Labor Law

  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Labor Law as PDF for free.

More details

  • Words: 8,337
  • Pages: 94
รวมกฎหมายแรงงานและความปลอดภัยในการทํางาน

สารบัญ หนา 1.

กฎหมายคุมครองแรงงาน 1.1 พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน 2541 หมวด 1 บททั่วไป หมวด 2 การใชแรงงานทั่วไป หมวด 3 การใชแรงงานหญิง หมวด 4 การใชแรงงานเด็ก หมวด 5 คาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด หมวด 6 คณะกรรมการคาจาง หมวด 7 สวัสดิการ หมวด 8 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน หมวด 9 การควบคุม หมวด 10 การพักงาน หมวด 11 คาชดเชย หมวด 12 การยื่นคํารอง และการพิจารณาคํารอง หมวด 13 กองทุนสงเคราะหลูกจาง หมวด 14 พนักงานตรวจแรงงาน หมวด 15 การสงหนังสือ หมวด 16 บทกําหนดโทษ บทเฉพาะกาล 1.2 คําชี้แจงของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่องการบังคับใชพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 ฉบับที่ 1 1.3 พระราชกฤษฎีกา กําหนดงานที่ใหมีการคุมครองแรงงานแตกตางไปจาก พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 1.4 กฎกระทรวง (2541) วาดวยนายจางที่พระราชบัญญัติคุมครองแรงงานพ.ศ.2541 ไมใชบังคับ 1.5 กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (2541) วาดวยกําหนดเวลาทํางานปกติและงาน และงานที่อาจเปนอันตรายตอสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจาง 1.6 กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (2541) วาดวยอัตราชั่วโมงทํางานลวงเวลาและชั่วโมงทํางานในวันหยุด 1.7 กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (2541) วาดวยงานที่ไมอาจใหลูกจางหยุดทํางานในวันหยุดประเพณี 1.8 กฎกระทรวง ฉบับที่ 5 (2541) วาดวยการลาเพื่อฝกอบรม 1.9 กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (2541) วาดวยงานหามมิใหลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุ ตํ่ากวาสิบแปดปทํา 1.10 กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (2541) วาดวยงานที่กําหนดใหการคุมครอง แตกตางไปจากพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 กําหนด 1.11 กฎกระทรวง ฉบับที่ 8 (2541) วาดวยงานเฝาดูแลสถานที่หรือทรัพยสิน 1.12 กฎกระทรวง ฉบับที่ 9 (2541) วาดวยงานที่พระราชบัญญัติคุมครองแรงงานมิใหใชบังคับ 1.13 กฎกระทรวง ฉบับที่ 10 (2541) วาดวยงานประมงทะเล 1.14 กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (2541) วาดวยงานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเล 1.15 กฎกระทรวง ฉบับที่ 12 (2541) วาดวยงานดวยงานขนสงทางบก 1.16 ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการ เรียกหรือรับเงินประกันการทํางานฯ จากลูกจาง 1.17 ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง วันแรงงานแหงชาติ 1.18 ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง มาตรฐานและ หลักเกณฑเพื่อความปลอดภัยในการทํางานในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาฯ

1-1 1-3 1-6 1-8 1-9 1-10 1-15 1-18 1-20 1-21 1-23 1-24 1-26 1-27 1-31 1-31 1-32 1-34 1-37 1-40 1-43 1-44 1-45 1-46 1-47 1-48 1-50 1-53 1-55 1-57 1-61 1-66 1-68 1-70 1-71

รวมกฎหมายแรงงานและความปลอดภัยในการทํางาน

หนา 1.19 ระเบียบกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม วาดวยหลักเกณฑและวิธีการ เพื่อใหไดมาซึ่งผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางในคณะกรรมการ ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 1.20 ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่องกําหนดสถานที่ที่ให นายจางแจงการดําเนินการตอพนักงานตรวจแรงงาน 1.21 ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่องแบบแจงการจาง แบบบันทึกการเปลี่ยนแปลงสภาพ การจาง และแบบสิ้นสุดการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดป 1.22 ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่องหลักเกณฑและวิธีการ ในการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ 1.23 แบบใบอนุญาตใหลูกจางซึ่งเปนเด็กทํางานในเวลาทํางานปกติฯ 1.24 ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่องชวงเวลาการทํางาน ในวันทํางานปกติและในวันหยุดในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาฯ 1.25 ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่องกําหนดระยะเวลาทํางาน ปกติและหลักเกณฑการจายคาจางในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาฯ 1.26 พระราชบัญญัติ แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย(ฉบับที่ 13) พ.ศ.2541

1-76

1-80 1-82 1-83 1-87 1-88 1-89 1-90

กฎหมายคุมครองแรงงาน

พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๔๑ เปนปที่ ๕๓ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ให ประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑“ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา ๓ ใหยกเลิก (๑) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๐๓ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ (๒) พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๐๓ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบับที่ ๑) พ.ศ. ๒๕๓๓ บรรดากฎหมาย กฎ และขอบังคับอื่นในสวนที่มีบัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัด หรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ๔ พระราชบัญญัตินี้มิใหใชบังคับแก (๑) ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค และราชการสวนทองถิ่น (๒) รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ นอกจากกรณีตามวรรคหนึ่ง จะออกกฎกระทรวงมิใหใชบังคับพระราชบัญญัตินี้ทั้งหมดหรือแต บางสวนแกนายจางประเภทหนึ่งประเภทใดก็ได ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม ๑๑๕ ตอนที่ ๘ ก วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๔๑

1-1

กฎหมายคุมครองแรงงาน

มาตรา ๕ ในพระราชบัญญัตินี้ “นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางใหและหมายความรวมถึง (๑) ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนนายจาง (๒) ในกรณีทนี่ ายจางเปนนิติบุคคลใหหมายความรวมถึงผูมีอํานาจ กระทําการแทนนิติบุคคล และผูซึ่งไดรับมอบหมายจากผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคลใหทําการแทนดวย (๓) ในกรณีที่ผูประกอบกิจการไดวาจางดวยวิธีเหมาคาแรง โดยมอบใหบุคคลหนึ่งบุคคลใดรับ ชวงไปควบคุมดูแลการทํางานและรับผิดชอบจายคาจางใหแกลูกจางอีกทอดหนึ่งก็ดี มอบหมายใหบุคคล หนึง่ บุคคลใดเปนผูจัดหาลูกจางมาทํางาน อันมิใชการประกอบธุรกิจจัดหางานก็ดี โดยการทํางานนั้นเปน สวนหนึง่ สวนใดหรือทั้งหมดในกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบของผูประกอบกิจการ ใหถือ วาผูป ระกอบกิจการเปนนายจางของลูกจางดังกลาวดวย “ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหนายจางโดยรับคาจางไมวาจะเรียกชื่ออยางไร “ผูว า จาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงวาจางบุคคลอีกบุคคลหนึ่งใหดําเนินงานทั้งหมดหรือแต บางสวนของงานใดเพื่อประโยชนแกตนเอง โดยจะจายสินจางตอบแทนผลสําเร็จแหงการงานที่ทํานั้น “ผูร บั เหมาชัน้ ตน” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับจะดําเนินงานทั้งหมดหรือแตบางสวนของงานใด จนสําเร็จประโยชนของผูวาจาง “ผูร บั เหมาชวง” หมายความวา ผูซึ่งทําสัญญากับผูรับเหมาชั้นตนโดยรับจะดําเนินงานทั้งหมด หรือแตบางสวนของงานใดในความรับผิดชอบของผูรับเหมาชั้นตนเพื่อประโยชนแกผูวาจาง และหมาย ความรวมถึงผูซึ่งทําสัญญากับผูรับเหมาชวงเพื่อรับชวงงานในความรับผิดชอบของผูรับเหมาชวง ทั้งนี้ ไม วาจะรับเหมาชวงกันกี่ชวงก็ตาม “สัญญาจาง” หมายความวา สัญญาไมวาเปนหนังสือหรือดวยวาจาระบุชัดเจนหรือเปนที่เขาใจ โดยปริยายซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกวาลูกจางตกลงจะทํางานใหแกบุคคลอีกบุคคลหนึ่งเรียกวานายจางและนาย จางตกลงจะใหคาจางตลอดเวลาที่ทํางานให “วันทํางาน” หมายความวา วันที่กําหนดใหลูกจางทํางานตามปกติ “วันหยุด” หมายความวา วันที่กําหนดใหลูกจางหยุดประจําสัปดาห หยุดตามประเพณี หรือ หยุดพักผอนประจําป “วันลา” หมายความวา วันที่ลูกจางลาปวย ลาเพื่อทําหมัน ลาเพื่อกิจธุระอันจําเปน ลาเพื่อรับ ราชการทหาร ลาเพื่อการฝกอบรมหรือพัฒนาความรูความสามารถหรือลาเพื่อคลอดบุตร “คาจาง” หมายความวา เงินที่นายจางและลูกจางตกลงกันจายเปนคาตอบแทนในการทํางาน ตามสัญญาจางสําหรับระยะเวลาการทํางานปกติเปนรายชั่วโมง รายวัน รายสัปดาห รายเดือน หรือระยะ เวลาอืน่ หรือจายใหโดยคํานวณตามผลงานที่ลูกจางทําไดในเวลาทํางานปกติของวันทํางาน และใหหมาย ความรวมถึงเงินที่นายจางจายใหแกลูกจางในวันหยุดและวันลาที่ลูกจางมิไดทํางาน แตลูกจางมีสิทธิไดรับ ตามพระราชบัญญัตินี้ “คาจางในวันทํางาน” หมายความวา คาจางที่จายสําหรับการทํางานเต็มเวลาการทํางานปกติ “อัตราคาจางขั้นตํ่า” หมายความวา อัตราคาจางที่คณะกรรมการคาจางกําหนดตามพระราช บัญญัตินี้ “อัตราคาจางขั้นตํ่าพื้นฐาน” หมายความวา อัตราคาจางที่คณะกรรมการคาจางกําหนดเพื่อใช เปนพืน้ ฐานในการกําหนดอัตราคาจางขั้นตํ่า 1-2

กฎหมายคุมครองแรงงาน

“การทํางานลวงเวลา” หมายความวา การทํางานนอกหรือเกินเวลาทํางานปกติหรือเกินชั่วโมง ทํางานในแตละวันที่นายจางลูกจางตกลงกันตามมาตรา ๒๓ ในวันทํางานหรือวันหยุด แลวแตกรณี “คาลวงเวลา” หมายความวา เงินที่นายจางจายใหแกลูกจางเปนการตอบแทนการทํางานลวง เวลาในวันทํางาน “คาทํ างานในวันหยุด” หมายความวา เงินที่นายจางจายใหแกลูกจางเปนการตอบแทนการ ทํางานในวันหยุด “คาลวงเวลาในวันหยุด” หมายความวา เงินที่นายจางจายใหแกลูกจางเปนการตอบแทนการ ทํางานลวงเวลาในวันหยุด “คาชดเชย” หมายความวา เงินที่นายจางจายใหแกลูกจางเมื่อเลิกจางนอกเหนือจากเงินประเภท อืน่ ซึง่ นายจางตกลงจายใหแกลูกจาง “คาชดเชยพิเศษ” หมายความวา เงินที่นายจางจายใหแกลูกจางเมื่อสัญญาจางสิ้นสุดลง เพราะมี เหตุกรณีพิเศษที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้ “เงินสะสม” หมายความวา เงินที่ลูกจางจายเขากองทุนสงเคราะหลูกจาง “เงินสมทบ” หมายความวา เงินที่นายจางจายสมทบใหแกลูกจางเพื่อสงเขาสมทบกองทุน สงเคราะหลูกจาง “พนักงานตรวจแรงงาน” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “อธิบดี” หมายความวา อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๖ ใหรฐั มนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมรักษาการตามพระราชบัญญัติ

นี้ และใหมีอํานาจแตงตั้งพนักงานตรวจแรงงาน กับออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ การแตงตัง้ พนักงานตรวจแรงงาน จะกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่และเงื่อนไขในการปฏิบัติหนา ที่ดวยก็ได กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได หมวด ๑ บททั่วไป มาตรา ๗ การเรียกรองหรือการไดมาซึ่งสิทธิหรือประโยชนตามพระราชบัญญัตินี้ ไมเปนการ ตัดสิทธิหรือประโยชนที่ลูกจางพึงไดตามกฎหมายอื่น มาตรา ๘ ใหรัฐมนตรีมีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ซึ่งมีคุณวุฒิไมตํ่ากวาปริญญาตรีทาง นิติศาสตร เพื่อมีอํานาจฟองคดีหรือแกตางคดีแรงงานใหแกลูกจางหรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึง แกความตาย และเมื่อกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมแจงใหศาลทราบแลว ก็ใหมีอํานาจกระทําการ ไดจนคดีถึงที่สุด มาตรา ๙ ในกรณีทนี่ ายจางไมคืนเงินประกันตามมาตรา ๑๐ วรรคสองหรือไมจายคาจาง คา 1-3

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุดภายในเวลาที่กําหนดตามมาตรา ๗๐ หรือคา ชดเชยตามมาตรา ๑๑๘ คาชดเชยพิเศษตามมาตรา ๑๒๐ มาตรา ๑๒๑ และมาตรา ๑๒๒ ใหนายจางเสีย ดอกเบีย้ ใหแกลูกจางในระหวางเวลาผิดนัดรอยละสิบหาตอป ในกรณีที่นายจางจงใจไมคืนหรือไมจายเงินตามวรรคหนึ่งโดยปราศจากเหตุผลอันสมควร เมื่อ พนกําหนดเวลาเจ็ดวันนับแตวันที่ถึงกําหนดคืนหรือจาย ใหนายจางเสียเงินเพิ่มใหแกลูกจางรอยละสิบหา ของเงินที่คางจายทุกระยะเวลาเจ็ดวัน ในกรณีที่นายจางพรอมที่จะคืนหรือจายเงินตามวรรคหนึ่งและวรรคสองและไดนําเงินไปมอบไว แกอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายเพื่อจายใหแกลูกจาง นายจางไมตองเสียดอกเบี้ยหรือเงินเพิ่มตั้งแตวัน ทีน่ ายจางนําเงินนั้นไปมอบไว มาตรา ๑๐ ภายใตบังคับมาตรา ๕๑ วรรคสอง หามมิใหนายจางเรียกหรือรับเงินประกันการ ทํางานหรือเงินประกันความเสียหายในการทํางานจากลูกจางเวนแตลักษณะหรือสภาพของงานที่ทํานั้นลูก จางตองรับผิดชอบเกี่ยวกับการเงินหรือทรัพยสินของนายจาง ซึ่งอาจกอใหเกิดความเสียหายแกนายจางได ทัง้ นี้ ลักษณะหรือสภาพของงานที่ใหเรียกหรือรับเงินประกันจากลูกจางได ตลอดจนจํานวนเงินและวิธีการ เก็บรักษาใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด ในกรณีทนี่ ายจางเรียกหรือรับเงินประกัน หรือทําสัญญาประกันกับลูกจางเพื่อชดใชความเสียหาย ทีล่ กู จางเปนผูกระทํา เมื่อนายจางเลิกจาง หรือลูกจางลาออกหรือสัญญาประกันสิ้นอายุ ใหนายจางคืน เงินประกันพรอมดอกเบี้ย ถามี ใหแกลูกจางภายในเจ็ดวันนับแตวันที่นายจางเลิกจางหรือวันที่ลูกจางลาออก หรือวันที่สัญญาประกันสิ้นอายุ แลวแตกรณี มาตรา ๑๑ หนีท้ เี่ กิดจากการไมชําระคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด คาลวงเวลาใน วันหยุด คาชดเชย คาชดเชยพิเศษ เงินสะสม เงินสมทบ หรือเงินเพิ่มใหลูกจางหรือกรมสวัสดิการและคุม ครองแรงงาน แลวแตกรณี มีบุริมสิทธิเหนือทรัพยสินทั้งหมดของนายจางซึ่งเปนลูกหนี้ในลําดับเดียวกับ บุรมิ สิทธิในคาภาษีอากรตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๒ ในกรณีทนี่ ายจางเปนผูรับเหมาชวง ใหผูรับเหมาชวงถัดขึ้นไป หากมีตลอดสายจน ถึงผูร บั เหมาชัน้ ตนรวมรับผิดกับผูรับเหมาชวงซึ่งเปนนายจางในคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด คาลวงเวลาในวันหยุด คาชดเชย คาชดเชยพิเศษ เงินสะสม เงินสมทบ หรือเงินเพิ่ม ใหผูรับเหมาชั้นตน หรือผูรับเหมาชวงตามวรรคหนึ่งมีสิทธิไลเบี้ยเงินที่ไดจายไปแลวตามวรรค หนึง่ คืนจากผูรับเหมาชวงซึ่งเปนนายจาง มาตรา ๑๓ ในกรณีทกี่ ิจการใดมีการเปลี่ยนแปลงตัวนายจางเนื่องจากการโอน รับมรดกหรือ ดวยประการอืน่ ใด หรือในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล และมีการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง โอน หรือควบ กับนิตบิ คุ คลใด สิทธิตางๆ ที่ลูกจางมีอยูตอนายจางเดิมเชนใดใหลูกจางมีสิทธิเชนวานั้นตอไป และใหนาย จางใหมรับไปทั้งสิทธิและหนาที่อันเกี่ยวกับลูกจางนั้นทุกประการ มาตรา ๑๔ ใหนายจางปฏิบัติตอลูกจางใหถูกตองตามสิทธิและหนาที่ ที่กําหนดไวในประมวล 1-4

กฎหมายคุมครองแรงงาน

กฎหมายแพงและพาณิชย เวนแตพระราชบัญญัตินี้กําหนดไวเปนอยางอื่น มาตรา ๑๕ ใหนายจางปฏิบัติตอลูกจางชายและหญิงโดยเทาเทียมกันในการจางงาน เวนแต ลักษณะหรือสภาพของงานไมอาจปฏิบัติเชนนั้นได มาตรา ๑๖ หามมิใหนายจางหรือผูซึ่งเปนหัวหนางาน ผูควบคุมงาน หรือผูตรวจงานกระทําการ ลวงเกินทางเพศตอลูกจางซึ่งเปนหญิงหรือเด็ก มาตรา ๑๗ สัญญาจางยอมสิ้นสุดลงเมื่อครบกําหนดระยะเวลาในสัญญาจาง โดยมิตองบอก กลาวลวงหนา ในกรณีทสี่ ญ ั ญาจางไมมีกําหนดระยะเวลา นายจางหรือลูกจางอาจบอกเลิกสัญญาจาง โดยบอก กลาวลวงหนาเปนหนังสือใหอีกฝายหนึ่งทราบในเมื่อถึงหรือกอนจะถึงกําหนดจายคาจางคราวหนึ่งคราวใด เพือ่ ใหเปนผลเลิกสัญญากันเมื่อถึงกําหนดจายคาจางคราวถัดไปขางหนาก็ได แตไมจําเปนตองบอกกลาว ลวงหนาเกินสามเดือน ในกรณีที่นายจางเปนฝายบอกเลิกสัญญาจาง ถานายจางไมไดระบุเหตุผลไวในหนังสือบอกเลิก สัญญาจาง นายจางจะยกเหตุตามมาตรา ๑๑๙ ขึ้นอางในภายหลังไมได การบอกเลิกสัญญาจางตามวรรคสอง นายจางอาจจายคาจางใหตามจํานวนที่จะตองจายจนถึง เวลาเลิกสัญญาตามกําหนดที่บอกกลาว และใหลูกจางออกจากงานทันทีได และใหถือวาการจายคาจางให แกลกู จางตามวรรคนี้ เปนการจายสินจางใหแกลูกจางตามมาตรา ๕๘๒ แหงประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย การบอกกลาวลวงหนาตามมาตรานี้ไมใชบังคับแกการเลิกจางตามมาตรา ๑๑๙ แหงพระราช บัญญัตนิ ี้ และมาตรา ๕๘๓ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๘ ในกรณีทพี่ ระราชบัญญัตินี้กําหนดใหนายจางตองแจงการดําเนินการอยางหนึ่ง อยางใดตอพนักงานตรวจแรงงาน ใหนายจางแจงดวยตนเอง แจงโดยทางไปรษณีย หรือแจงโดยทางโทร สาร แลวแตกรณี ณ สถานที่ที่อธิบดีประกาศกําหนด มาตรา ๑๙ เพือ่ ประโยชนในการคํานวณระยะเวลาการทํางานของลูกจางตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนบั วันหยุด วันลา ที่นายจางอนุญาตใหหยุดงานเพื่อประโยชนของลูกจาง และวันที่นายจางสั่งใหลูกจาง หยุดงานเพือ่ ประโยชนของนายจาง รวมเปนระยะเวลาการทํางานของลูกจางดวย มาตรา ๒๐ การทีล่ กู จางไมไดทํางานติดตอกันโดยนายจางมีเจตนาที่จะไมใหลูกจางนั้นมีสิทธิ ใดตามพระราชบัญญัตนิ ี้ ไมวานายจางจะใหลูกจางทํางานในหนาที่ใดและการจางแตละชวงมีระยะเวลาหาง กันเทาใดก็ตาม ใหนับระยะเวลาการทํางานทุกชวงเขาดวยกัน เพื่อประโยชนในการไดสิทธิของลูกจางนั้น มาตรา ๒๑ ในกรณีทพี่ ระราชบัญญัตินี้กําหนดใหนายจางตองดําเนินการอยางหนึ่งอยางใด ที่ ตองเสียคาใชจาย ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายเพื่อการนั้น 1-5

