตา นางสาวอนงค นางสาวสมถวิล ดร.รุงอรุณ นางสาวชาลินี ผูรับผิดชอบ ดร.รุงอรุณ

จีระวุฒิ แกวไทรฮะ อิ่มสุวรรณ กลารบ

เลขาธิการ กศน. ที่ปรึกษา ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการพัฒนาหลักสูตร ผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

ใจซื่อ โควคชาภรณ สายหงษ ฐิติรัตนอัศว อินหนองฉาง สหพัฒนสมบัติ เกรียงไกร ไสยโสภณ

ศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญ ศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญ ขาราชการบํานาญ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กศน. อําเภอสันกําแพง จ. เชียงใหม กศน. อําเภอบางปะกง จ. ฉะเชิงเทรา กศน. อําเภอปาโมก จ. อางทอง กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

ศรีวัฒนาโรทัย เข็มทอง จิตตธรรม เชื้อนนท ศรีจันทรวิโรจน ไสยโสภณ ธรรมธิษา

กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

ไสยโสภณ

กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

Related Documents

Learn
June 2020 18
Learn
November 2019 37
Learn!
November 2019 38
Learn To Learn .pdf
June 2020 22
Learn 42
June 2020 2
Learn Wordxp
November 2019 13