กฎหมายคุมครองแรงงาน

มาตรา ๒๒ งานเกษตรกรรม งานประมงทะเล งานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเล งานทีร่ บั ไปทําทีบ่ าน งานขนสง และงานอื่นตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกาจะกําหนดในกฎกระทรวง ใหมกี ารคุมครองแรงงานกรณีตาง ๆ แตกตางไปจากพระราชบัญญัตินี้ก็ได หมวด ๒ การใชแรงงานทั่วไป มาตรา ๒๓ ใหนายจางประกาศเวลาทํางานปกติใหลูกจางทราบ โดยกําหนดเวลาเริ่มตนและ เวลาสิน้ สุดของการทํางานแตละวันของลูกจางไดไมเกินเวลาทํางานของแตละประเภทงาน ตามที่กําหนด ในกฎกระทรวง แตวันหนึ่งตองไมเกิดแปดชั่วโมงและเมื่อรวมเวลาทํางานทั้งสิ้นแลวสัปดาหหนึ่งตองไม เกินสีส่ บิ แปดชั่วโมง เวนแตงานที่อาจเปนอันตรายตอสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจางตามที่กําหนด ในกฎกระทรวง จะมีเวลาทํางานปกติวันหนึ่งตองไมเกินเจ็ดชั่วโมง แตเมื่อรวมเวลาทํางานทั้งสิ้นแลว สัปดาหหนึ่งไมเกินสี่สิบสองชั่วโมง ในกรณีที่นายจางไมอาจประกาศกําหนดเวลาเริ่มตนและเวลาสิ้นสุดของการทํางานแตละวันได เนือ่ งจากลักษณะหรือสภาพของงาน ใหนายจางและลูกจางตกลงกันกําหนดชั่วโมงทํางานแตละวันไมเกิน แปดชัว่ โมง และเมื่อรวมเวลาทํางานทั้งสิ้นแลวสัปดาหหนึ่งตองไมเกินสี่สิบแปดชั่วโมง มาตรา ๒๔ หามมิใหนายจางใหลูกจางทํางานลวงเวลาในวันทํางานเวนแตไดรับความยินยอม จากลูกจางกอนเปนคราว ๆ ไป ในกรณีที่ลักษณะหรือสภาพของงานตองทําติดตอกันไปถาหยุดจะเสียหายแกงานหรือเปนงาน ฉุกเฉิน หรือเปนงานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง นายจางอาจใหลูกจางทํางานลวงเวลาไดเทาที่จําเปน มาตรา ๒๕ หามมิใหนายจางใหลูกจางทํางานในวันหยุด เวนแตในกรณีที่ลักษณะหรือสภาพ ของงานตองทําติดตอกันไป ถาหยุดจะเสียหายแกงาน หรือเปนงานฉุกเฉินนายจางอาจใหลูกจางทํางาน ในวันหยุดไดเทาที่จําเปน นายจางอาจใหลูกจางทํางานในวันหยุดได สําหรับกิจกรรมโรงแรม สถานมหรสพ งานขนสง รานขายอาหาร รานขายเครื่องดื่ม สโมสร สมาคม สถานพยาบาล หรือกิจการอื่นตามที่กําหนดในกฎ กระทรวง เพือ่ ประโยชนแกการผลิต การจําหนาย และการบริการ นายจางอาจใหลูกจางทํางาน นอกจากที่ กําหนดตามวรรคหนึ่งและวรรคสองในวันหยุดเทาที่จําเปน โดยไดรับความยินยอมจากลูกจางกอนเปน คราว ๆ ไป มาตรา ๒๖ ชัว่ โมงทํางานลวงเวลาตามมาตรา ๒๔ วรรคหนึ่งและชั่วโมงทํางานในวันหยุดตาม มาตรา ๒๕ วรรคสองและวรรคสาม เมื่อรวมแลวจะตองไมเกินอัตราตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๗ ในวันทีม่ กี ารทํางาน ใหนายจางจัดใหลูกจาง มีเวลาพักระหวางการทํางานวันหนึ่ง ไมนอ ยกวาหนึ่งชั่วโมงหลังจากที่ลูกจางทํางานมาแลวไมเกินหาชั่วโมงติดตอกัน นายจางและลูกจางอาจ 1-6

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ตกลงกันลวงหนาใหมีเวลาพักครั้งหนึ่งนอยกวาหนึ่งชั่วโมงได แตเมื่อรวมกันแลววันหนึ่งตองไมนอยกวา หนึ่งชั่วโมง ในกรณีทนี่ ายจางและลูกจางตกลงกันกําหนดเวลาพักระหวางการทํางาน ตามวรรคหนึ่งเปนอยาง อืน่ ถาขอตกลงนั้นเปนประโยชนแกลูกจาง ใหขอตกลงนั้นใชบังคับได เวลาพักระหวางการทํางานไมใหนับรวมเปนเวลาทํางาน เวนแตเวลาพักที่รวมกันแลวในวันหนึ่ง เกินสองชัว่ โมง ใหนับเวลาที่เกินสองชั่วโมงนั้นเปนเวลาทํางานปกติ ในกรณีที่มีการทํางานลวงเวลาตอจากเวลาทํางานปกติไมนอยกวาสองชั่วโมงนายจางตองจัดให ลูกจางมีเวลาพักไมนอยกวายี่สิบนาทีกอนที่ลูกจางเริ่มทํางานลวงเวลา ความในวรรคหนึ่งและวรรคสี่มิใหใชบังคับแกกรณีที่ลูกจางทํางานที่มีลักษณะหรือสภาพของงาน ตองทําติดตอกันไป โดยไดรับความยินยอมจากลูกจางหรือเปนงานฉุกเฉิน มาตรา ๒๘ ใหนายจางจัดใหลูกจางมีวันหยุดประจําสัปดาห สัปดาหหนึ่งไมนอยกวาหนึ่งวัน โดยวันหยุดประจํ าสัปดาหตองมีระยะหางกันไมเกินหกวัน นายจางและลูกจางอาจตกลงกันลวงหนา กําหนดใหมีวันหยุดประจําสัปดาหวันใดก็ได ในกรณีทลี่ กู จางทํางานโรงแรม งานขนสง งานในปา งานในที่ทุรกันดาร หรืองานอื่นตามที่ กําหนดในกฎกระทรวง นายจางและลูกจางอาจตกลงกันลวงหนาสะสมวันหยุดประจําสัปดาหและเลื่อนไป หยุดเมื่อใดก็ได แตตองอยูในระยะเวลาสี่สัปดาหติดตอกัน มาตรา ๒๙ ใหนายจางประกาศกําหนดวันหยุดตามประเพณีใหลูกจางทราบเปนการลวงหนา ปหนึง่ ไปนอยกวาสิบสามวันโดยรวมวันแรงงานแหงชาติตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด ใหนายจางพิจารณากําหนดวันหยุดตามประเพณีจากวันหยุดราชการประจําป วันหยุดทางศาสนา หรือขนบธรรมเนียมประเพณีแหงทองถิ่น ในกรณีที่วันหยุดตามประเพณีวันใดตรงกับวันหยุดประจําสัปดาหของลูกจางใหลูกจางไดหยุดชด เชยวันหยุดตามประเพณีในวันทํางานถัดไป ในกรณีทนี่ ายจางไมอาจใหลูกจางหยุดตามประเพณีได เนื่องจากลูกจางทํางานที่มีลักษณะหรือ สภาพของงานตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ใหนายจางตกลงกับลูกจางวา จะหยุดในวันอื่นชดเชยวันหยุด ตามประเพณีหรือนายจางจะจายคาทํางานในวันหยุดใหก็ได มาตรา ๓๐ ลูกจางซึ่งทํางานติดตอกันมาแลวครบหนึ่งปมีสิทธิหยุดพักผอนประจําปไดปหนึ่ง ไมนอยกวาหกวันทํางานโดยใหนายจางเปนผูกําหนดวันหยุดดังกลาวใหแกลูกจางลวงหนาหรือกําหนดให ตามที่นายจางและลูกจางตกลงกัน ในปตอ มานายจางอาจกําหนดวันหยุดพักผอนประจําปใหแกลูกจางมากกวาหกวันทํางานก็ได นายจางและลูกจางอาจตกลงกันลวงหนาใหสะสมและเลื่อนวันหยุดพักผอนประจํ าปที่ยังมิได หยุดในปนั้นรวมเขากับปตอ ๆ ไปได สําหรับลูกจางซึ่งทํางานยังไมครบหนึ่งป นายจางอาจกําหนดวันหยุดพักผอนประจําปใหแกลูก จางโดยคํานวณใหตามสวนก็ได

1-7

กฎหมายคุมครองแรงงาน

มาตรา ๓๑ หามมิใหนายจางใหลูกจางทํางานลวงเวลาหรือทํางานในวันหยุดในงานที่อาจเปน อันตรายตอสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจางตามมาตรา ๒๓ วรรคหนึ่ง มาตรา ๓๒ ใหลกู จางมีสิทธิลาปวยไดเทาที่ปวยจริง การลาปวยตั้งแตสามวันทํางานขึ้นไป นายจางอาจใหลูกจางแสดงใบรับรองของแพทยแผนปจจุบันชั้นหนึ่ง หรือของสถานพยาบาลของทาง ราชการ ในกรณีที่ลูกจางไมอาจแสดงใบรับรองของแพทยแผนปจจุบันชั้นหนึ่งหรือของสถานพยาบาลของ ทางราชการได ใหลูกจางชี้แจงใหนายจางทราบ ในกรณีทนี่ ายจางจัดแพทยไว ใหแพทยนั้นเปนผูออกใบรับรอง เวนแตลูกจางไมสามารถให แพทยนั้นตรวจได วันที่ลูกจางไมสามารถทํ างานไดเนื่องจากประสบอันตรายหรือเจ็บปวยที่เกิดขึ้นเนื่องจากการ ทํางาน และวันลาเพื่อคลอดบุตรตามมาตรา ๔๑ มิใหถือเปนวันลาปวยตามมาตรานี้ มาตรา ๓๓ ใหลกู จางมีสิทธิลาเพื่อทําหมันไดและมีสิทธิลาเนื่องจากการทําหมันตามระยะเวลา ทีแ่ พทยแผนปจจุบันชั้นหนึ่งกําหนดและออกใบรับรอง มาตรา ๓๔ ใหลูกจางมีสิทธิลาเพื่อกิจธุระอันจําเปนไดตามขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน มาตรา ๓๕ ใหลูกจางมีสิทธิลาเพื่อรับราชการทหารในการเรียกพลเพื่อตรวจสอบ เพื่อฝกวิชา ทหาร หรือเพื่อทดลองความพรั่งพรอมตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร มาตรา ๓๖ ใหลูกจางมีสิทธิลาเพื่อการฝกอบรมหรือพัฒนาความรูความสามารถตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๗ หามมิใหนายจางใหลูกจางทํางานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนัก เกินอัตรานํ้าหนักตามที่กําหนดในกฎกระทรวง หมวด ๓ การใชแรงงานหญิง มาตรา ๓๘ หามมิใหนายจางใหลูกจางซึ่งเปนหญิงทํางานอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ (๑) งานเหมืองแรหรืองานกอสรางที่ตองทําใตดิน ใตนํ้า ในถํ้า ในอุโมงค หรือปลองในภูเขา เวนแตลักษณะของงานไมเปนอันตรายตอสุขภาพหรือรางกายของลูกจางนั้น (๒) งานทีต่ องทําบนนั่งรานที่สูงกวาพื้นดินตั้งแตสิบเมตรขึ้นไป (๓) งานผลิตหรือขนสงวัตถุระเบิดหรือวัตถุไวไฟ (๔) งานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

1-8

กฎหมายคุมครองแรงงาน

มาตรา ๓๙ หามมิใหนายจางใหลูกจางซึ่งเปนหญิงมีครรภทํางานในระหวางเวลา ๒๒.๐๐ นาฬิกา ถึงเวลา ๐๖.๐๐ นาฬิกา ทํางานลวงเวลา ทํางานในวันหยุด หรือทํางานอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ (๑) งานเกี่ยวกับเครื่องจักรหรือเครื่องยนตที่มีความสั่นสะเทือน (๒) งานขับเคลื่อนหรือติดไปกับยานพาหนะ (๓) งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักเกินสิบหากิโลกรัม (๔) งานที่ทําในเรือ (๕) งานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๐ ในกรณีทนี่ ายจางใหลูกจางซึ่งเปนหญิงทํางานระหวางเวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา ถึง เวลา ๐๖.๐๐ นาฬิกา และพนักงานตรวจแรงงานเห็นวางานนั้นอาจเปนอันตรายตอสุขภาพและความ ปลอดภัยของหญิงนั้น ใหพนักงานตรวจแรงงานรายงานตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย เพื่อพิจารณา และมีคาสั ํ ง่ ใหนายจางเปลี่ยนเวลาทํางานหรือลดชั่วโมงทํางานไดตามที่เห็นสมควร และใหนายจางปฏิบัติ ตามคําสั่งดังกลาว มาตรา ๔๑ ใหลกู จางซึ่งเปนหญิงมีครรภมีสิทธิลาเพื่อคลอดบุตรครรภหนึ่งไมเกินเกาสิบวัน วันลาตามวรรคหนึ่ง ใหนับรวมวันหยุดที่มีในระหวางวันลาดวย มาตรา ๔๒ ในกรณีทลี่ ูกจางซึ่งเปนหญิงมีครรภมีใบรับรองของแพทยแผนปจจุบันชั้นหนึ่งมา แสดงวาไมอาจทํางานในหนาที่เดิมตอไปได ใหลูกจางนั้นมีสิทธิขอใหนายจางเปลี่ยนงานในหนาที่เดิมเปน การชัว่ คราวกอนหรือหลังคลอดได และใหนายจางพิจารณาเปลี่ยนงานที่เหมาะสมใหแกลูกจางนั้น มาตรา ๔๓ หามมิใหนายจางเลิกจางลูกจางซึ่งเปนหญิงเพราะเหตุมีครรภ หมวด ๔ การใชแรงงานเด็ก มาตรา ๔๔ หามมิใหนายจางจางเด็กอายุตํ่ากวาสิบหาปเปนลูกจาง มาตรา ๔๕ ในกรณีที่มีการจางเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดปเปนลูกจาง ใหนายจางปฏิบัติดังนี้ (๑) แจงการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กนั้นตอพนักงานตรวจแรงงานภายในสิบหาวันนับแตวันที่เด็ก เขาทํางาน (๒) จัดทําบันทึกสภาพการจางกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเก็บไว ณ สถานประกอบกิจ การหรือสํานักงานของนายจาง พรอมที่จะใหพนักงานตรวจแรงงานตรวจไดในเวลาทําการ (๓) แจงการสิน้ สุดการจางซึ่งเปนเด็กนั้นตอพนักงานตรวจแรงงานภายในเจ็ดวันนับแตวันที่เด็ก ออกจากงาน การแจงหรือการจัดทําบันทึกตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามแบบที่อธิบดีกําหนด 1-9

กฎหมายคุมครองแรงงาน

มาตรา ๔๖ ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งเปนเด็กมีเวลาพักวันหนึ่งไมนอยกวาหนึ่งชั่วโมงติดตอกัน หลังจากที่ลูกจางทํางานมาแลวไมเกินสี่ชั่วโมง แตในสี่ชั่วโมงนั้นใหลูกจางซึ่งเปนเด็กไดมีเวลาพักตามที่ นายจางกําหนด มาตรา ๔๗ หามมิใหนายจางใหลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดป ทํางานในระหวางเวลา ๒๒.๐๐ นาฬิกา ถึงเวลา ๐๖.๐๐ นาฬิกา เวนแตจะไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดี มอบหมาย นายจางอาจใหลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดปและเปนผูแสดง ภาพยนตร ละคร หรือการ แสดงอยางอืน่ ทีค่ ลายคลึงกันทํางานในระหวางเวลาดังกลาวได ทั้งนี้ ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งเปนเด็กนั้น ไดพักผอนตามสมควร มาตรา ๔๘ หามมิใหนายจางใหลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดปทํางานลวงเวลาหรือ ทํางานในวันหยุด มาตรา ๔๙ หามมิใหนายจางใหลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดป ทํางานอยางหนึ่งอยาง ใดดังตอไปนี้ (๑) งานหลอม เปา หลอ หรือรีดโลหะ (๒) งานปมโลหะ (๓) งานเกี่ยวกับความรอน ความเย็น ความสั่นสะเทือน เสียง และแสงที่มีระดับแตกตางจาก ปกติ อันอาจเปนอันตรายตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (๔) งานเกี่ยวกับสารเคมีที่เปนอันตรายตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (๕) งานเกีย่ วกับจุลชีวันเปนพิษซึ่งอาจเปนเชื้อไวรัส แบคทีเรีย รา หรือเชื้ออื่นตามที่กําหนดใน กฎกระทรวง (๖) งานเกีย่ วกับวัตถุมีพิษ วัตถุระเบิด หรือวัตถุไวไฟ เวนแตงานในสถานีบริการนํ้ามันเชื้อเพลิง ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (๗) งานขับหรือบังคับรถยกหรือปนจั่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (๘) งานใชเลื่อยเดินดวยพลังไฟฟาหรือเครื่องยนต (๙) งานที่ตองทําใตดิน ใตนํ้า ในถํ้า อุโมงค หรือปลองในภูเขา (๑๐) งานเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสีตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (๑๑)งานทําความสะอาดเครื่องจักรหรือเครื่องยนตขณะที่เครื่องจักรหรือเครื่องยนตกําลังทํางาน (๑๒) งานที่ตองทําบนนั่งรานที่สูงกวาพื้นดินตั้งแตสิบเมตรขึ้นไป (๑๓) งานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๐ หามมิใหนายจางใหลูกจาง ซึ่งเปนเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดป ดังตอไปนี้ (๑) โรงฆาสัตว (๒) สถานที่เลนการพนัน (๓) สถานเตนรํา รําวง หรือรองเง็ง 1 - 10

ทํางานในสถานที่

กฎหมายคุมครองแรงงาน

(๔) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา นํ้าชา หรือเครื่องดื่มอยางอื่นจําหนายและบริการโดยมีผูบําเรอ สําหรับ ปรนนิบัติลูกคา หรือโดยมีที่สําหรับพักผอนหลับนอนหรือมีบริการนวดใหแกลูกคา (๕) สถานที่อื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๑ หามมิใหนายจางจายคาจางของลูกจางซึ่งเปนเด็กใหแกบุคคลอื่น หามมิใหนายจางเรียกหรือรับเงินประกันเพื่อการใดๆ จากฝายลูกจางซึ่งเปนเด็ก ในกรณีทนี่ ายจาง ลูกจางซึ่งเปนเด็ก บิดามารดาหรือผูปกครองของลูกจางซึ่งเปนเด็กจายหรือรับ เงินหรือประโยชนตอบแทนใด ๆ เปนการลวงหนากอนมีการจาง ขณะแรกจางหรือกอนถึงงวดการจายคา จางใหแกลกู จางซึ่งเปนเด็กในแตละคราว มิใหถือวาเปนการจายหรือรับคาจางสําหรับลูกจางซึ่งเปนเด็กนั้น และหามมิใหนายจางนําเงินหรือ ประโยชนตอบแทนดังกลาวมาหักจากคาจางซึ่งตองจายใหแกลูกจางซึ่ง เปนเด็กตามกําหนดเวลา มาตรา ๕๒ เพือ่ ประโยชนในการพัฒนาและสงเสริมคุณภาพชีวิตและการทํางานของเด็กใหลูก จางซึง่ เปนเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดป มีสิทธิลาเพื่อเขาประชุม สัมมนา รับการอบรม รับการฝกหรือลาเพื่อ การอืน่ ซึง่ จัดโดยสถานศึกษาหรือหนวยงานของรัฐหรือเอกชนที่อธิบดีเห็นชอบ โดยใหลูกจางซึ่งเปนเด็ก แจงใหนายจางทราบลวงหนาถึงเหตุที่ลาโดยชัดแจง พรอมทั้งแสดงหลักฐานที่เกี่ยวของ ถามี และใหนาย จางจายคาจางใหแกลูกจางซึ่งเปนเด็กเทากับคาจางในวันทํางานตลอดระยะเวลาที่ลา แตปหนึ่งตองไม เกินสามสิบวัน หมวด ๕ คาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด มาตรา ๕๓ ในกรณีที่งานมีลักษณะและคุณภาพอยางเดียวกันและปริมาณเทากันใหนายจาง กําหนดคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุดใหแกลูกจางเทาเทียมกัน ไมวา ลูกจางนั้นจะเปนชายหรือหญิง มาตรา ๕๔ ใหนายจางจายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด คาลวงเวลาในวันหยุดและ เงินผลประโยชนอนื่ เนื่องในการจาง บรรดาที่จายเปนเงินตองจายเงินตราไทย เวนแตไดรับความยินยอม จากลูกจางใหจายเปนตั๋วเงินหรือเงินตราตางประเทศ มาตรา ๕๕ ใหนายจางจายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด คาลวงเวลาในวันหยุดและ เงินผลประโยชนอื่นเนื่องในการจางใหแกลูกจาง ณ สถานที่ทํางานของลูกจาง ถาจะจาย ณ สถานที่อื่นหรือ ดวยวิธีอื่นตองไดรับความยินยอมจากลูกจาง มาตรา ๕๖ ใหนายจางจายคาจางใหแกลูกจางเทากับคาจางในวันทํ างานสํ าหรับวันหยุด ดังตอไปนี้ (๑) วันหยุดประจําสัปดาห เวนแตลูกจางซึ่งไดรับคาจางรายวัน รายชั่วโมง หรือตามผลงาน โดยคํานวณเปนหนวย 1 - 11

กฎหมายคุมครองแรงงาน

(๒) วันหยุดตามประเพณี (๓) วันหยุดพักผอนประจําป มาตรา ๕๗ ใหนายจางจายคาจางใหแกลูกจางในวันลาปวยตามมาตรา ๓๒ เทากับอัตรา คาจาง ในวันทํางานตลอดระยะเวลาที่ลา แตปหนึ่งตองไมเกินสามสิบวันทํางาน ในกรณีทลี่ กู จางใชสิทธิลาเพื่อทําหมันตามมาตรา ๓๓ ใหนายจางจายคาจางใหแกลูกจางในวันลา นั้นดวย มาตรา ๕๘ ใหนายจางจายคาจางใหแกลูกจางในวันลาเพื่อรับราชการทหารตามมาตรา ๓๕ เทา กับคาจางในวันทํางานตลอดระยะเวลาที่ลา แตปหนึ่งตองไมเกินหกสิบวัน มาตรา ๕๙ ใหนายจางจายคาจางใหแกลูกคาซึ่งเปนหญิงในวันลาเพื่อคลอดบุตรเทากับคาจาง ในวันทํางานตลอดระยะเวลาที่ลา แตไมเกินสี่สิบหาวัน มาตรา ๖๐ เพื่อประโยชนแกการจายคาจางตามมาตรา ๕๖ มาตรา ๕๗ มาตรา ๕๘ มาตรา ๕๙ มาตรา ๗๑ และมาตรา ๗๒ ในกรณีที่ลูกจางไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย ใหนาย จางจายคาจางในวันหยุดหรือวันลาเทากับคาจางโดยเฉลี่ยในวันทํางานที่ลูกจางไดรับในงวดการจายคาจาง กอนวันหยุดหรือวันลานั้น มาตรา ๖๑ ในกรณีทนี่ ายจางใหลูกจางทํางานลวงเวลาในวันทํางานใหนายจางจายคาลวงเวลา ใหแกลูกจางในอัตราไมนอยกวาหนึ่งเทาครึ่งของอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมงที่ทํา หรือไมนอยกวาหนึ่งเทาครึ่งของอัตราคาจางตอหนวยในวันทํางานตามจํานวนผลงานที่ทําไดสําหรับลูกจาง ซึง่ ไดรบั คาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย มาตรา ๖๒ ในกรณีทนี่ ายจางใหลูกจางทํางานในวันหยุดตามมาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ หรือ มาตรา ๓๐ ใหนายจางจายคาทํางานในวันหยุดใหแกลูกจางในอัตราดังตอไปนี้ (๑) สําหรับลูกจางซึ่งมีสิทธิไดรับคาจางในวันหยุด ใหจายเพิ่มขึ้นจากคาจางอีกไมนอยกวาหนึ่ง เทาของอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมงที่ทําหรือไมนอยกวาหนึ่งเทาของอัตราคาจาง ตอหนวยในวันทํางานตามจํานวนผลงานที่ทําไดสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปน หนวย (๒) สําหรับลูกจางซึ่งไมมีสิทธิไดรับคาจางในวันหยุด ใหจายไมนอยกวาสองเทาของอัตราคาจาง ตอชั่วโมงในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมงที่ทํา หรือไมนอยกวาสองเทาของอัตราคาจางตอหนวยในวัน ทํางานตามจํานวนผลงานที่ทําไดสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย มาตรา ๖๓ ในกรณีทนี่ ายจางใหลูกจางทํางานลวงเวลาในวันหยุดใหนายจางจายคาลวงเวลาใน วันหยุดใหแกลูกจางในอัตราไมนอยกวาสามเทาของอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมงที่ ทํา หรือไมนอยกวาสามเทาของอัตราคาจางตอหนวยในวันทํางานตามจํานวนผลงานที่ทําไดสําหรับลูกจาง ซึง่ ไดรบั คาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย 1 - 12

กฎหมายคุมครองแรงงาน

มาตรา ๖๔ ในกรณีทนี่ ายจางมิไดจัดใหลูกจางหยุดงาน หรือจัดใหลูกจางหยุดงานนอยกวาที่ กําหนดไวตามมาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ และมาตรา ๓๐ ใหนายจางจายคาทํางานในวันหยุดและคาลวงเวลา ในวันหยุดใหแกลูกจางตามอัตราที่กําหนดไวในมาตรา ๖๒ และมาตรา ๖๓ เสมือนวานาย จางใหลูกจาง ทํางานในวันหยุด มาตรา ๖๕ ลูกจางซึง่ มีอํานาจหนาที่หรือซึ่งนายจางใหทํางานอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ ไม มีสทิ ธิไดรบั คาลวงเวลาตามมาตรา ๖๑ และคาลวงเวลาในวันหยุดตามมาตรา ๖๓ แตลูกจางซึ่งนายจางให ทํางานตาม (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) หรือ (๘) มีสิทธิไดรับคาตอบแทนเปนเงินเทากับอัตราคาจาง ตอชัว่ โมงในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมงที่ทํา (๑) ลูกจางซึ่งมีอํานาจหนาที่ทําการแทนนายจางสําหรับกรณีการจางการใหบําเหน็จ การลดคา จาง หรือการเลิกจาง (๒) งานขบวนการจัดงานรถไฟ ซึ่งไดแกงานที่ทําบนขบวนรถและงานอํานวยความ สะดวกแก การเดินรถ (๓) งานเปดปดประตูนํ้าหรือประตูระบายนํ้า (๔) งานอานระดับนํ้าและวัดปริมาณนํ้า (๕) งานดับเพลิงหรืองานปองกันอันตรายสาธารณะ (๖) งานที่มีลักษณะหรือสภาพที่ตองออกไปทํางานนอกสถานที่ และโดยลักษณะหรือสภาพของ งานไมอาจกําหนดเวลาทํางานที่แนนอนได (๗) งานอยูเวรเฝาดูแลสถานที่หรือทรัพยสินอันมิใชหนาที่การทํางานตามปกติของลูกจาง (๘) งานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ทัง้ นี้ เวนแตนายจางตกลงจายคาลวงเวลาหรือคาลวงเวลาในวันหยุดใหแกลูกจาง มาตรา ๖๖ ลูกจางตามมาตรา ๖๕ (๑) ไมมีสิทธิไดรับคาจางทํางานตามมาตรา ๖๒ เวนแต นายจางตกลงจายคาทํางานในวันหยุดใหแกลูกจาง มาตรา ๖๗ ในกรณีที่นายจางเลิกจางโดยลูกจางมิไดมีความผิดตาม มาตรา ๑๑๙ ใหนายจาง จายคาจางใหแกลูกจางสําหรับวันหยุดพักผอนประจําปในปที่เลิกจางตามสวนของวันหยุดพักผอนประจําป ทีล่ กู จางพึงมีสิทธิ และรวมทั้งวันหยุดพักผอนประจําปสะสมตามมาตรา ๓๐ มาตรา ๖๘ เพือ่ ประโยชนแกการคํานวณคาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุดและคาลวงเวลาใน วันหยุด ในกรณีทลี่ ูกจางไดรับคาจางเปนรายเดือน อัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทํางานหมายถึงคาจางราย เดือนหารดวยผลคูณของสามสิบและจํานวนชั่วโมงทํางานในวันทํางานตอวันโดยเฉลี่ย มาตรา ๖๙ เพือ่ ประโยชนแกการคํานวณชั่วโมงทํางานลวงเวลาในกรณีที่นายจางกําหนดเวลา ทํางานปกติเปนสัปดาห ใหนับวันหยุดตามประเพณี วันหยุดพักผอน ประจําป และวันลา เปนวันทํางาน มาตรา ๗๐ ใหนายจางจายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุดและคาลวงเวลาในวันหยุด ใหถูกตองและตามกําหนดเวลาดังตอไปนี้ 1 - 13

กฎหมายคุมครองแรงงาน

(๑) ในกรณีทมี่ กี ารคํานวณคาจางเปนรายเดือน รายวัน รายชั่วโมงหรือเปนระยะเวลาอยางอื่นที่ ไมเกินหนึง่ เดือน หรือตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย ใหจายเดือนหนึ่งไมนอยกวาหนึ่งครั้ง เวนแตจะมี การตกลงกันเปนอยางอื่นที่เปนประโยชนแกลูกจาง (๒) ในกรณีที่มีการคํ านวณคาจางนอกจาก (๑) ใหจายตามกําหนดเวลาที่นายจางและลูกจาง ตกลงกัน (๓) คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุดใหจายเดือนหนึ่งไมนอยกวา หนึ่งครั้ง ในกรณีที่นายจางเลิกจางลูกจาง ใหนายจางจายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคา ลวงเวลาในวันหยุด ตามที่ลูกจางมีสิทธิไดรับ ใหแกลูกจางภายในสามวันนับแตวันที่เลิกจาง มาตรา ๗๑ ในกรณีทนี่ ายจางใหลูกจางเดินทางไปทํางานในทองที่อื่น นอกจากทองที่สําหรับการ ทํางานปกติในวันหยุด ใหนายจางจายคาจางเทากับคาจางในวันทํางานใหแกลูกจาง ซึ่งไมมีสิทธิไดรับ คาจางในวันหยุดตามมาตรา ๕๖ (๑) สําหรับการเดินทางนั้น มาตรา ๗๒ ในกรณีทนี่ ายจางใหลูกจางเดินทางไปทํางานในทองที่อื่น นอกจากทองที่สําหรับการ ทํางานปกติ ลูกจางไมมีสิทธิไดรับคาลวงเวลาตามมาตรา ๖๑ และคาลวงเวลาในวันหยุดตามมาตรา ๖๓ ในระหวางเดินทาง แตสําหรับการเดินทางในวันหยุดใหนายจางจายคาจางเทากับคาจางในวันทํางานใหแก ลูกจางซึง่ ไมมีสิทธิไดรับคาจางในวันหยุดตามมาตรา ๕๖ (๑) ดวย เวนแตนายจางตกลงจายคาลวงเวลา หรือคาลวงเวลาในวันหยุดใหแกลูกจาง มาตรา ๗๓ ใหนายจางออกคาใชจายสําหรับการเดินทางตามมาตรา ๗๑ และมาตรา ๗๒ มาตรา ๗๔ ในกรณีทนี่ ายจางตกลงจายคาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุดและคาลวงเวลาในวัน หยุด ในอัตราที่สูงกวากําหนดไวตามมาตรา ๖๑ มาตรา ๖๒ และมาตรา ๖๓ ก็ใหเปนไปตามขอตกลง ดังกลาว มาตรา ๗๕ ในกรณีที่นายจางมีความจําเปนตองหยุดกิจการทั้งหมด หรือบางสวน เปนการ ชัว่ คราวโดยเหตุหนึ่งเหตุใดที่มิใชเหตุสุดวิสัย ใหนายจางจายเงินใหแกลูกจางไมนอยกวารอยละหาสิบของ คาจางในวันทํางานที่ลูกจางไดรับกอนนายจางหยุดกิจการตลอดระยะเวลาที่นายจางไมไดใหลูกจางทํางาน ใหนายจางแจงใหลูกจางและพนักงานตรวจแรงงานทราบลวงหนากอนวันเริ่มหยุดกิจการตาม วรรคหนึ่ง มาตรา ๗๖ หามมิใหนายจางหักคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุดและคาลวงเวลาในวัน หยุด เวนแตเปนการหักเพื่อ (๑) ชําระภาษีเงินไดตามจํานวนที่ลูกจางตองจายหรือชําระเงินอื่นตามที่มีกฎหมายบัญญัติไว (๒) ชําระคาบํารุงสหภาพแรงงานตามขอบังคับของสหภาพแรงงาน (๓) ชําระหนี้สินสหกรณออมทรัพย หรือสหกรณอื่นที่มีลักษณะเดียวกันกับสหกรณ 1 - 14

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ออมทรัพย หรือหนี้ที่เปนไปเพื่อสวัสดิการที่เปนประโยชนแกลูกจางฝายเดียว โดยไดรับความยินยอมลวง หนาจากลูกจาง (๔) เปนเงินประกันตามมาตรา ๑๐ หรือชดใชคาเสียหายใหแกนายจาง ซึ่งลูกจางไดกระทําโดย จงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง โดยไดรับความยินยอมจากลูกจาง (๕) เปนเงินสะสมตามขอตกลงเกี่ยวกับกองทุนเงินสะสม การหักตาม (๒) (๓) (๔) และ (๕) ในแตละกรณีหามมิใหหักเกินรอยละสิบและจะหักรวมกัน ไดไมเกินหนึ่งในหาของเงินที่ลูกจางมีสิทธิไดรับตามกําหนดเวลาการจายตามมาตรา ๗๐ เวนแตไดรับ ความยินยอมจากลูกจาง มาตรา ๗๗ ในกรณีที่นายจางตองไดรับความยินยอมจากลูกจาง หรือมีขอตกลงกับลูกจางเกี่ยว กับการจายเงินตามมาตรา ๕๔ มาตรา ๕๕ หรือการหักเงินตามมาตรา ๗๖ นายจางตองจัดทําเปนหนังสือ และใหลกู จางลงลายมือชื่อในการใหความยินยอมหรือมีขอตกลงกันไวใหชัดเจนเปนการเฉพาะ หมวด ๖ คณะกรรมการคาจาง มาตรา ๗๘ ใหมคี ณะกรรมการคาจางประกอบดวย ปลัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เปนประธานกรรมการ ผูแทนฝายรัฐบาลสี่คน ผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางฝายละหาคน ซึ่ง คณะรัฐมนตรีแตงตั้งเปนกรรมการ และขาราชการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมซึ่งรัฐมนตรีแตง ตัง้ เปนเลขานุการ หลักเกณฑและวิธีการเพื่อใหไดมาซึ่งผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางตามวรรคหนึ่งให เปนไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนด มาตรา ๗๙ คณะกรรมการคาจางมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (๑) เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายคาจาง (๒) เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีเพื่อใหขอแนะนําภาคเอกชน เกี่ยวกับการกําหนดคาจาง และการปรับคาจางประจําป (๓) กําหนดอัตราคาจางขั้นตํ่าพื้นฐาน (๔) กําหนดอัตราคาจางขั้นตํ่าที่ลูกจางควรไดรับ ตามความเหมาะสมแกสภาพเศรษฐกิจและ สังคม (๕) เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีเพื่อพัฒนาระบบคาจาง (๖) ใหคาแนะนํ ํ าดานวิชาการและแนวทางการประสานประโยชนแกหนวยงานตาง ๆ ในภาค เอกชน (๗) รายงานเสนอรัฐมนตรีอยางนอยปละครั้งเกี่ยวกับภาวะคาจางและแนวโนมของคาจาง ตลอดจนมาตรการที่ควรจะไดดําเนินการ (๘) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติใหเปนอํานาจหนาที่ของ คณะกรรมการคาจางหรือตามที่คณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีมอบหมาย 1 - 15

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ในการเสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรี คณะกรรมการคาจางจะมีขอสังเกตเกี่ยวกับการพัฒนา ระบบรายไดของประเทศดวยก็ได มาตรา ๘๐ ใหกรรมการคาจางซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระดํารงตําแหนง คราวละสองป กรรมการซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งอีกได ในกรณีที่กรรมการคาจางซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งพนจากตําแหนงกอนวาระใหคณะรัฐมนตรีแตง ตั้งกรรมการในประเภทเดียวกันเปนกรรมการแทน และใหผูไดรับแตงตั้งอยูในตําแหนงเทากับวาระที่ เหลืออยูของกรรมการที่ตนแทน เวนแตวาระของกรรมการเหลืออยูไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวัน จะไมแตง ตั้งกรรมการแทนก็ได ในกรณีที่กรรมการคาจางซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งพนจากตําแหนงตามวาระแตยังมิไดมีการแตง ตัง้ กรรมการใหม ใหกรรมการนั้นปฏิบัติหนาที่ไปพลางกอน จนกวาจะไดแตงตั้งกรรมการใหมเขารับหนาที่ ซึง่ ตองแตงตั้งใหเสร็จสิ้นภายในเกาสิบวันนับแตวันที่กรรมการเดิมพนจากตําแหนง มาตรา ๘๑ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระตามมาตรา ๘๐ กรรมการคาจางซึ่งคณะ รัฐมนตรีแตงตั้งพนจากตําแหนงเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีใหออกเพราะขาดประชุมตามที่กําหนดสามครั้งติดตอกันโดยไมมีเหตุอันควร (๔) เปนบุคคลลมละลาย (๕) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ (๖) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทํา โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ มาตรา ๘๒ การประชุมคณะกรรมการคาจางตองมีกรรมการเขาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของ จํานวนกรรมการทั้งหมด โดยมีกรรมการฝายนายจางและฝายลูกจางอยางนอยฝายละหนึ่งคน จึงจะเปน องคประชุม ในการประชุมเพื่อพิจารณากําหนดอัตราคาจางขั้นตํ่าพื้นฐานหรืออัตราคาจางขั้นตํ่าตามมาตรา ๗๙ จะตองมีการเขาประชุมไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมด โดยมีกรรมการฝายนาย จางและฝายลูกจางอยางนอยฝายละสองคนจึงจะเปนองคประชุม และตองไดมติอยางนอยสองในสามของ กรรมการที่เขาประชุม ในการประชุมเพื่อพิจารณากําหนดอัตราคาจางขั้นตํ่าคราวใด ถาไมไดองคประชุมตามที่กําหนด ไวในวรรคสอง ใหจัดใหมีการประชุมอีกครั้งหนึ่งภายในสิบหาวันนับแตวันที่นัดประชุมครั้งแรก การ ประชุมครั้งหลังนี้แมจะไมมีกรรมการซึ่งมาจากฝายนายจางหรือฝายลูกจางเขารวมประชุม ถามีกรรมการ มาประชุมไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมด ก็ใหถือเปนองคประชุม และตองไดมติอยาง นอยสองในสามของกรรมการที่เขาประชุม มาตรา ๘๓ ในการประชุมคราวใด ถาประธานกรรมการไมอยูในที่ประชุมหรือไมอาจปฏิบัติ หนาทีไ่ ดใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม 1 - 16

กฎหมายคุมครองแรงงาน

การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่งในการลง คะแนน ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด มาตรา ๘๔ ใหคณะกรรมการคาจางมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการดังตอไปนี้เพื่อพิจารณา หรือปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดแทนคณะกรรมการได (๑) คณะอนุกรรมการอัตราคาจางขั้นตํ่า (๒) คณะอนุกรรมการอัตราคาจางขั้นตํ่าจังหวัด (๓) คณะอนุกรรมการอื่นที่คณะกรรมการเห็นสมควรกําหนด ใหคณะกรรมการคาจางกําหนดองคประชุมและวิธีดําเนินงานของคณะอนุกรรมการไดตามความ เหมาะสม มาตรา ๘๕ ในการปฏิบัติหนาที่ใหคณะกรรมการคาจาง หรือคณะอนุกรรมการหรือผูซึ่งคณะ กรรมการคาจางหรือคณะอนุกรรมการมอบหมายมีอํานาจดังตอไปนี้ (๑) มีหนังสือเรียกบุคคลใดมาใหถอยคําหรือใหสงเอกสารหรือวัตถุใดๆ มาเพื่อประกอบการ พิจารณาไดตามความจําเปน (๒) ใหหนวยงานหรือบุคคลใดใหความรวมมือในการสํารวจกิจการใด ๆ ที่อาจมีผลกระทบ กระเทือนตอเศรษฐกิจได (๓) เขาไปในสถานประกอบกิจการหรือสํานักงานของนายจางในเวลาทําการเพื่อศึกษา สํารวจ วิจยั ตรวจสอบ หรือสอบถามขอเท็จจริงเพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลที่จะใชในการพิจารณาตามมาตรา ๗๙ ใน การนี้ ใหนายจางหรือบุคคลซึ่งเกี่ยวของอํานวยความสะดวก สงหรือแสดงเอกสาร หรือใหขอเท็จจริงและ ไมขัดขวางการปฏิบัติการตามหนาที่ของบุคคลดังกลาว มาตรา ๘๖ ในการปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา ๘๕ ใหกรรมการคาจางอนุกรรมการ หรือผูซึ่งคณะ กรรมการคาจางหรือคณะอนุกรรมการมอบหมาย แสดงบัตรประจําตัวหรือหนังสือมอบหมาย แลวแตกรณี ตอบุคคลซึ่งเกี่ยวของ บั ต รประจํ าตั ว กรรมการค า จ า งและอนุ ก รรมการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามแบบที่ รัฐมนตรีกําหนด มาตรา ๘๗ ในการพิจารณากําหนดอัตราคาจางขั้นตํ่าและอัตราคาจางขั้นตํ่าพื้นฐานใหคณะ กรรมการคาจางศึกษาและพิจารณาขอเท็จจริงเกี่ยวกับอัตราคาจางที่ลูกจางไดรับอยูประกอบกับขอเท็จจริง อืน่ โดยเฉพาะอยางยิ่งดัชนีคาครองชีพ อัตราเงินเฟอ มาตรฐานการครองชีพ ตนทุนการผลิต ราคาของ สินคา ความสามารถของธุรกิจ ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ สภาพทางเศรษฐกิจและ สังคม การพิจารณากําหนดอัตราคาจางขั้นตํ่า จะกําหนดใหใชเฉพาะกิจการประเภทใดประเภทหนึ่งหรือ ทุกประเภทหรือในทองถิ่นใดทองถิ่นหนึ่งก็ได การพิจารณากําหนดอัตราคาจางขั้นตํ่าตองไมตํ่ากวาอัตราคาจางขั้นตํ่าพื้นฐาน ที่คณะกรรมการ คาจางกําหนด 1 - 17

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ถาไมมีการกํ าหนดอัตราคาจางขั้นตํ่ าในทองที่ใดใหถือวาอัตราคาจางขั้นตํ่ าพื้นฐานเปนอัตรา คาจางขั้นตํ่าของทองที่นั้น มาตรา ๘๘ เมือ่ ไดศึกษาขอมูลและขอเท็จจริงตางๆ ตามที่กําหนดไวใน มาตรา ๘๗ แลว ให คณะกรรมการคาจางกํ าหนดอัตราคาจางขั้นตํ่าพรอมทั้งรายละเอียดตางๆ ตามที่เห็นสมควรเสนอตอ รัฐมนตรีเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๘๙ ประกาศกําหนดอัตราคาจางขั้นตํ่าตามมาตรา ๘๘ ใหใชบังคับแกนายจางและลูก จาง ไมวานายจางและลูกจางนั้นจะมีสัญชาติ ศาสนา หรือเพศใด มาตรา ๙๐ เมือ่ ประกาศกําหนดอัตรคาจางขั้นตํ่ามีผลใชบังคับแลว หามมิใหนายจางจายคา จางแกลูกจางนอยกวาอัตราคาจางขั้นตํ่า ใหนายจางที่อยูในขายบังคับของประกาศกําหนดอัตราคาจางขั้นตํ่าปดประกาศดังกลาวไวในที่ เปดเผย เพื่อใหลูกจางไดทราบ ณ สถานที่ทํางานของลูกจาง ตลอดระยะเวลาที่ประกาศดังกลาวมีผลใช บังคับ มาตรา ๙๑ ใหมสี านั ํ กงานคณะกรรมการคาจางขึ้นในกระทรวงแรงงานแและสวัสดิการสังคม และใหมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (๑) จัดทําแผนงาน โครงการเสนอตอคณะกรรมการคาจางและคณะอนุกรรมการ (๒)ประสานแผนและการดําเนินการของคณะกรรมการคาจางและคณะอนุกรรมการ ตลอดจน หนวยงานที่เกี่ยวของ (๓) รวบรวม ศึกษา วิจัย วิเคราะห และประเมินสถานการณเศรษฐกิจ แรงงาน ภาวะการครอง ชีพ การขยายตัวของตลาดแรงงาน ผลิตภาพแรงงาน การลงทุน การยายถิ่นฐาน และขอมูลที่เกี่ยวของ เพือ่ เปนขอมูลประกอบพิจารณาของคณะกรรมการคาจางและคณะอนุกรรมการ (๔) เสนอแนะผลการศึกษา และผลการพิจารณาขอมูลทางวิชาการ และมาตรการเสริมอื่นๆ ตอ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อประโยชนในการพัฒนาระบบคาจาง และรายได (๕) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามมติของคณะกรรมการคาจาง (๖) ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการคาจางหรือคณะอนุกรรมการมอบหมาย หมวด ๗ สวัสดิการ มาตรา ๙๒ ใหมคี ณะกรรมการสวัสดิการแรงงานประกอบดวย ปลัดกระทรวงแรงงานและ สวัสดิการสังคมเปนประธานกรรมการ กรรมการผูแทนฝายรัฐบาลสี่คน กรรมการผูแทนฝายนายจางและ กรรมการผูแทนฝายลูกจางฝายละหาคน ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งเปนกรรมการและขาราชการกรมสวัสดิการ และคุม ครองแรงงานซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งเปนเลขานุการ 1 - 18

กฎหมายคุมครองแรงงาน

มาตรา ๙๓ คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (๑) เสนอความเห็นตอรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบาย แนวทางและมาตรการงานสวัสดิการแรงงาน (๒) เสนอความเห็นตอรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง ประกาศ หรือ ระเบียบเกี่ยวกับการ จัดสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ (๓) ใหคาแนะนํ ํ าในการจัดสวัสดิการแรงงานสําหรับสถานประกอบกิจการแตละประเภท (๔) ติดตามประเมินผล และรายงานผลการดําเนินการตอรัฐมนตรี (๕) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติใหเปนอํานาจหนาที่ของ คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานหรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย มาตรา ๙๔ ใหนามาตรา ํ ๗๘ วรรคสอง มาตรา ๘๐ มาตรา ๘๑ มาตรา ๘๒ วรรคหนึ่ง มาตรา ๘๓ และมาตรา ๘๔ มาใชบังคับกับคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานโดยอนุโลม มาตรา ๙๕ ใหรฐั มนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดใหนายจางตองจัดสวัสดิการในเรื่อง ใด หรือกําหนดใหการจัดสวัสดิการในเรื่องใดตองเปนไปตามมาตรฐานได มาตรา ๙๖ ในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแตสิบคนขึ้นไป ใหนายจางจัดใหมีคณะ กรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกอบดวยผูแทนฝายลูกจางอยางนอยหาคน กรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการใหมาจากการเลือกตั้ง ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ อธิบดีกําหนด ในกรณีที่สถานประกอบกิจการใดของนายจางมีคณะกรรมการลูกจางตามกฎหมายวาดวยแรง งานสัมพันธแลว ใหคณะกรรมการลูกจางทําหนาที่เปนคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๙๗ คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (๑) รวมหารือกับนายจางเพื่อจัดสวัสดิการแกลูกจาง (๒) ใหคาปรึ ํ กษาหารือและเสนอแนะความเห็นแกนายจางในการจัดสวัสดิการสําหรับลูกจาง (๓) ตรวจตรา ควบคุม ดูแล การจัดสวัสดิการที่นายจางจัดใหแกลูกจาง (๔) เสนอขอคิดเห็น และแนวทางในการจัดสวัสดิการที่เปนประโยชนสําหรับลูกจางตอคณะ กรรมการสวัสดิการแรงงาน มาตรา ๙๘ นายจางตองจัดใหมีการประชุมหารือกับคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบ กิจการอยางนอยสามเดือนตอหนึ่งครั้ง หรือเมื่อกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการเกินกึ่งหนึ่ง ของกรรมการทั้งหมดหรือสหภาพแรงงานรองขอโดยมีเหตุผลสมควร มาตรา ๙๙ ใหนายจางปดประกาศการจัดสวัสดิการตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๙๕ หรือ ตามทีม่ ขี อ ตกลงกับลูกจางใหจัดขึ้นไวในที่เปดเผยเพื่อใหลูกจางไดทราบ ณ สถานที่ทํางานของลูกจาง

1 - 19

กฎหมายคุมครองแรงงาน

หมวด ๘ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน มาตรา ๑๐๐ ใหมีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ ทํางานประกอบดวย ปลัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมเปนประธานกรรมการ อธิบดีกรม สวัสดิการและคุมครองแรงงาน ผูแทนกรมอนามัย ผูแทนกรมโรงงานอุตสาหกรรม ผูแทนกรมโยธาธิ การ และผูแทนกรมควบคุมมลพิษ เปนกรรมการ กับผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางฝายละเจ็ด คน ซึง่ รัฐมนตรีแตงตั้งเปนกรรมการ และขาราชการกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานซึ่งรัฐมนตรีแตง ตัง้ เปนกรรมการและเลขานุการ มาตรา ๑๐๑ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน มี อํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (๑) เสนอความเห็นตอรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน หรือมาตรการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และการพัฒนาสภาพแวดลอมในการทํางานของลูกจาง (๒) เสนอความเห็นตอรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง ประกาศ หรือระเบียบเพื่อดําเนินการ ตามพระราชบัญญัตินี้ (๓) ใหความเห็นแกหนวยงานของรัฐเกี่ยวกับการสงเสริมความปลอดภัยอาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอมในการทํางานของลูกจาง (๔) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติใหเปนอํ านาจหนาที่ ของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน หรือตามที่รัฐมนตรี มอบหมาย มาตรา ๑๐๒ ใหนามาตรา ํ ๗๘ วรรคสอง มาตรา ๘๐ มาตรา ๘๑ มาตรา ๘๒ วรรคหนึ่ง มาตรา ๘๓ และมาตรา ๘๔ มาใชบังคับกับคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวด ลอมในการทํางาน โดยอนุโลม มาตรา ๑๐๓ ใหรฐั มนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานใหนายจางดําเนินการใน การบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ในกรณีทกี่ ฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งกําหนดใหการจัดทําเอกสารหลักฐาน หรือรายงานใดตองมี การรับรองหรือตรวจสอบโดยบุคคลหนึ่งบุคคลใดตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนด กฎกระทรวงนั้นจะ กํ าหนดหลักเกณฑและวิธีการการขึ้นทะเบียนและการเพิกถอนทะเบียน อัตราคาธรรมเนียมการขึ้น ทะเบียนไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ และอัตราขั้นสูงของคาบริการที่บุคคลดังกลาวจะเรียกเก็บไว ดวยก็ได มาตรา ๑๐๔ ในกรณีทพี่ นักงานตรวจแรงงานพบวา นายจางผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎ กระทรวงทีอ่ อกตามมาตรา ๑๐๓ ใหพนักงานตรวจแรงงานมีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือใหนายจาง ปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน อาคาร สถานที่ หรือจัดทําหรือแกไขเครื่องจักรหรืออุปกรณที่ 1 - 20

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ลูกจางตองใชในการปฏิบัติงานหรือที่เกี่ยวของกับการปฎิบัติงานใหถูกตองหรือเหมาะสมภายในระยะเวลา ที่กําหนด มาตรา ๑๐๕ ในกรณีทพี่ นักงานตรวจแรงงานพบวา สภาพแวดลอมในการทํางาน อาคาร สถานที่ เครื่องจักรหรืออุปกรณที่ลูกจางใชจะกอใหเกิดความไมปลอดภัยแกลูกจางหรือนายจางไมปฏิบัติ ตามคําสั่งของพนักงานตรวจแรงงานตามมาตรา ๑๐๔ เมื่อไดรับอนุมัติจากอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบ หมาย ใหพนักงานตรวจแรงงานมีอํานาจสั่งใหนายจางหยุดการใชเครื่องจักรหรืออุปกรณดังกลาวทั้งหมด หรือบางสวนเปนการชั่วคราวได ใหนายจางจายเงินใหแกลูกจางซึ่งพนักงานแรงงานสั่งใหนายจางหยุดการใชเครื่องจักรหรือ อุปกรณตามวรรคหนึ่งเทากับคาจางในวันทํางานตลอดระยะเวลาที่ลูกจางหยุดทํางาน ทั้งนี้ จนกวานาย จางจะไดดําเนินการใหถูกตองตามคําสั่งของพนักงานตรวจแรงงานแลวนั้น มาตรา ๑๐๖ คําสัง่ ของพนักงานตรวจแรงงานตามมาตรา ๑๐๔ หรือมาตรา ๑๐๕ ใหอุทธรณ ตอคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ไดภายในสามสิบวันนับ แตวนั ที่ทราบคําสั่ง คําวินิจฉัยของคณะกรรมการนั้นใหเปนที่สุด การอุทธรณตามวรรคหนึ่งยอมไมเปนการทุเลาการปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานตรวจแรงงาน เวนแตคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานจะมีคําสั่งเปนอยางอื่น มาตรา ๑๐๗ ใหนายจางจัดใหมีการตรวจสุขภาพของลูกจาง และสงผลการตรวจดังกลาวแก พนักงานตรวจแรงงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง หมวด ๙ การควบคุม มาตรา ๑๐๘ ใหนายจางซึ่งมีลูกจางรวมกันตั้งแตสิบคนขึ้นไป จัดใหมีขอบังคับเกี่ยวกับการ ทํางานเปนภาษาไทย และขอบังคับนั้นอยางนอยตองมีรายละเอียดเกี่ยวกับรายการดังตอไปนี้ (๑) วันทํางาน เวลาทํางานปกติ และเวลาพัก (๒) วันหยุดและหลักเกณฑการหยุด (๓) หลักเกณฑการทํางานลวงเวลาและการทํางานในวันหยุด (๔) วันและสถานที่จายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด (๕) วันลาและหลักเกณฑการลา (๖) วินัยและโทษทางวินัย (๗) การรองทุกข (๘) การเลิกจาง คาชดเชย และคาชดเชยพิเศษ ใหนายจางประกาศใชขอบังคับเกี่ยวกับทํางานภายในสิบหาวันนับแตวันที่นายจางมีลูกจางรวม กันตัง้ แตสบิ คนขึ้นไป และใหนายจางจัดเก็บสําเนาขอบังคับนั้นไว ณ สถานประกอบกิจการ หรือสํานัก งานของนายจางตลอดเวลา และใหสงสําเนาขอบังคับใหแกอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายภายในเจ็ดวัน นับแตวันประกาศใชขอบังคับดังกลาว 1 - 21

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจสั่งใหนายจางแกไขขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานที่ขัด ตอกฎหมายใหถูกตองภายในเวลาที่กําหนด ใหนายจางเผยแพรและปดประกาศขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานโดยเปดเผย ณ สถานที่ทํางาน ของลูกจาง เพื่อใหลูกจางไดทราบและดูไดโดยสะดวก มาตรา ๑๐๙ การรองทุกขตามมาตรา ๑๐๘ (๗) อยางนอยตองมีรายละเอียดดังตอไปนี้ (๑) ขอบเขตและความหมายของขอรองทุกข (๒) วิธีการและขั้นตอนการรองทุกข (๓) การสอบสวนและพิจารณาขอรองทุกข (๔) กระบวนการยุติขอรองทุกข (๕) ความคุมครองผูรองทุกขและผูเกี่ยวของ มาตรา ๑๑๐ ในกรณีที่มีการแกไขเพิ่มเติมขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานใหนายจางประกาศขอ บังคับทีม่ กี ารแกไขเพิ่มเติมนั้น ภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ประกาศใชขอบังคับที่แกไขเพิ่มเติม และใหนํา มาตรา ๑๐๘ วรรคสอง วรรคสามและวรรคสี่มาใชบังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๑๑ เมือ่ นายจางไดประกาศใชขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน ตามมาตรา ๑๐๘ แลว แมวาตอมานายจางจะมีลูกจางลดตํ่ากวาสิบคนก็ตาม ใหนายจางยังคงมีหนาที่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๐๘ และมาตรา ๑๑๐ ตอไป มาตรา ๑๑๒ ใหนายจางซึ่งมีลูกจางตั้งแตสิบคนขึ้นไปจัดทําทะเบียนลูกจางเปนภาษาไทยและ เก็บไว ณ สถานประกอบกิจการหรือสํานักงานของนายจาง พรอมที่จะใหพนักงานตรวจแรงงานตรวจได ในเวลาทําการ การจัดทําทะเบียนลูกจางตามวรรคหนึ่ง ใหนายจางจัดทําภายในสิบหาวันนับแตวันที่ลูกจางเขา ทํางาน มาตรา ๑๑๓ ทะเบียนลูกจางนั้นอยางนอยตองมีรายการดังตอไปนี้ (๑) ชื่อตัวและชื่อสกุล (๒) เพศ (๓) สัญชาติ (๔) วัน เดือนปเกิด หรืออายุ (๕) ที่อยูปจจุบัน (๖) วันที่เริ่มจาง (๗) ตําแหนงหรืองานในหนาที่ (๘) อัตราคาจางและประโยชนตอบแทนอยางอื่นที่นายจางตกลงจายใหแกลูกจาง (๙) วันสิ้นสุดของการจาง

1 - 22

กฎหมายคุมครองแรงงาน

เมือ่ มีความจําเปนตองเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนลูกจาง ใหนายจางแกไขเพิ่มเติมทะเบียน ลูกจางใหแลวเสร็จภายในสิบหาวันนับแตวันที่มีการเปลี่ยนแปลงนั้นหรือภายในสิบหาวันนับแตวันที่ลูกจาง ไดแจงการเปลี่ยนแปลงใหนายจางทราบ มาตรา ๑๑๔ ใหนายจางซึ่งมีลูกจางรวมกันตั้งแตสิบคนขึ้นไปจัดใหมีเอกสารเกี่ยวกับการจายคา จาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด ซึ่งอยางนอยตองมีรายการดังตอไปนี้ (๑) วันและเวลาทํางาน (๒) ผลงานที่ทําไดสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย (๓) อัตราและจํานวนคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุดที่ ลูกจางแตละคนไดรับ เมือ่ มีการจายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุดใหแกลูกจาง ใหนายจางจัดใหลูกจางลงลายมือชื่อในเอกสารตามวรรคหนึ่งไวเปนหลักฐาน รายการในเอกสารตามวรรคหนึ่งจะอยูในฉบับเดียวกันหรือจะแยกเปนหลายฉบับก็ได ในกรณีทนี่ ายจางจายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุดใหแกลูก จาง โดยการโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากในธนาคารพาณิชยหรือสถาบันการเงินอื่น ใหถือวาหลักฐานการโอน เงินเขาบัญชีเงินฝากของลูกจางเปนเอกสารเกี่ยวกับการจายเงินดังกลาว มาตรา ๑๑๕ ใหนายจางเก็บรักษาทะเบียนลูกจางไวไมนอยกวาสองปนับแตวันสิ้นสุดของการ จางลูกจางแตละราย และใหนายจางเก็บเอกสารเกี่ยวกับการจายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุดใหแกลูกจางไวไมนอยกวาสองปนับแตวันจายเงินดังกลาว ในกรณีทมี่ ีการยื่นคํารองตามหมวด ๑๒ แหงพระราชบัญญัตินี้ หรือมีขอพิพาทแรงงานตาม กฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธ หรือมีการฟองรองคดีแรงงาน ใหนายจางเก็บรักษาทะเบียนลูกจางและ เอกสารเกีย่ วกับการจายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุดไวจนกวาจะมี คําสั่งหรือคําพิพากษาถึงที่สุดเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว หมวด ๑๐ การพักงาน มาตรา ๑๑๖ ในกรณีที่นายจางทําการสอบสวนลูกจางซึ่งถูกกลาวหาวากระทําความผิด หามมิ ใหนายจางสัง่ พักงานลูกจางในระหวางการสอบสวนดังกลาว เวนแตจะมีขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานหรือ ขอตกลงเกีย่ วกับสภาพการจางใหอํานาจนายจางสั่งพักงานลูกจางได ทั้งนี้ นายจางจะตองมีคําสั่งพักงาน เปนหนังสือระบุความผิดและกําหนดระยะเวลาพักงานไดไมเกินเจ็ดวันโดยตองแจงใหลูกจางทราบกอน การพักงาน ในระหวางการพักงานตามวรรคหนึ่ง ใหนายจางจายเงินใหแกลูกจางตามอัตราที่กําหนดไวในขอ บังคับเกี่ยวกับการทํางานหรือตามที่นายจางและลูกจางไดตกลงกันไว ในขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจาง ทัง้ นี้ อัตราดังกลาวตองไมนอยกวารอยละหาสิบของคาจางในวันทํางานที่ลูกจางไดรับกอนถูกสั่งพักงาน

1 - 23

กฎหมายคุมครองแรงงาน

มาตรา ๑๑๗ เมือ่ การสอบสวนเสร็จสิ้นแลว ปรากฎวาลูกจางไมมีความผิดใหนายจางจายคา จางใหแกลกู จางเทากับคาจางในวันทํางานนับแตวันที่ลูกจางถูกสั่งพักงานเปนตนไป โดยใหคํานวณเงินที่ นายจางจายตามมาตรา ๑๑๖ เปนสวนหนึ่งของคาจางตามมาตรานี้พรอมดวยดอกเบี้ยรอยละสิบหาตอป หมวด ๑๑ คาชดเชย มาตรา ๑๑๘ ใหนายจางจายคาชดเชยใหแกลูกจางซึ่งเลิกจางดังตอไปนี้ (๑) ลูกจางซึ่งทํางานติดตอกันครบหนึ่งรอยยี่สิบวัน แตไมครบหนึ่งป ใหจายไมนอยกวาคา จางอัตราสุดทายสามสิบวัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานสามสิบวันสุดทายสําหรับลูกจางซึ่งไดรับ คาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย (๒) ลูกจางซึ่งทํางานติดตอกันครบหนึ่งป แตไมครบสามป ใหจายไมนอยกวาคาจางอัตราสุด ทายเกาสิบวัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานเกาสิบวันสุดทายสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผล งานโดยคํานวณเปนหนวย (๓) ลูกจางซึ่งทํางานติดตอกันครบสามป แตไมครบหกป ใหจายไมนอยกวาคาจางอัตราสุด ทายหนึง่ รอยแปดสิบวัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานหนึ่งรอยแปดสิบวัน สุดทายสําหรับลูกจาง ซึง่ ไดรบั คาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย (๔) ลูกจางซึ่งทํางานติดตอกันครบหกป แตไมครบสิบป ใหจายไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทาย สองรอยสี่สิบวัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานสองรอยสี่สิบวันสุดทายสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจาง ตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย (๕) ลูกจางซึ่งทํางานติดตอกันครบสิบปขึ้นไป ใหจายไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทายสามรอย วัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานสามรอยวันสุดทายสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดย คํานวณเปนหนวย การเลิกจางตามมาตรานี้ หมายความวา การกระทําใดที่นายจางไมใหลูกจางทํางานตอไปและ ไมจา ยคาจางให ไมวาจะเปนเพราะเหตุสิ้นสุดสัญญาจางหรือเหตุอื่นใดและหมายความรวมถึงกรณีที่ลูก จางไมไดทํางานและไมไดรับคาจางเพราะเหตุที่นายจางไมสามารถดําเนินกิจการตอไป ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับแกลูกจางที่มีกําหนดระยะเวลาการจางไวแนนอนและเลิกจางตาม กําหนดระยะเวลานั้น การจางที่มีกําหนดระยะเวลาตามวรรคสามจะกระทําไดสําหรับการจางงานในโครงการเฉพาะที่ มิใชงานปกติของธุรกิจหรือการคาของนายจางซึ่งตองมีระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดของงานที่แนนอน หรือ ในงานอันมีลกั ษณะเปนครั้งคราวที่มีกําหนดการสิ้นสุดหรือความสําเร็จของงาน หรือ ในงานที่เปนไปตาม ฤดูกาลและไดจา งในชวงเวลาของฤดูกาลนั้น ซึ่งงานนั้นจะตองแลวเสร็จภายในเวลาไมเกินสองป โดยนาย จางและลูกจางไดทําสัญญาเปนหนังสือไวตั้งแตเมื่อเริ่มจาง มาตรา ๑๑๙ นายจางไมตองจายคาชดเชยใหแกลูกจางซึ่งเลิกจางในกรณีหนึ่งกรณีใดดังตอไปนี้ (๑) ทุจริตตอหนาที่หรือกระทําความผิดอาญาโดยเจตนาแกนายจาง (๒) จงใจทําใหนายจางไดรับความเสียหาย (๓) ประมาทเลินเลอเปนเหตุใหนายจางไดรับความเสียหายอยางรายแรง 1 - 24

กฎหมายคุมครองแรงงาน

(๔) ฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานหรือระเบียบหรือคําสั่งของนายจางอันชอบดวยกฎหมาย และเปนธรรม และนายจางไดตักเตือนเปนหนังสือแลว เวนแตกรณีที่รายแรงนายจางไมจําเปนตอง ตักเตือน หนังสือเตือนใหมีผลบังคับไดไมเกินหนึ่งปนับแตวันที่ลูกจางไดกระทําผิด (๕) ละทิง้ หนาที่เปนเวลาสามวันทํางานติดตอกันไมวาจะมีวันหยุดคั่นหรือไมก็ตามโดยไมมีเหตุ อันสมควร (๖) ไดรับโทษจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทํา โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ มาตรา ๑๒๐ ในกรณีที่นายจางยายสถานประกอบกิจการไปตั้ง ณ สถานที่อื่นอันมีผลกระทบ สําคัญตอการดํารงชีวิตตามปกติของลูกจางหรือครอบครัว นายจางตองแจงใหลูกจางทราบลวงหนาไมนอย กวาสามสิบวันกอนวันยายสถานประกอบกิจการ ในการนี้ถาลูกจางไมประสงคจะไปทํางานดวย ใหลูกจาง มีสิทธิบอกเลิกสัญญาจางไดโดยลูกจางมีสิทธิไดรับคาชดเชยพิเศษไมนอยกวารอยละหาสิบของอัตราคา ชดเชยที่ลูกจางพึงมีสิทธิไดรับตามมาตรา ๑๑๘ ในกรณีทนี่ ายจางไมแจงใหลูกจางทราบการยายสถานประกอบกิจการลวงหนาตามวรรคหนึ่ง ให นายจางจายคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนาเทากับคาจางอัตราสุดทายสามสิบวัน หรือเทากับ คาจางของการทํางานสามสิบวันสุดทายสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวยดวย ลูกจางมีสิทธิยื่นคําขอใหคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานพิจารณาภายในสามสิบวันนับแตวันที่ นายจางยายสถานประกอบกิจการวา เปนกรณีที่นายจางตองบอกกลาวลวงหนาหรือลูกจางมีสิทธิบอกเลิก สัญญาจางโดยมีสิทธิไดรับคาชดเชยพิเศษตามวรรคหนึ่งหรือไม คําวินจิ ฉัยของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานใหเปนที่สุด เวนแตนายจางหรือลูกจางจะอุทธรณ คําวินิจฉัยตอศาลภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงคําวินิจฉัยในกรณีที่นายจางเปนฝายนําคดีไปสูศาล นายจางตองวางเงินตอศาลตามจํานวนที่ตองจายแกลูกจางที่ยื่นคําขอตามวรรคสาม จึงจะฟองคดีได การบอกเลิกสัญญาจางตามมาตรานี้ ลูกจางตองใชสิทธิภายในสามสิบวันนับแตวันที่นายจางยาย สถานประกอบกิจการ หรือนับแตวันที่คําวินิจฉัยของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานหรือคําพิพากษาของ ศาลเปนที่สุด มาตรา ๑๒๑ ในกรณีที่นายจางจะเลิกจางลูกจางเพราะเหตุที่นายจางปรับปรุงหนวยงาน กระบวนการผลิต การจําหนาย หรือการบริการ อันเนื่องมาจากการนําเครื่องจักรมาใชหรือเปลี่ยนแปลง เครือ่ งจักรหรือเทคโนโลยี ซึ่งเปนเหตุใหตองลดจํานวนลูกจางหามมิใหนํามาตรา ๑๗ วรรคสอง มาใช บังคับ และใหนายจางแจงวันที่จะเลิกจาง เหตุผลของการเลิกจางและรายชื่อลูกจางตอพนักงานตรวจ แรงงาน และลูกจางที่จะเลิกจางทราบลวงหนาไมนอยกวาหกสิบวันกอนวันที่จะเลิกจาง ในกรณีทนี่ ายจางไมแจงใหลูกจางที่จะเลิกจางทราบลวงหนา หรือแจงลวงหนานอยกวาระยะเวลา ทีก่ าหนดตามวรรคหนึ ํ ่ง นอกจากจะไดรับคาชดเชยตามมาตรา ๑๑๘ แลวใหนายจางจายคาชดเชยพิเศษ แทนการบอกกลาวลวงหนาเทากับคาจางอัตราสุดทายหกสิบวันหรือเทากับคาจางของการทํางานหกสิบวัน สุดทายสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวยดวย ในกรณีที่มีการจายคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนาตามวรรคสองใหถือวานายจางได จายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยดวย 1 - 25

กฎหมายคุมครองแรงงาน

มาตรา ๑๒๒ ในกรณีที่นายจางเลิกจางลูกจางตามมาตรา ๑๒๑ และลูกจางนั้นทํางานติดตอ กันเกินหกปขนึ้ ไป ใหนายจางจายคาชดเชยพิเศษเพิ่มขึ้นจากคาชดเชยตามมาตรา ๑๑๘ ไมนอยกวาคา จางอัตราสุดทายสิบหาวันตอการทํางานครบหนึ่งป หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานสิบหาวันสุดทาย ตอการทํางานครบหนึ่งปสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย แตคาชดเชยตาม มาตรานีร้ วมแลวตองไมเกินคาจางอัตราสุดทายสามรอยหกสิบวัน หรือไมเกินคาจางของการทํางานสาม รอยหกสิบวันสุดทายสําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย เพื่อประโยชนในการคํานวณคาชดเชยพิเศษ กรณีระยะเวลาทํางานไมครบหนึ่งปถาเศษของ ระยะเวลาทํางานมากกวาหนึ่งรอยแปดสิบวัน ใหนับเปนการทํางานครบหนึ่งป หมวด ๑๒ การยื่นคํารอง และการพิจารณาคํารอง มาตรา ๑๒๓ ในกรณีที่นายจางฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามเกี่ยวกับสิทธิไดรับเงินอยางหนึ่งอยาง ใดตามพระราชบัญญัตินี้และลูกจางมีความประสงคใหพนักงานเจาหนาที่ ดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหลกู จางมีสิทธิยื่นคํารองตอพนักงานตรวจแรงงานแหงทองที่ ที่ลูกจางทํางานอยูหรือที่นายจางมีภูมิลําเนา อยูตามแบบที่อธิบดีกําหนด ในกรณีทเี่ กี่ยวกับสิทธิไดรับเงินอยางหนึ่งอยางใดตามพระราชบัญญัตินี้ ถาลูกจางถึงแกความ ตาย ใหทายาทโดยธรรมมีสิทธิยื่นคํารองตอพนักงานตรวจแรงงานได มาตรา ๑๒๔ เมือ่ มีการยื่นคํารองตามมาตรา ๑๒๓ ใหพนักงานตรวจแรงงานสอบสวนขอ เท็จจริงและมีคําสั่งภายในหกสิบวันนับแตวันที่รับคํารอง ในกรณีทมี่ คี วามจําเปนไมอาจมีคําสั่งภายในเวลาตามวรรคหนึ่งได ใหพนักงานตรวจแรงงานขอ ขยายเวลาตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายพรอมดวยเหตุผล และอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายอาจ พิจารณาอนุญาตไดตามที่เห็นสมควร แตตองมีระยะเวลาไมเกินสามสิบวัน นับแตวันที่ครบกําหนดตาม วรรคหนึ่ง เมื่อพนักงานตรวจแรงงานสอบสวนแลวปรากฎวาลูกจางมีสิทธิไดรับเงินอยางหนึ่งอยางใดที่นาย จางมีหนาทีต่ อ งจายตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานตรวจแรงงานมีคําสั่งใหนายจางจายเงินดังกลาวให แกลูกจางหรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตาย ตามแบบที่อธิบดีกําหนดภายในสิบหาวันนับ แตวันที่ทราบหรือถือวาไดทราบคําสั่ง ใหนายจางจายเงินตามวรรคสามใหแกลูกจางหรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตาย ณ สถานที่ทํางานของลูกจาง ในกรณีที่ลูกจางหรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตายรองขอ ใหพนักงานตรวจแรงงานมีอํานาจสั่งใหนายจางจายเงินดังกลาว ณ สํานักงานของพนักงานตรวจแรงงาน หรือสถานที่อื่นตามที่นายจางและลูกจางหรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตายตกลงกัน ในกรณีที่ลูกจางหรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตายไมมารับเงินดังกลาวภายใน สิบหาวันนับแตวนั ทีพ่ นักงานตรวจแรงงานมีคําสั่ง ใหพนักงานตรวจแรงงานนําสงเงินนั้นเพื่อเก็บรักษาใน กองทุนสงเคราะหลูกจางโดยฝากเงินไวกับธนาคาร ในการนี้ ถามีดอกเบี้ยหรือดอกผลใดเกิดขึ้นเนื่องจาก การฝากเงินใหตกเปนสิทธิแกลูกจางหรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตายซึ่งมีสิทธิไดรับ เงินนั้น 1 - 26

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ในกรณีที่พนักงานตรวจแรงงานเห็นวาลูกจางหรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความ ตายไมมสี ทิ ธิไดรับเงินตามมาตรา ๑๒๓ ใหพนักงานตรวจแรงงานมีคําสั่งและแจงเปนหนังสือใหนายจาง และลูกจางหรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตายทราบ มาตรา ๑๒๕ เมือ่ พนักงานตรวจแรงงานไดมีคําสั่งตามมาตรา ๑๒๔ แลว ถานายจาง ลูกจาง หรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตายไมพอใจคําสั่งนั้นใหนําคดีไปสูศาลไดภายในสามสิบวัน นับแตวันทราบคําสั่ง ในกรณีทนี่ ายจาง ลูกจาง หรือทายาทโดยธรรมของลูกจางซึ่งถึงแกความตายไมนําคดีไปสูศาล ภายในกําหนด ใหคําสั่งนั้นเปนที่สุด ในกรณีทนี่ ายจางเปนฝายนําคดีไปสูศาล นายจางตองวางเงินตอศาลตามจํานวนที่ถึงกําหนดจาย ตามคําสั่งนั้น จึงจะฟองคดีได เมื่อคดีถึงที่สุดและนายจางมีหนาที่ตองจายเงินจํานวนใดใหแกลูกจางหรือทายาทโดยธรรมของ ลูกจางซึง่ ถึงแกความตาย ใหศาลมีอํานาจจายเงินที่นายจางวางไวตอศาลใหแกลูกจางหรือทายาทโดยธรรม ของลูกจางซึ่งถึงแกความตายได หมวด ๑๓ กองทุนสงเคราะหลูกจาง มาตรา ๑๒๖ ใหมกี องทุนสงเคราะหลูกจางในกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานมีวัตถุประสงค เพือ่ เปนทุนสงเคราะหลูกจางในกรณีที่ลูกจางออกจากงาน หรือตายหรือในกรณีอื่นตามที่กําหนดโดยคณะ กรรมการกองทุนสงเคราะหลูกจาง มาตรา ๑๒๗ กองทุนสงเคราะหลูกจางประกอบดวย (๑) เงินสะสมและเงินสมทบ (๒) เงินทีต่ กเปนของกองทุนสงเคราะหลูกจางตามมาตรา ๑๓๓ และ มาตรา ๑๓๖ (๓) เงินเพิ่มตามมาตรา ๑๓๑ (๔) เงินคาปรับที่ไดรับจากการลงโทษผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ (๕) เงินหรือทรัพยสินที่มีผูบริจาคให (๖) เงินอุดหนุนจากรัฐบาล (๗) เงินรายไดอื่น (๘) เงินดอกผลของกองทุนสงเคราะหลูกจาง ใหกองทุนสงเคราะหลูกจางจัดใหมีบัญชีประกอบดวย (๑) บัญชีเงินของสมาชิกซึ่งแสดงรายการเงินสะสม เงินสมทบ และดอกผลของเงินดังกลาวของ บรรดาสมาชิกแตละคน (๒) บัญชีเงินกองกลางซึ่งแสดงรายการเงินอื่นนอกจาก (๑)

1 - 27

กฎหมายคุมครองแรงงาน

มาตรา ๑๒๘ การสงเงินคาปรับตามมาตรา ๑๒๗ (๔) เขากองทุนสงเคราะหลูกจางและ กําหนดเวลาสงเงินดังกลาว ใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกองทุนสงเคราะหลูกจางกําหนดโดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๑๒๙ เพือ่ ประโยชนในการดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหถือวาเงินและทรัพยสิน ของกองทุนสงเคราะหลูกจางตามมาตรา ๑๒๗ เปนกรรมสิทธิ์ของกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน โดยไมตองนําสงกระทรวงการคลังเปนรายไดแผนดิน ใหมคี ณะกรรมการกองทุนสงเคราะหลูกจางประกอบดวย ปลัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการ สังคมเปนประธานกรรมการ ผูแทนกระทรวงการคลัง ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ผูแทนธนาคารแหงประเทศไทยเปนกรรมการ กับผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝาย ลูกจางฝายละหาคน ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งเปนกรรรมการ และอธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานเปน กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการกองทุนสงเคราะหลูกจางมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (๑) กําหนดนโยบายเกี่ยวกับการบริหารและการจายเงินกองทุนสงเคราะหลูกจางโดยความเห็น ชอบของรัฐมนตรี (๒) พิ จ ารณาให ค วามเห็ น ต อ รั ฐ มนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกาการออกกฎกระทรวง ประกาศหรือระเบียบ เพื่อดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ (๓) วางระเบียบเกี่ยวกับการรับเงิน การจายเงิน และการเก็บรักษาเงินกองทุนสงเคราะหลูก จางโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี (๔) วางระเบียบเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชนของกองทุนสงเคราะหลูกจางโดยความเห็นชอบ ของรัฐมนตรี (๕) จัดสรรเงินกองทุนสงเคราะหลูกจางไมเกินรอยละสิบของดอกผลของกองทุนตอป เพื่อเปน คาใชจายในการบริหารของกองทุนสงเคราะหลูกจาง (๖) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติใหเปนอํานาจหนาที่ของ คณะกรรมการกองทุนสงเคราะหลูกจาง หรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย ใหนามาตรา ํ ๗๘ วรรคสอง มาตรา ๘๐ มาตรา ๘๑ มาตรา ๘๒ วรรคหนึ่ง มาตรา ๘๓ และมาตรา ๘๔ มาใชบังคับกับคณะกรรมการกองทุนสงเคราะหลูกจางโดยอนุโลม มาตรา ๑๓๐ ใหลกู จางสําหรับกิจการที่มีลูกจางตั้งแตสิบคนขึ้นไปเปนสมาชิกกองทุนสงเคราะห ลูกจาง ความในวรรคหนึ่ ง มิ ใ ห ใ ช บั ง คั บ แก กิ จ การที่ น ายจ า งได จั ด ให มี ก องทุ น สํ ารองเลี้ยงชีพตาม กฎหมายวาดวยกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ หรือจัดใหมีการสงเคราะหแกลูกจางในกรณีที่ลูกจางออกจากงาน หรือตาย ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง ความในวรรคหนึ่งจะใชบังคับแกลูกจางสําหรับกิจการที่มีลูกจางนอยกวาสิบคนเมื่อใดใหตราเปน พระราชกฤษฎีกา คณะกรรมการกองทุนสงเคราะหลูกจางอาจออกระเบียบเพื่อกําหนดใหลูกจางสําหรับกิจการที่ มิไดอยูภายใตบังคับตามพระราชบัญญัตินี้สมัครเขาเปนสมาชิกกองทุนสงเคราะหลูกจางได เมื่อลูกจาง 1 - 28

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ประสงคจะเปนสมาชิกกองทุนสงเคราะหลูกจางโดยความยินยอมของนายจาง และใหนายจางมีหนาที่ตาม พระราชบัญญัตินี้เสมือนเปนกิจการที่อยูภายใตบังคับพระราชบัญญัตินี้ ใหนายจางซึ่งมีลูกจางเปนสมาชิกกองทุนสงเคราะหลูกจางตามวรรคหนึ่งยื่นแบบรายการแสดง รายชื่อลูกจางและรายละเอียดอื่นๆ เมื่อนายจางยื่นแบบรายการดังกลาวแลว ใหกรมสวัสดิการและ คุม ครองแรงงานออกหนังสือสําคัญแสดงการขึ้นทะเบียนใหแกนายจาง ในกรณีที่ขอเท็จจริงเกี่ยวกับขอความในแบบรายการแสดงรายชื่อลูกจางที่ไดยื่นไวเปลี่ยนแปลง ไป ใหนายจางแจงเปนหนังสือตอกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานเพื่อขอเปลี่ยนแปลงหรือแกไขเพิ่ม เติมแบบรายการดังกลาว การยื่นขอเปลี่ยนแปลงหรือแกไขเพิ่มเติมแบบรายการแสดงรายชื่อลูกจางและการออกหนังสือ สําคัญแสดงการขึ้นทะเบียนใหแกนายจาง ใหเปนไปตามแบบหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการกอง ทุนสงเคราะหลูกจางกําหนด ใหถอื วาผูซึ่งยื่นแบบรายการ หรือแจงขอเปลี่ยนแปลง หรือแกไขเพิ่มเติมแบบรายการตาม กฎหมายวาดวยการประกันสังคม ไดปฏิบัติตามความในวรรคหา วรรคหก และวรรคเจ็ดของมาตรานี้แลว มาตรา ๑๓๑ นับแตวันที่ลูกจางเปนสมาชิกกองทุนสงเคราะหลูกจาง ทุกครั้งที่มีการจาย คาจาง ใหลูกจางจายเงินสะสม โดยใหนายจางหักจากคาจางและนายจางจายเงินสมทบเขากองทุน สงเคราะหลูกจาง ทั้งนี้ ตามอัตราที่กําหนดในกฎกระทรวงแตตองไมเกินรอยละหาของคาจาง ถานายจางไมจายคาจางตามกําหนดเวลาที่ตองจาย ใหนายจางมีหนาที่นําสงเงินสะสมและเงิน สมทบโดยถือเสมือนวามีการจายคาจางแลว ในกรณีที่นายจางไมสงเงินสะสมหรือเงินสมทบหรือสงไมครบจํานวนภายในเวลาที่กําหนดตาม วรรคสี่ ใหนายจางจายเงินเพิ่มใหแกกองทุนสงเคราะหลูกจางในอัตรารอยละหาตอเดือนของจํานวนเงิน สะสมหรือเงินสมทบที่ยังมิไดนําสงหรือที่ยังขาดอยูนับแตวันที่ตองนําสงเงินดังกลาว สําหรับเศษของเดือน ถาถึงสิบหาวันหรือกวานั้นใหนับเปนหนึ่งเดือน ถานอยกวานั้นใหปดทิ้ง ทั้งนี้ หามมิใหนายจางอางเหตุที่ ไมไดหกั คาจาง หรือหักไปแลวแตไมครบจํานวนเพื่อใหพนความรับผิดที่ตองนําสงเงินดังกลาว การนําสงเงินสะสม เงินสมทบ และเงินเพิ่มเขากองทุนสงเคราะหลูกจางใหเปนไปตามหลักเกณฑ และวิธีการที่คณะกรรมการทุนสงเคราะหลูกจางกําหนด มาตรา ๑๓๒ ในกรณีทนี่ ายจางไมนําสงเงินสะสมหรือเงินสมทบหรือนําสงไมครบตามกําหนด เวลา ใหพนักงานตรวจแรงงานมีคําเตือนเปนหนังสือใหนายจางนําเงินที่คางจายมาชําระภายในกําหนดไม นอยกวาสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือนั้น ในการมีคาเตื ํ อนตามวรรคหนึ่ง ถาไมอาจทราบจํานวนคาจางไดแนชัดใหพนักงานตรวจแรงงาน มี อํ านาจประเมิ น เงิ น สะสมและเงินสมทบที่นายจางจะตองนํ าสงไดตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะ กรรมการกองทุนสงเคราะหลูกจางกําหนด มาตรา ๑๓๓ ในกรณีที่ลูกจางออกจากงาน ใหกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานจายเงิน จากกองทุนสงเคราะหลูกจางในสวนที่เปนเงินสะสม เงินสมทบ และดอกผลจากเงินดังกลาวใหแกลูกจาง ในกรณีทลี่ กู จางตาย ถาลูกจางมิไดกําหนดบุคคลผูจะพึงไดรับเงินจากกองทุนสงเคราะหลูกจางไว โดยทําเปนหนังสือตามแบบที่อธิบดีกําหนดมอบไวแกกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน หรือไดกําหนด 1 - 29

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ไวแตบคุ คลผูนั้นตายกอน ใหจายเงินจากกองทุนสงเคราะหลูกจางตามวรรคหนึ่งใหแกบุตร สามี ภรรยา บิดา มารดา ที่มีชีวิตอยูคนละสวนเทาๆ กัน ถาผูตายไมมีบุคคลผูมีสิทธิไดรับเงินจากกองทุนสงเคราะหลูกจางตามวรรคสองใหเงินดังกลาว ตกเปนของกองทุนสงเคราะหลูกจาง มาตรา ๑๓๔ การจายเงินจากกองทุนสงเคราะหลูกจางในกรณีอื่นนอกจากกรณีตามมาตรา ๑๓๓ ใหคณะกรรมการกองทุนสงเคราะหลูกจางกําหนดระเบียบการจายเงินสงเคราะห อัตราเงินที่จะจาย และระยะเวลาการจาย โดยพิจารณาจากจํานวนเงินกองทุนสงเคราะหลูกจางสวนที่มิใชเงินที่จะตองนําไป จายตามมาตรา ๑๓๓ มาตรา ๑๓๕ ในกรณีที่กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานไดจายเงินจากกองทุนสงเคราะหลูก จางไมวาทั้งหมดหรือบางสวนใหแกลูกจางตามมาตรา ๑๓๔ แลวใหกองทุนสงเคราะหลูกจางมีสิทธิเรียก ใหผซู งึ่ มีหนาที่ตามกฎหมายตองจายเงินดังกลาวใหแกลูกจางชดใชเงินที่กองทุนสงเคราะหลูกจางไดจายไป พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละสิบหาตอป สิทธิเรียกรองของกองทุนสงเคราะหลูกจางใหมีอายุความสิบปนับแตวันที่กองทุนสงเคราะหลูก จางจายเงินไปตามวรรคหนึ่ง มาตรา ๑๓๖ ใหพนักงานตรวจแรงงานมีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือใหยึดอายัดและขายทอด ตลาดทรัพยสินของผูซึ่งมีหนาที่ตามกฎหมายที่ไมนําสงเงินสะสม เงินสมทบหรือเงินเพิ่ม หรือนําสงไม ครบจํานวน หรือเงินที่ตองจายตามมาตรา ๑๓๕ การมีคําสั่งใหยึดหรืออายัดทรัพยสินตามวรรคหนึ่งจะกระทําไดตอเมื่อไดสงคําเตือนเปนหนังสือ ใหผซู งึ่ มีหนาที่ตามกฎหมายนําเงินสะสม เงินสมทบ หรือเงินเพิ่มที่คางจาย หรือเงินที่ตองจายตามมาตรา ๑๓๕ มาจายภายในเวลาที่กําหนด แตตองไมนอยกวาสามสิบวันนับแตวันที่ผูนั้นไดรับคําเตือนนั้นและไม จายภายในเวลาที่กําหนด หลักเกณฑและวิธีการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพยสินตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตาม ระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนด ทั้งนี้ ใหนําหลักเกณฑและวิธีการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาใชบังคับโดยอนุโลม เงินทีไ่ ดจากการขายทอดตลาดทรัพยสิน ใหหักไวเปนคาใชจายในการยึด อายัด และขายทอด ตลาด และจายเงินสะสม เงินสมทบ หรือเงินเพิ่มที่คางจาย หรือ เงินที่ผูซึ่งมีหนาที่ตามกฎหมายตองจาย ตามมาตรา ๑๓๕ ถามีเงินเหลือใหคืนแกผูนั้นโดยเร็ว โดยใหพนักงานตรวจแรงงานมีหนังสือแจงใหทราบ เพือ่ ขอรับเงินที่เหลือคืน โดยสงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ ถาไมมาขอรับคืนภายในหาปใหตกเปน ของกองทุนสงเคราะหลูกจาง มาตรา ๑๓๗ สิทธิเรียกรองเงินจากกองทุนสงเคราะหลูกจางไมอาจโอนกันไดและไมอยูในความ รับผิดแหงการบังคับคดี มาตรา ๑๓๘ ภายในหนึง่ รอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปปฏิทิน ใหคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห ลูกจางเสนองบดุลและรายงานการรับจายเงินของกองทุนสงเคราะหลูกจาง ในปที่ลวงมาแลวตอสํานักงาน 1 - 30

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ตรวจเงินแผนดิน เพื่อตรวจสอบรับรองกอนเสนอตอรัฐมนตรี งบดุลและรายงานการรับจายเงินดังกลาว ใหรัฐมนตรีเสนอตอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบและจัด ใหมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา หมวด ๑๔ พนักงานตรวจแรงงาน มาตรา ๑๓๙ ในการปฏิบัติการตามหนาที่ ใหพนักงานตรวจแรงงานมีอํานาจดังตอไปนี้ (๑) เขาไปในสถานประกอบกิจการหรือสํานักงานของนายจาง และสถานที่ทํางานของลูกจางใน เวลาทําการ เพื่อตรวจสภาพการทํางานของลูกจางและสภาพการจางสอบถามขอเท็จจริง ถายภาพ ถาย สําเนาเอกสารทีเ่ กีย่ วกับการจาง การจายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด คาลวงเวลาในวันหยุด และทะเบียนลูกจาง เก็บตัวอยางวัสดุหรือผลิตภัณฑเพื่อวิเคราะหเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน และกระทําการอยางอื่นเพื่อใหไดขอเท็จจริงในอันที่จะปฎิบัติการใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกนายจาง ลูกจาง หรือบุคคลซึ่งเกี่ยวของมาชี้แจงขอเท็จจริง หรือ ใหสงสิ่งของหรือเอกสารที่เกี่ยวของเพื่อประกอบการพิจารณา (๓) มีคาสั ํ ่งเปนหนังสือใหนายจางหรือลูกจางปฏิบัติใหถูกตองตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๔๐ ในการปฏิบัติการตามหนาที่ของพนักงานตรวจแรงงานตามมาตรา ๑๓๙ (๑) ใหพนักงานตรวจแรงงานแสดงบัตรประจําตัวตอนายจางหรือผูซึ่งเกี่ยวของ และใหนายจางหรือบุคคลซึ่ง เกีย่ วของอํานวยความสะดวกและไมขัดขวางการปฏิบัติการตามหนาที่ของพนักงานตรวจแรงงาน บัตรประจําตัวพนักงานตรวจแรงงานใหเปนไปตามแบบที่รัฐมนตรีกําหนด มาตรา ๑๔๑ ในกรณีทนี่ ายจางหรือลูกจางไดปฏิบัติตามคําสั่งของพนังงานตรวจแรงงานตาม มาตรา ๑๓๙ (๓) ภายในระยะเวลาที่กําหนดการดําเนินคดีอาญาตอนายจางหรือลูกจางใหเปนอันระงับไป มาตรา ๑๔๒ ในการตรวจสถานประกอบกิจการหรือสํานักงานของนายจางหรือสถานที่ทํางาน ของลูกจาง อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายอาจจัดใหแพทย นักสังคมสงเคราะห หรือผูเชี่ยวชาญซึ่งรัฐ มนตรีแตงตั้งเขาไปในสถานที่ดังกลาวเพื่อใหความคิดเห็นหรือชวยเหลือแกพนักงานตรวจแรงงานในการ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนายจางหรือบุคคลซึ่งเกี่ยวของอํานวยความสะดวกและไมขัดขวางการปฏิบัติการตามหนาที่ ของแพทย นักสังคมสงเคราะห หรือผูเชี่ยวชาญตามวรรคหนึ่ง หมวด ๑๕ การสงหนังสือ มาตรา ๑๔๓ ในการสงคําสั่งหรือหนังสือของอธิบดีหรือพนักงานตรวจแรงงาน ซึ่งสั่งการตาม พระราชบัญญัตนิ ี้ ใหสงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับหรือพนักงานตรวจแรงงานจะนําไปสงเอง หรือ ใหเจาหนาทีน่ าไปส ํ ง ณ ภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู หรือสํานักงานของนายจางในเวลาทําการของนายจาง ถา 1 - 31

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ไมพบนายจาง ณ ภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู หรือสํานักงานของนายจาง หรือพบนายจางแตนายจางปฏิเสธไม ยอมรับ จะสงใหแกบุคคลใดซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวและอยูหรือทํางานในบานหรือสํานักงานที่ปรากฎวาเปน ของนายจางนั้นก็ได เมื่อไดดําเนินการดังกลาวแลว ใหถือวานายจางไดรับคําสั่งหรือหนังสือของอธิบดีหรือ พนักงานตรวจแรงงานนั้นแลว ถาการสงตามวรรคหนึ่งไมสามารถกระทํ าได ใหสงโดยปดคํ าสั่งหรือหนังสือของอธิบดีหรือ พนักงานตรวจแรงงานในที่ซึ่งเห็นไดงาย ณ สํานักงานของนายจางสถานที่ทํางานของลูกจาง ภูมิลําเนา หรือถิน่ ทีอ่ ยูข องนายจาง เมื่อไดดําเนินการดังกลาวและเวลาไดลวงพนไปไมนอยกวาสิบหาวันแลว ใหถือ วานายจางไดรับคําสั่งหรือหนังสือของอธิบดีหรือพนักงานตรวจแรงงานนั้นแลว หมวด ๑๖ บทกําหนดโทษ มาตรา ๑๔๔ นายจางผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๑๐ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๔ มาตรา ๒๕ มาตรา ๒๖ มาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๒ มาตรา ๔๓ มาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ มาตรา ๕๐ มาตรา ๕๑ มาตรา ๖๑ มาตรา ๖๒ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๗ มาตรา ๗๐ มาตรา ๗๑ มาตรา ๗๒ มาตรา ๗๖ มาตรา ๙๐ วรรคหนึง่ กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๙๕ มาตรา ๑๐๗ มาตรา ๑๑๘ วรรคหนึ่ง ไมจายคาชดเชย พิเศษตามมาตรา ๑๒๐ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง มาตรา ๑๒๑ วรรคสอง หรือมาตรา ๑๒๒ ตองระวาง โทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ในกรณีทนี่ ายจางฝาฝนหรือปฏิบัติตามมาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๒ มาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ มาตรา ๔๙ หรือมาตรา ๕๐ เปนเหตุใหลูกจางไดรับอันตรายแกกายหรือจิตใจ หรือถึงแก ความตาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งปหรือปรับไมเกินสองแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๔๕ นายจางผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๒๓ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท มาตรา ๑๔๖ นายจางผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๑๕ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ง มาตรา ๔๕ มาตรา ๕๓ มาตรา ๕๔ มาตรา ๕๖ มาตรา ๕๗ มาตรา ๕๘ มาตรา ๕๙ มาตรา ๖๕ มาตรา ๖๖ มาตรา ๗๓ มาตรา ๗๔ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง มาตรา ๗๗ มาตรา ๙๙ มาตรา ๑๐๕ วรรคสอง มาตรา ๑๐๘ มาตรา ๑๑๑ มาตรา ๑๑๒ มาตรา ๑๑๓ มาตรา ๑๑๔ มาตรา ๑๑๕ มาตรา ๑๑๗ หรือไมบอกกลาวลวงหนาตามมาตรา ๑๒๐ มาตรา ๑๒๑ วรรคหนึง่ หรือ มาตรา ๑๓๙ (๒) หรือ (๓) ตองระวางโทษปรับไมเกินสองหมื่นบาท มาตรา ๑๔๗ ผูใ ดฝาฝนมาตรา ๑๖ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองหมื่นบาท มาตรา ๑๔๘ นายจางผูใดฝาฝนมาตรา ๓๑ หรือมาตรา ๔๔ หรือไมปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ ออกตามมาตรา ๑๐๓ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองแสนบาท หรือทั้ง จําทั้งปรับ 1 - 32

กฎหมายคุมครองแรงงาน

มาตรา ๑๔๙ นายจางผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๕๒ มาตรา ๕๕ มาตรา ๗๕ วรรคสอง มาตรา ๙๐ วรรคสอง มาตรา ๑๑๐ หรือมาตรา ๑๑๖ ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๑๕๐ ผูใ ดไมอํานวยความสะดวก ไมมาใหถอยคํา ไมสงเอกสารหรือวัตถุใดๆ ตาม หนังสือเรียกของคณะกรรมการคาจางหรือคณะอนุกรรมการ หรือผูซึ่งคณะกรรมการคาจางหรือคณะ อนุกรรมการมอบหมาย หรือไมอํานวยความสะดวกแกพนักงานตรวจแรงงาน แพทย นักสังคมสงเคราะห หรือผูเ ชีย่ วชาญ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๕๑ ผูใ ดขัดขวางการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการคาจางหรือคณะอนุกรรมการ หรือผูซึ่งคณะกรรมการคาจางหรือคณะอนุกรรมการมอบหมาย พนักงานตรวจแรงงาน แพทย นักสังคม สงเคราะห หรือผูเชี่ยวชาญ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้ง ปรับ ผูใ ดไมปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานตรวจแรงงาน ที่สั่งตามมาตรา ๑๒๔ ตองระวางโทษจําคุกไม เกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๕๒ นายจางผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๙๖ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาหมื่นบาท มาตรา ๑๕๓ นายจางผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๙๘ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือ ปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๕๔ นายจางผูใดไมจัดทําเอกสารหลักฐานหรือรายงานตามกฎกระทรวงที่ออกตาม มาตรา ๑๐๓ หรือจัดทําเอกสารหลักฐานหรือรายงานโดยกรอกขอความอันเปนเท็จ ตองระวางโทษจําคุก ไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๕๕ ผูใ ดมีหนาที่ในการรับรองหรือตรวจสอบเอกสารหลักฐาน หรือรายงานตามกฎ กระทรวงที่ออกตามมาตรา ๑๐๓ กรอกขอความอันเปนเท็จในการรับรองหรือตรวจสอบเอกสารหลักฐาน หรือรายงาน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งปหรือปรับไมเกินสองแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๕๖ นายจางผูใดไมยื่นแบบรายการหรือไมแจงเปนหนังสือขอเปลี่ยนแปลงหรือแกไข เพิม่ เติมรายการภายในกําหนดเวลาตามมาตรา ๑๓๐ หรือยื่นแบบรายการ หรือแจงเปนหนังสือขอเปลี่ยน แปลง หรือแกไขเพิ่มเติมรายการตามมาตรา ๑๓๐ โดยกรอกขอความอันเปนเท็จ ตองระวางโทษจําคุกไม เกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา ๑๕๗ พนักงานเจาหนาที่ผูใดเปดเผยขอเท็จจริงใดเกี่ยวกับกิจการของนายจาง อันเปน ขอเท็จจริงตามที่ปกติวิสัยของนายจางจะพึงสงวนไวไมเปดเผยซึ่งตนไดมาหรือลวงรูเนื่องจากการปฏิบัติ การตามพระราชบัญญัตินี้ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้ง ปรับ เวนแตเปนการเปดเผยในการปฏิบัติราชการเพื่อประโยชนแหงพระราชบัญญัตินี้ หรือเพื่อประโยชน 1 - 33

กฎหมายคุมครองแรงงาน

การคุมครองแรงงาน การแรงงานสัมพันธ หรือการสอบสวน หรือการพิจารณาคดี มาตรา ๑๕๘ ในกรณีที่ผูกระทําความผิดเปนนิติบุคคล ถาการกระทําความผิดของนิติบุคคลนั้น เกิดจากการสั่งการ หรือการกระทําของบุคคลใด หรือไมสั่งการ หรือไมกระทําการอันเปนหนาที่ที่ตอง กระทําของกรรมการผูจัดการ หรือบุคคลใด ซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคลนั้น ผูนั้นตองรับ โทษตามที่บัญญัติไวสําหรับความผิดนั้นๆ ดวย มาตรา ๑๕๙ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เวนแตความผิดตามมาตรา ๑๕๗ ถาเจา พนักงานดังตอไปนี้เห็นวาผูกระทําผิดไมควรไดรับโทษจําคุกหรือไมควรถูกฟองรอง ใหมีอํานาจเปรียบ เทียบดังนี้ (๑) อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย สําหรับความผิดที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร (๒) ผูวาราชการจังหวัดหรือผูซึ่งผูวาราชการจังหวัดมอบหมาย สําหรับความผิดที่เกิดขึ้นใน จังหวัดอื่น ในกรณีที่มีการสอบสวน ถาพนักงานสอบสวนพบวาบุคคลใดกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติ นีแ้ ละบุคคลนั้นยินยอมใหเปรียบเทียบ ใหพนักงานสอบสวนสงเรื่องใหอธิบดีหรือผูวาราชการจังหวัด แลว แตกรณี ภายในเจ็ดวันนับแตวันที่บุคคลนั้นแสดงความยินยอมใหเปรียบเทียบ เมื่อผูกระทําผิดไดชําระเงินคาปรับตามจํานวนที่เปรียบเทียบภายในสามสิบวันแลวใหถือวาคดี เลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ถาผูกระทําผิดไมยินยอมใหเปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแลวไมชําระเงินคาปรับภายในกําหนด เวลาตามวรรคสาม ใหดําเนินคดีตอไป บทเฉพาะกาล มาตรา ๑๖๐ มิใหนํามาตรา ๔๔ มาใชบังคับกับลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุตั้งแตสิบสามปบริบูรณ แตยงั ไมถงึ สิบหาปบริบูรณ ที่นายจางรับเขาทํางานตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๐๓ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ อยูกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ มาตรา ๑๖๑ ใหนายจางแจงการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดป ที่นายจางรับเขา ทํางานตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๐๓ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ กอนวันที่พระราช บัญญัตนิ ใี้ ชบังคับ ทั้งนี้ ภายในสิบหาวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ มาตรา ๑๖๒ ใหคณะกรรมการคาจาง คณะอนุกรรมการ และคณะทํางานซึ่งดํารงตําแหนงอยูใน วันทีพ่ ระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ คงอยูในตําแหนงตอไปไดจนกวาจะครบวาระการดํารงตําแหนง มาตรา ๑๖๓ การจัดเก็บเงินสะสมและเงินสมทบเพื่อเปนทุนสงเคราะหลูกจางตามบทบัญญัติวา ดวยกองทุนสงเคราะหลูกจางในหมวด ๑๓ จะเริ่มดําเนินการเมื่อใดใหตราเปนพระราชกฤษฎีกา

1 - 34

กฎหมายคุมครองแรงงาน

มาตรา ๑๖๔ คํารองที่ยังไมถึงที่สุดหรือคดีที่ยังอยูในระหวางการพิจารณาของศาลกอนวันที่พระ ราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหบังคับตามประกาศกระทรวงมหาดไทยหรือประกาศกระทรวงแรงงานและ สวัสดิการสังคม ซึ่งออกตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๐๓ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ จน กวาคํารองหรือคดีนั้นๆ จะถึงที่สุด มาตรา ๑๖๕ ผูใ ดมีสิทธิไดรับคาจางหรือเงินอื่นจากนายจางตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับ ที่ ๑๐๓ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ อยูกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหคงไดรับตอไป มาตรา ๑๖๖ บรรดาประกาศหรือคําสั่งที่ออกตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๐๓ ลงวัน ที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ใหยังคงใชไดตอไปเทาที่ไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ จนกวาจะ มีกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี

1 - 35

กฎหมายคุมครองแรงงาน

อัตราคาธรรมเนียม คาขึ้นทะเบียนการเปนผูรับรอง หรือตรวจสอบเอกสารหลักฐานรายงาน

ปละ ๕,000 บาท

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนือ่ งจากประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๐๓ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ไดใชบังคับมา เปนเวลานาน บทบัญญัติบางประการจึงไมเหมาะสมกับสภาพการณในปจจุบันประกอบกับขอกําหนด เกี่ ย วกั บ การคุ  ม ครองแรงงานที่ อ อกตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับดังกลาวอยูในรูปของประกาศ กระทรวง อันมีฐานะเปนกฎหมายลําดับรอง จึงมีปญหาในเรื่องการยอมรับ ดังนั้น เพื่อใหการใชแรงงาน เปนไปอยางเปนธรรม และเหมาะสมกับสภาพการณในปจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป สมควรปรับปรุงบท บัญญัตติ า ง ๆ เกี่ยวกับการใชแรงงานใหเหมาะสมยิ่งขึ้น เชน การใหอํานาจแกรัฐมนตรีในการออกกฎ กระทรวงเพือ่ ใหความคุมครองแกการใชแรงงานบางประเภทเปนพิเศษกวาการใชแรงงานทั่วไป การหาม มิใหนายจางเลิกจางลูกจางซึ่งเปนหญิงเพราะเหตุมีครรภ การใหลูกจางซึ่งเปนเด็กมีสิทธิลาเพื่อศึกษา อบรม การใหนายจางจายเงินทดแทนการขาดรายไดของลูกจางในกรณีที่นายจางหยุดประกอบกิจการ การ กําหนดเงื่อนไขในการนําหนี้บางประเภทมาหักจากคาตอบแทนการทํางานของลูกจาง การจัดตั้งกองทุน เพือ่ สงเคราะหลูกจางหรือบุคคลซึ่งลูกจางระบุใหไดรับประโยชน หรือในกรณีที่มิไดระบุ ใหทายาทไดรับ ประโยชนจากกองทุนเพื่อสงเคราะหลูกจางของลูกจางที่ถึงแกความตายตลอดจนปรับปรุงอัตราโทษให เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจในปจจุบัน จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

1 - 36

กฎหมายคุมครองแรงงาน

คําชี้แจงของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่องการบังคับใชพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ฉบับที่ 1 โดยทีพ่ ระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ซึ่งเปนกฎหมายคุมครองแรงงานฉบับใหม มีผล บังคับใชตงั้ แตวนั ที่ 19 สิงหาคม 2541 แตเนื่องจากกฎหมายฉบับนี้ไดยกรางขึ้นในขณะที่ประเทศมีสภาวะ เศรษฐกิจดี โดยกําหนดสิทธิหนาที่ของลูกจางและนายจางที่พึงปฏิบัติตอกันเพื่อใหมีการใชแรงงานอยาง เหมาะสมและยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตของผูใชแรงงานใหสูงขึ้น โดยคงหลักการเดิมที่เหมาะสมไว พรอมทัง้ ปรับปรุงแกไขหลักการเดิมใหเหมาะสมยิ่งขึ้น ตลอดจนกําหนดมาตรการใหมเพื่อปองกันปญหาที่ อาจจะเกิดขึ้นดวย แตเมื่อมีผลบังคับใชในเวลาที่ประเทศประสบปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นดวย แตเมื่อมีผล บังคับใชในเวลาที่ประเทศประสบปญหาทางเศรษฐกิจอยางรุนแรง จึงมีขอเสนอจากหลายฝายใหพิจารณา ออกกฎกระทรวงและระเบียบตาง ๆ ซึ่งเปนการกําหนดหลักเกณฑวิธีการและรายละเอียดในการปฏิบัติตาม กฎหมายในลักษณะที่มีความยืดหยุน สอดคลองกับสถานการณปจจุบัน และนําไปสูการปฏิบัติไดอยางมี สิทธิผล กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมขอชี้แจงเพื่อความเขาใจโดยทั่วกัน ดังนี้ 1. ตาม พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มีบทบัญญัติพิเศษโดยใหอํานาจกระทรวงแรงงาน และสวัสดิการสังคม ออกกฎกระทรวงมิใหใชบังคับพระราชบัญญัติทั้งหมดหรือแตบางสวนแกนายจาง ประเภทหนึง่ ประเภทใดก็ได และในงานเกษตรกรรม งานรับไปทําที่บาน และงานอื่นตามที่กําหนดในพระ ราชกฤษฎีกาจะออกกฎกระทรวงใหมีการคุมครองแรงงานกรณีตาง ๆ แตกตางไปจากพระราชบัญญัตินี้ก็ได จึงกลาวไดวาพระราชบัญญัติคุมครองแรงงานมีความยืดหยุนในการบังคับใชตามลักษณะหรือสภาพของงาน ตามสภาวการณ 2. กระทรวงแรงงานไดเชิญผูแทนลูกจาง นายจาง และผูแทนผูประกอบการมารวมกันพิจารณา ใหขอคิดเห็นเพื่อแกไขปญหาในทางปฏิบัติแลว ซึ่งไดรับความรวมมือดวยดีจากทุกฝายและไดเสนอออก พระราชกฤษฎีกา และกฎกระทรวง ซึ่งไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีและผานการพิจารณาของสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาแลวรวม 13 ฉบับ 3. สาระสําคัญของกฎกระทรวงและพระราชกฤษฎีกาโดยสรุป มีดังนี้ 1) ครูใหญและครูของโรงเรียนเอกชนไมอยูในขายบังคับตามกฎหมายนี้ เพราะมีกฎหมายวาดวย โรงเรียนเอกชนใหการคุมครองอยูแลว 2) ผูช ว ยแมบาน ลูกจางงานบาน ที่ทํางานไมเกี่ยวของกับธุรกิจของนายจาง ไดรับการคุมครอง เฉพาะในเรื่องการจายคาจางวันหยุดพักผอนประจําป และการไมถูกลวงเกินทางเพศ 3) ลูกจางทํางานที่ไมแสวงหากําไรทางเศรษฐกิจ เชน ลูกจางของมูลนิธิ สมาคม ไดรับการคุม ครองเฉพาะในเรื่องการจายคาจางเทานั้น 1 - 37

กฎหมายคุมครองแรงงาน

4) ลูกจางที่ทํางานใชวิชาชีพหรือวิชาการ งานดานบริการและการจัดการ งานเสมียนพนักงาน งานอาชีพดานการคา งานอาชีพดานบริการ งานที่เกี่ยวของกับการผลิต หรืองานที่เกี่ยวของกับงาน ดัง กลาว อาจตกลงกันกําหนดเวลาทํางานปกติเกินกวาวันละ 8 ชั่วโมงได แตตองไมเกินสัปดาหละ 48 ชั่วโมง ในกรณีลูกจางไดรับคาจางรายวัน ใหจายคาจางเพิ่มขึ้นตามสวนสําหรับชั่วโมงทํางานเกิน 8 ชั่วโมง 5) กําหนดงานที่อาจเปนอันตรายแกสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจางไดแก งานผลิตสาร เคมี อันตราย งานเชื่อมโลหะ งานที่ตองทําใตดิน ใตนํ้า ในถํ้า ในอุโมงค หรือในที่อับอากาศ งานเกี่ยวกับ กัมมันตภาพรังสี งานขนสงวัตถุอันตราย งานที่ตองทําดวยเครื่องมือหรือเครื่องจักรซึ่งผูทําไดรับความสั่น สะเทือนอันอาจเปนอันตราย งานที่ตองทําเกี่ยวกับความรอนจัด หรือความเย็นจัดอันอาจเปนอันตราย 6) ในกรณีที่มีความจํ าเปนนายจางจะใหลูกจางทํางานลวงเวลาและทํางานในวันหยุดและทํางาน ลวงเวลาในวันหยุดไดไมเกินสัปดาหละ 36 ชั่วโมง 7) ในกิจการโรงแรม รานขายอาหาร สโมสร สมาคม สถานที่บริการทองเที่ยว งานในปา งานใน ที่ ทุรกันดาร งานขนสง ซึ่งตองทําติดตอกันไป นายจางอาจใหลูกจางทํางานในวันหยุดตามประเพณีได โดยให หยุดงานในวันอื่นชดเชย หรือจายคาทํางานในวันหยุดใหก็ได 8) ลูกจางมีสิทธิลาเพื่อฝกอบรมหรือพัฒนาความรูความสามารถที่เกี่ยวกับการแรงงานและ สวัสดิ การสังคม และลาไปสอบเพื่อวัดผลการศึกษาที่เปนของทางราชการหรือราชการอนุญาตใหจัดได แตตอง แจงใหนายจางทราบลวงหนากอน 7 วัน 9) ลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุตํ่ากวา 18 ป หามมิใหทํางานในที่ที่มีอุณหภูมิสูงกวา 45 องศาเซลเซียส ทํ างานในหองเย็นในอุตสาหกรรมการผลิตหรือการถนอมอาหารโดยการทําเยือกแข็ง งานใชเครื่องเจาะ กระแทก งานที่มีระดับเสียงดังเกินกวา 85 เดซิ-เบล (เอ) งานผลิตหรือขนสงสารกอมะเร็ง งานที่เกี่ยวของกับ สารไซยาไนด งานผลิตหรือขนสงพลุ ดอกไมเพลิง หรือวัตถุระเบิด งานสํารวจ ขุดเจาะ กลั่น บรรจุ หรือขน ถายนํามั ้ นเชื้อเพลิงหรือกาซ งานในหองปฏิบัติการชันสูตรโรค งานดูแลผูปวยดวยโรคติดตอตามกฎหมายวา ดวยโรคติดตอ งานทําความสะอาดเครื่องใชเครื่องนุงหมผูปวยในสถานพยาบาล งานเก็บ ขน กําจัดมูลฝอย หรือสิง่ ปฏิกูลในสถานพยาบาล งานขับหรือบังคับรถยกหรือปนจั่น งานเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี ในสวนของการทํางานในปมนํ้ามันอนุญาตใหเด็กทํางานได 10) งานในกิจการปโตรเลียม สวนใหญเปนงานที่ทําในพื้นที่หางไกล ทุรกันดาร เปนอุปสรรคตอ การเดินทางเขา-ออกบริเวณพื้นที่ทํางาน จึงจําเปนตองลดจํานวนการเดินทางลงเพื่อความปลอดภัยของลูก จาง ลักษณะและสภาพของงานตองดําเนินการตอเนื่องกันไปตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมง หากมีการสงมอบงานบอย ครัง้ อาจกอใหเกิดปญหาหรือความผิดพลาดในกระบวนการผลิต ดังนั้น นายจางและลูกจางอาจ ตกลงกัน กําหนดเวลาทํางานไดไมเกินวันละ 12 ชั่วโมง หรืออาจกําหนดเปนชวงได ชวงละไมเกิน 28 วัน กรณีนาย จางและลูกจางตกลงกันกําหนดวันทํางานติดตอกันเปนชวง นายจางตองจัดใหมีวันหยุดตามความเหมาะสม เวนแตกรณีที่นายจางและลูกจางตกลงกันกําหนดวันทํางานติดตอกันชวงละไมนอยกวา 14 วัน นายจางตอง จัดใหลกู จางมีวันหยุดติดตอกันไมนอยกวากึ่งหนึ่งของวันทํางานติดตอกัน เชน ทํางาน 28 วัน ใหหยุดติดตอ กัน 14 วัน ถาทํางาน 14 วัน ใหหยุดติดตอกัน 7 วัน

1 - 38

กฎหมายคุมครองแรงงาน

11) ลูกจางทีท่ างานในร ํ านขายอาหารหรือเครื่องดื่ม ที่เปดจําหนายหรือใหบริการไมติดตอกันในแต ละวันทํางาน และไดกําหนดเวลาพักไดเกิน 2 ชั่วโมง เชน รานขายอาหารที่เปดขายอาหาร 2 ชวง ชวงแรก ทํางาน 10.00-14.00 น. ชวงที่สองทํางานเวลา 18.00-22.00 น. ลูกจางสามารถพักได 4 ชั่วโมง ระหวางเวลา 14.00-18.00 น. เวลาพักดังกลาวไมถือเปนเวลาทํางาน 12) นักวิชาการหรือวิศวกรหญิง ใหทํางานในโรงกลั่นปโตรเลียมหรือปโตรเคมีได 13) ลูกจางหญิงมีครรภซึ่งทํางานบริหาร วิชาการ งานธุรการ รวมทั้งงานเกี่ยวกับการเงินหรือ บัญชี ทํางานลวงเวลาได 14) ลูกจางที่ทํางานเรขายหรือชักชวนซื้อสินคา ซึ่งไดรับคานายหนาจากการขายแลวไมมีสิทธิ ได รับคาลวงเวลา และคาลวงเวลาในวันหยุด ยกเวนนายจางตกลงจายให 15) ขณะนีก้ ฎหมายนี้ไมใชบังคับกับลูกจางเกษตรกรรม และลูกจางที่รับงานไปทําที่บาน 16) งานประมงทะเล หามจางเด็กอายุตํ่ากวา 16 ป ทํางานกับเรือประมง นอกจากลูกจางอายุไม ตํ่า กวา 15 ป ที่มีพอแมหรือผูปกครองทํางานในเรือนั้น นายจางทําทะเบียนลูกจางเปนภาษาไทยตองจัดวันหยุด ประจําปไมนอยกวาปละ 30 วัน โดยจายคาจาง กรณีลูกจางตกคางอยูในตางประเทศเนื่องจากการทํางานให นายจางจายเงินใหแกลูกจางไมนอยกวารอยละ 50 ของคาจางตามจํานวนวันที่ตกคางในตางประเทศ เวนแต นายจางไดแจงเปนหนังสือตอหนวยราชการที่รับผิดชอบภายใน 60 วัน นับแตวันที่ลูกจางไปตกคางอยูใน ตางประเทศ หากเกิดเรืออับปางลูกจางประสบอันตราย หรือเจ็บปวนเนื่องจากการทํางานในสถานที่นั้น นาย จางบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดสัญญา นายจางตองจายคาใชจายในการเดินทางกลับมาภูมิลําเนาของลูก จาง 17) ลูกจางทีท่ างานในงานบรรทุ ํ กหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเล ผูประกอบการบรรทุกขนถาย สิน คาเรือเดินทะเลตองรับผิดชอบตอลูกจางในฐานะนายจาง 18) ลูกจางที่ทํางานขนสงทางบก เชน พนักงานขับรถ กําหนดเวลาทํางานปกติวันละไมเกิน 8 ชั่ว โมง สําหรับงานขับขี่ยานพาหนะทั่วไป กําหนดใหลูกจางมีเวลาพักหลังจากทํางานขับขี่ยานพาหนะมาแลว ไมเกิน 4 ชั่วโมง และจัดใหลูกจางพักอยางนอย 12 ชั่วโมงกอนใหเริ่มทํางานขับขี่ยานพาหนะในวันตอไป เพือ่ ใหลูกจางลดความเมื่อยลาและอารมณตึงเครียดจากการทํางาน 19) ลูกจางทีท่ าหน ํ าที่เฝาดูแลสถานที่หรือทรัพยสินที่ทํางานกับนายจางที่ประกอบธุรกิจเฝา ดู แลสถานที่หรือทรัพยสินไมมีสิทธิไดรับคาลวงเวลา และคาลวงเวลาในวันหยุด แตมีสิทธิไดรับคาตอบแทน เปนเงินเทากับคาจางตอชั่วโมง ตามจํานวนที่ลูกจางทําไดในวันที่ทํางาน แตถาลูกจางทํางานในวันหยุด ลูก จางจะไดรับคาตอบแทนเปนจํานวน 2 เทาของคาจางวันทํางานปกติ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 19 สิงหาคม 2541

1 - 39

กฎหมายคุมครองแรงงาน

บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบพระราชกฤษฎีกา กําหนดงานที่ใหมีการคุมครองแรงงานแตกตางไปจาก พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 พ.ศ.2541

หลักการ กําหนดงานทีใ่ หมีการคุมครองแรงงานแตกตางไปจากพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 เหตุผล

โดยที่งานในกิจการปโตรเลียมตามกฎหมายวาดวยปโตรเลียมรวมตลอดถึงงานซอม บํารุง และงานใหบริการที่เกี่ยวเนื่องกับงานดังกลาวเฉพาะที่ทําในแปลงสํารวจและพื้นที่ผลิต ซึ่งเปนงานที่ตองทําในพื้นที่หางไกลและทุรกันดาร มีลักษณะและสภาพของงานตองดําเนิน การตอเนื่องกันไปตลอดเวลา และนอกจากนั้นมีงานบางประเภทที่มีลักษณะและสภาพของ งานสมควรไดรับการคุมครองแรงงานในบางเรื่องใหแตกตางไปจากที่พระราชบัญญัติคุม ครองแรงงาน พ.ศ.2541 บัญญัติไว ทั้งนี้ ในสวนที่เกี่ยวกับเวลาทํางานปกติ เวลาพัก งานที่ หามลูกจางซึ่งเปนหญิงทํางาน การหามนายจางใหลูกจางซึ่งเปนหญิงมีครรภทํางานลวงเวลา และงานที่ลูกจางไมมีสิทธิไดรับคาลวงเวลาหรือคาตอบแทนอยางอื่น เนื่องจากไดรับผล ประโยชนเปนพิเศษอยูแลว ซึ่งมาตรา 22 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 บัญญัติใหกําหนดงานดังกลาวโดยพระราชกฤษฎีกา จึงจําเปนตองตราพระราชกฤษฎีกานี้

1 - 40

กฎหมายคุมครองแรงงาน

พระราชกฤษฎีกา กําหนดงานที่ใหมีการคุมครองแรงงานแตกตางไปจาก พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 พ.ศ.2541 ภูมิพลอดุลยเดช ปร. ใหไว ณ วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.2541 เปนปที่ 53 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ให ประกาศวา โดยที่ เ ป น การสมควรกํ าหนดงานที่ใหมีการคุมครองแรงงานแตกตางไปจากพระราชบัญญัติ คุม ครองแรงงาน พ.ศ.2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 221 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและมาตรา 22 แหง พระราชบัญญัตคิ มุ ครองแรงงาน พ.ศ.2541 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชกฤษฎีกานี้เรียกวา “พระราชกฤษฎีกากําหนดงานที่ใหมีการคุมครองแรงงาน แตกตางไปจากพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 พ.ศ.2541” มาตรา 2 พระราชกฤษฎีกานี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2541 เปนตนไป มาตรา 3 ใหงานดังตอไปนี้เปนงานที่ใหมีการคุมครองแรงงานกรณีตางๆ แตกตางไปจากพระ ราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541

(1) งานในกิจการปโตรเลียมตามกฎหมายวาดวยปโตรเลียม รวมตลอดถึงงานซอม บํารุงและงานใหบริการที่เกี่ยวเนื่องกับงานดังกลาว เฉพาะที่ทําในแปลงสํารวจและพื้นที่ผลิต (2) งานที่ใชวิชาชีพหรือวิชาการ งานดานบริหารและงานจัดการ งานเสมียนพนักงาน งานอาชีพเกี่ยวกับการคา งานอาชีพดานบริการ งานที่เกี่ยวกับการผลิต หรืองานที่เกี่ยวของ กับงานดังกลาว ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 52 ก วันที่ 24 สิงหาคม 2541

1 - 41

กฎหมายคุมครองแรงงาน

(3) งานในรานขายอาหารหรือรานขายเครื่องดื่มที่เปดจําหนายหรือใหบริการไมติดตอ กันในแตละวันที่มีการทํางาน (4) งานวิชาชีพหรือวิชาการเกี่ยวกับการสํารวจ การขุดเจาะ การกลั่นแยกและการผลิต ผลิตภัณฑจากปโตรเลียมหรือปโตรเคมี (5) งานในตําแหนงผูบริหาร งานวิชาการ งานธุรการ รวมทั้งงานเกี่ยวกับการเงินหรือบัญชี (6) งานเรขายหรือชักชวนซื้อสินคา มาตรา 4 กฤษฎีกานี้

ใหรฐั มนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม รักษาการตามพระราช

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี

1 - 42

กฎหมายคุมครองแรงงาน

กฎกระทรวง (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคสอง และมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรง งาน พ.ศ.2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ การมิใหใชพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 ทั้งหมด หรือแตบางสวนบังคับแกนาย จางประเภทหนึ่งประเภทใด ใหเปนไปตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ (1) มิใหใชพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 บังคับแกนายจางซึ่งประเภทกิจการ โรง เรียนเอกชนตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชน ทั้งนี้ เฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับครูใหญและครู (2) มิใหใชบทบัญญัติมาตรา 12 มาตรา 18 มาตรา 21 และมาตรา 22 ของหมวด 1 บททั่วไป หมวด 2 การใชแรงงานทั่วไป ตั้งแตมาตรา 23 ถึงมาตรา 37 เวนแตมาตรา 30 หมวด 3 การใชแรงงาน หญิง ตัง้ แตมาตรา 38 ถึงมาตรา 43 หมวด 4 การใชแรงงานเด็ก ตั้งแตมาตรา 44 ถึงมาตรา 52 หมวด 5 คาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด ตั้งแตมาตรา 53 ถึงมาตรา 77 เวน แตการจายคาจางตามมาตรา 53 มาตรา 54 มาตรา 55 และมาตรา 70 หมวด 6 คณะกรรมการ คาจาง ตัง้ แตมาตรา 78 ถึงมาตรา 91 หมวด 7 สวัสดิการ ตั้งแตมาตรา 92 ถึงมาตรา 99 หมวด 8 ความปลอด ภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ตั้งแตมาตรา 100 ถึงมาตรา 107 หมวด 9 การควบ คุม ตัง้ แตมาตรา 108 ถึงมาตรา 115 หมวด 10 การพักงาน ตั้งแตมาตรา 116 ถึงมาตรา 117 หมวด 11 คาชดเชย ตัง้ แตมาตรา 118 ถึงมาตรา 122 และหมวด 13 กองทุนสงเคราะหลูกจาง ตั้งแตมาตรา 126 ถึงมาตรา 138 บังคับแกนายจางซึ่งจางลูกจางทํางานเกี่ยวกับงานบานอันมิไดมีการประกอบธุรกิจ รวมอยูดวย (3) มิใหใชบทบัญญัติมาตรา 12 มาตรา 16 มาตรา 18 และมาตรา 22 ของหมวด 1 บททั่วไป หมวด 2 การใชแรงงานทั่วไป ตั้งแตมาตรา 23 ถึงมาตรา 37 หมวด 3 การใชแรงงานหญิง ตั้งแตมาตรา 38 ถึงมาตรา 43 หมวด 4 การใชแรงงานเด็ก ตั้งแตมาตรา 44 ถึงมาตรา 52 หมวด 5 คาจาง คาลวง เวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด ตั้งแตมาตรา 53 ถึงมาตรา 77 เวนแตการจายคาจาง ตามมาตรา 53 มาตรา 54 มาตรา 55 และมาตรา 70 หมวด 6 คณะกรรมการคาจาง ตั้งแตมาตรา 78 ถึงมาตรา 91 หมวด 7 สวัสดิการ ตั้งแตมาตรา 92 ถึงมาตรา 99 หมวด 9 การควบคุม ตั้งแตมาตรา 108 ถึงมาตรา 115 หมวด 10 การพักงาน ตั้งแตมาตรา 116 ถึงมาตรา 117 หมวด 11 คาชดเชย ตั้งแต มาตรา 118 ถึงมาตรา 122 และหมวด 13 กองทุนสงเคราะหลูกจาง ตั้งแตมาตรา 126 ถึงมาตรา 138 บังคับแกนายจางซึ่งจางลูกจางทํางานที่มิไดแสวงหากําไรในทางเศรษฐกิจ ใหไว ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี (นายไตรรงค สุวรรณคีรี) รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 49 ก วันที่ 19 สิงหาคม 2541

1 - 43

กฎหมายคุมครองแรงงาน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 23 วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ.2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ 1

ใหงานทุกประเภทมีเวลาทํางานปกติวันหนึ่งไมเกินแปดชั่วโมง

ขอ 2 (1) (2) (3) (4) (5) (6)

งานทีอ่ าจเปนอันตรายตอสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจาง ไดแก งานทีต่ องทําใตดิน ใตนํ้า ในถํ้า ในอุโมงค หรือในที่อับอากาศ งานเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี งานเชื่อมโลหะ งานขนสงวัตถุอันตราย งานผลิตสารเคมีอันตราย งานทีต่ อ งทําดวยเครื่องมือหรือเครื่องจักรซึ่งผูทําไดรับความสั่นสะเทือน อันอาจเปน

อันตราย (7) งานทีต่ องทําเกี่ยวกับความรอนจัดหรือความเย็นจัดอันอาจเปนอันตราย ทัง้ นี้ โดยสภาพของงานมีความเสี่ยงอันตรายสูง หรือมีภาวะแวดลอมในการทํางานเกินมาตรฐาน ความปลอดภัยที่กําหนดไวในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 103 ซึ่งไมสามารถปรับปรุงแกไขที่แหลง กําเนิดได และตองจัดใหมีการปองกันที่ตัวบุคคล ใหไว ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี (นายไตรรงค สุวรรณคีรี) รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 49 ก วันที่ 19 สิงหาคม 2541

1 - 44

กฎหมายคุมครองแรงงาน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 26 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ชัว่ โมงทํางานลวงเวลา ตามมาตรา 24 วรรคหนึ่ง และชั่วโมงทํางานในวันหยุดตามมาตรา 25 วรรคสองและวรรคสาม เมื่อรวมกันแลวสัปดาหหนึ่งตองไมเกินสามสิบหกชั่วโมง ชัว่ โมงทํางานในวันหยุดใหหมายความรวมถึงชั่วโมงทํางานลวงเวลาในวันหยุดดวย

ใหไว ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี (นายไตรรงค สุวรรณคีรี) รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 49 ก วันที่ 19 สิงหาคม 2541

1 - 45

กฎหมายคุมครองแรงงาน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 29 วรรคสี่ แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ งานที่มีลักษณะหรือสภาพของงานที่นายจางไมอาจใหลูกจางหยุดทํางานในวันหยุดตามประเพณี ไดแกงานดังตอไปนี้ (1) งานในกิจการโรงแรม สถานมหรสพ รานขายอาหาร รานขายเครื่องดื่ม สโมสร สมาคม สถานพยาบาล และสถานบริการการทองเที่ยว (2) งานในปา งานในที่ทุรกันดาร งานขนสง และงานที่มีลักษณะหรือสภาพของงานตองทํา ติดตอกันไปถาหยุดจะเสียหายแกงาน

ใหไว ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี (นายไตรรงค สุวรรณคีรี) รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 49 ก วันที่ 19 สิงหาคม 2541

1 - 46

กฎหมายคุมครองแรงงาน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 36 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ใหลกู จางมีสิทธิลาเพื่อการฝกอบรมหรือพัฒนาความรูความสามารถในกรณีดังตอไปนี้ (1) เพื่อประโยชนตอการแรงงานและสวัสดิการสังคมหรือการเพิ่มทักษะความชํานาญเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทํางานของลูกจาง (2) การสอบวัดผลทางการศึกษาที่ทางราชการจัดหรืออนุญาตใหจัดขึ้น การฝกอบรมหรือพัฒนาความรูความสามารถตาม (1) จะตองมีโครงการหรือหลักสูตร และ กําหนดชวงเวลาของโครงการหรือหลักสูตรที่แนนอนและชัดเจน ขอ 2 ในการลาเพื่อการฝกอบรมหรือพัฒนาความรูความสามารถของลูกจาง ใหลูกจางแจงถึง เหตุทลี่ าโดยชัดแจง พรอมทั้งแสดงหลักฐานที่เกี่ยวของ ถามี ใหนายจางทราบลวงหนาไมนอยกวาเจ็ดวัน กอนวันลาเพื่อเขารับการฝกอบรมหรือพัฒนาความรูความสามารถ ขอ 3 นายจางอาจไมอนุญาตใหลูกจางลาเพื่อการฝกอบรมหรือพัฒนาความรูความสามารถ ในกรณีดังตอไปนี้ (1) ในปที่ลานั้น ลูกจางเคยไดรับอนุญาตใหลาเพื่อการฝกอบรมหรือพัฒนาความรูความ สามารถมาแลวไมนอยกวาสามสิบวันหรือสามครั้ง หรือ

(2) นายจางไดแสดงใหเห็นวาการลาของลูกจางอาจกอใหเกิดความเสียหาย หรือกระทบตอการประกอบธุรกิจของนายจาง ใหไว ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี

(นายไตรรงค สุวรรณคีรี) รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 49 ก วันที่ 19 สิงหาคม 2541

1 - 47

กฎหมายคุมครองแรงงาน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 49 (3) (4) (5) (6) (7) และ (10) แหง พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมออกกฎ กระทรวงไว ดังตอไปนี้ งานซึง่ หามมิใหนายจางใหลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดปทํา ไดแก (1) งานเกีย่ วกับความรอน ความเย็น ความสั่นสะเทือนและเสียงอันอาจเปนอันตราย ดังตอไปนี้ (ก) งานซึง่ ทําในที่ที่มีอุณหภูมิในสภาวะแวดลอมในการทํางานสูงกวาสี่สิบหาองศาเซลเซียส (ข) งานซึ่งทําในหองเย็นในอุตสาหกรรมการผลิตหรือการถนอมอาหารโดยการทําเยือกแข็ง (ค) งานที่ใชเครื่องเจาะกระแทก (ง) งานที่มีระดับเสียงที่ลูกจางไดรับติดตอกันเกินแปดสิบหาเดซิเบล (เอ) ในการทํางานวัน ละแปดชั่วโมง (2) งานเกีย่ วกับสารเคมีที่เปนอันตราย วัตถุมีพิษ วัตถุระเบิด หรือวัตถุไวไฟ ดังตอไปนี้ (ก) งานผลิตหรือขนสงสารกอมะเร็งตามรายชื่อในบัญชีทายกฎกระทรวงนี้ (ข) งานที่เกี่ยวของกับสารไซยาไนด (ค) งานผลิตหรือขนสงพลุ ดอกไมเพลิง หรือวัตถุระเบิดอื่นๆ (ง) งานสํารวจ ขุดเจาะ กลั่น บรรจุ หรือขนถายนํ้ามันเชื้อเพลิง หรือกาซ เวนแตงานในสถานี บริการนํ้ามันเชื้อเพลิง (3) งานเกีย่ วกับจุลชีวันเปนพิษซึ่งอาจเปนเชื้อไวรัส แบคทีเรีย รา หรือเชื้ออื่น ดังตอไปนี้ (ก) งานที่ทําในหองปฏิบัติการชันสูตรโรค (ข) งานดูแลผูปวยดวยโรคติดตอตามกฎหมายวาดวยโรคติดตอ (ค) งานทําความสะอาดเครื่องใชและเครื่องนุงหมผูปวยในสถานพยาบาล (ง) งานเก็บ ขน กําจัดมูลฝอยหรือสิ่งปฏิกูลในสถานพยาบาล (4) งานขับหรือบังคับรถยกหรือปนจั่นที่ใชพลังงานเครื่องยนตหรือไฟฟาไมวาการขับหรือบังคับ จะกระทําในลักษณะใด (5) งานเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสีทุกชนิด ใหไว ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี (นายไตรรงค สุวรรณคีรี) รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 49 ก วันที่ 19 สิงหาคม 2541

1 - 48

กฎหมายคุมครองแรงงาน

บัญชีทายกฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (12) (13)

4-แอมิโนไดฟนิล (4-Aminodiphenyl) อารเซนิก (Arsenic) แอสเบสทอส (Asbestos) เบนซีน (Benzene) เบริลเลี่ยม (Beryllium) เบนซิดนี (ฺBenzidine) บีส (คลอโรเมทธิล) อีเทอร (bis (chloromethyl) ether) สารประกอบโครเมียม (Cr VI) (Chromium Cr VI compound) นํามั ้ นดิน (Coal tar pitch volatile) บีตา-แนฟทิลแอมีน (B-Naphthylamine) นิกเกิลซัลไฟด (Nickel sulfide) ไวนิลคลอไรด (Vinyl chloride) ซิงกโครเมต (Zinc chromate)

1 - 49

กฎหมายคุมครองแรงงาน

บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบรางกฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 หลักการ กํ าหนดการคุมครองแรงงานในงานบางประเภทใหแตกตางไปจากพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ.2541 เหตุผล เนื่องจากพระราชกฤษฎีกากําหนดงานที่ใหมีการคุมครองแรงงานแตกตางไปจากพระราชบัญญัติ คุม ครองแรงงาน พ.ศ.2541 พ.ศ.2541 ไดบัญญัติใหงานบางประเภทที่มีสภาพหรือลักษณะของการ ทํ างานซึ่ ง ไม อ าจนํ าข อ กํ าหนดเกี่ ย วกั บ การคุ  ม ครองแรงงานตามพระราชบั ญ ญั ติ คุ  ม ครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาใชบงั คับไดอยางเหมาะสม สมควรกําหนดการคุมครองแรงงานในงานดังกลาวไวเปนพิเศษ ใหแตกตางจากการคุมครองแรงงานตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 และโดยที่มาตรา 22 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 บัญญัติใหออกกฎกระทรวงกําหนดการคุมครองแรง งานในกรณีตาง ๆ ใหแตกตางไปจากพระราชบัญญัติดังกลาวได จึงจําเปนตองออกกฎกระทรวงนี้

1 - 50

กฎหมายคุมครองแรงงาน

กฎกระทรวง* ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 22 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 งานในกิจการปโตรเลียมตามกฎหมายวาดวยปโตรเลียม รวมตลอดถึงงานซอมบํารุงและ งานใหบริการที่เกี่ยวเนื่องกับงานดังกลาว เฉพาะที่ทําในแปลงสํารวจและพื้นที่ผลิต ใหมีการคุมครอง แรงงานดังตอไปนี้ (1) ใหนายจางและลูกจางตกลงกําหนดเวลาทํางานปกติโดยกําหนดเวลาเริ่มตนและเวลาสิ้นสุด ของการทํางาน แตวันหนึ่งไมเกินสิบสองชั่วโมง (2) นายจางและลูกจางอาจตกลงกันกําหนดเวลาทํางานติดตอกันเปนชวง แตหามมิใหตกลงกัน กําหนดเวลาทํางานเกินชวงละยี่สิบแปดวันติดตอกัน (3) นายจางตองจัดใหลูกจางซึ่งทํางานติดตอกันมาแลวครบชวงเวลาทํางานตาม (2) มีวันหยุด ประจําชวงเวลาทํางานตามความเหมาะสม เวนแตกรณีที่นายจางและลูกจางตกลงกันกําหนดวันทํางานติด ตอกันชวงละไมนอยกวาสิบสี่วัน นายจางตองจัดใหลูกจางมีวันหยุดติดตอกันไมนอยกวากึ่งหนึ่งของวัน ทํางานติดตอกัน วันหยุดประจําชวงเวลาตามวรรคหนึ่งใหหมายความรวมถึงวันหยุดประจําสัปดาหที่นายจางตอง จัดใหตามมาตรา 28 ดวย (4) ในกรณีทวี่ นั หยุดตามประเพณีวันใดตรงกับวันหยุดตาม (3) ใหลูกจางไดหยุดชดเชยวัน หยุดตามประเพณีในวันทํางานถัดไปหรือนายจางจะจายคาทํางานในวันหยุดใหก็ได (5) ใหนายจางแจงการฝกอบรมเกี่ยวกับการยังชีพในทะเล และการผจญเพลิงซึ่งตองอบรมใน วันหยุดใหลูกจางทราบลวงหนาตามสมควร เวนแตการฝกอบรมกรณีอื่นในวันหยุดตองไดรับความยินยอม จากลูกจางกอน ทั้งนี้ ใหนายจางจายคาทํางานในวันหยุดสําหรับวันฝกอบรมและวันที่นายจางกําหนดใหลูก จางเตรียมพรอมกอนการฝกอบรม พรอมคาใชจายในการเดินทางของลูกจาง

* ออกตามพระราชกฤษฎีกากํ าหนดงานที่ใหมีการคุมครองแรงงานแตกตางไปจากพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 พ.ศ.2541 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 52 ก วันที่ 29 สิงหาคม 2541

1 - 51

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ขอ 2 งานทีใ่ ชวชิ าชีพหรือวิชาการ งานดานบริหารและงานจัดการ งานเสมียนพนักงาน งาน อาชีพเกีย่ วกับการคา งานอาชีพดานบริการ งานที่เกี่ยวกับการผลิต หรืองานที่เกี่ยวของกับงานดังกลาว นายจางและลูกจางอาจตกลงกันกําหนดเวลาทํางานปกติในวันหนึ่ง ๆ เปนจํานวนกี่ชั่วโมงก็ได แตเมื่อรวม เวลาทํางานทั้งสิ้นแลวสัปดาหหนึ่งตองไมเกินสี่สิบแปดชั่วโมง ถานายจางและลูกจางตกลงกันกําหนดเวลาทํางานปกติตามวรรคหนึ่งเกินกวาวันละแปดชั่วโมง ใหลูกจางนอกจากลูกจางซึ่งไดรับคาจางเปนรายเดือนมีสิทธิไดรับคาตอบแทนเปนเงินเทากับอัตราคาจาง ตอชั่วโมงในวันทํางาน หรือเทากับอัตราคาจางตอหนวยในวันทํางานตามจํานวนผลงานที่ทําไดสําหรับลูก จางซึง่ ไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย ขอ 3 งานในรานขายอาหารหรือรานขายเครื่องดื่มที่เปดจําหนายหรือใหบริการไมติดตอกัน ในแตละวันทีม่ กี ารทํางาน นายจางอาจจัดใหลูกจางมีเวลาพักระหวางการทํางานวันหนึ่งเกินสองชั่วโมงก็ได ขอ 4 นายจางอาจใหลูกจางซึ่งเปนหญิงทํางานในงานวิชาชีพหรือวิชาการเกี่ยวกับการสํารวจ การขุดเจาะ การกลั่นแยก และการผลิตผลิตภัณฑจากปโตรเลียมหรือปโตรเคมีได ถาสภาพหรือลักษณะ ของงานนั้นไมเปนอันตรายตอสุขภาพหรือรางกายของลูกจางนั้น ขอ 5 นายจางอาจใหลูกจางซึ่งเปนหญิงมีครรภที่ทํางานในตําแหนงผูบริหาร งานวิชาการ งาน ธุรการ รวมทัง้ งานเกี่ยวกับการเงินหรือบัญชี ทํางานลวงเวลาในวันทํางานไดโดยไดรับความยินยอมจากลูก จางนั้น ขอ 6 ในกรณีทลี่ กู จางทํางานในงานเรขายหรือชักชวนซื้อสินคา ถานายจางไดจายคานายหนา จากการขายสินคาใหแกลูกจางแลว ลูกจางนั้นไมมีสิทธิไดรับคาลวงเวลาตามมาตรา 61 และคาลวงเวลาใน วันหยุดตามมาตรา 63 เวนแตนายจางตกลงจายคาลวงเวลาหรือคาลวงเวลาในวันหยุดใหแกลูกจาง ขอ 7

กฎกระทรวงนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2541 เปนตนไป ใหไว ณ วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี (นายไตรรงค สุวรรณคีรี) รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

1 - 52

กฎหมายคุมครองแรงงาน

บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบกฎกระทรวง ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541

หลักการ กํ าหนดงานที่ลูกจางไมมีสิทธิไดรับคาลวงเวลาและคาลวงเวลาในวันหยุดแตมีสิทธิไดรับคาตอบ แทนเปนเงินเทากับอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมงที่ทํา เหตุผล เนื่องจากลูกจางในงานเฝาดูแลสถานที่หรือทรัพยสินเปนงานที่ลูกจางไมมีสิทธิไดรับคาลวงเวลา อยูก อ นพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 ใชบังคับ ซึ่งสมควรกําหนดใหลูกจางในงานดังกลาว ไมมสี ทิ ธิไดรบั คาลวงเวลาเชนเดิมเพื่อมิใหเปนการเพิ่มภาระคาใชจายใหแกนายจาง และโดยที่มาตรา 65 (8) แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 บัญญัติใหลูกจางในงานที่กําหนดในกฎกระทรวงไม มีสทิ ธิไดรบั คาลวงเวลาตามมาตรา 61 และคาลวงเวลาในวันหยุดตามมาตรา 63 แตมีสิทธิไดรับคาตอบ แทนเป น เงิ น เท า กั บ อั ต ราค า จางตอชั่วโมงในวันทํ างานตามจํ านวนชั่วโมงที่ทํ าจึงจํ าเปนตองออกกฎ กระทรวงนี้

1 - 53

กฎหมายคุมครองแรงงาน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 (8) แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ใหงานเฝาดูแลสถานที่หรือทรัพยสินเปนงานตามมาตรา 65 (8) ที่ลูกจางไมมีสิทธิไดรับคาลวง เวลาตามมาตรา 61 และคาลวงเวลาในวันหยุดตามมาตรา 63 แตใหมีสิทธิไดรับคาตอบแทนเปนเงินเทา กับอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมงที่ทํา ใหไว ณ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 62 ก วันที่ 22 กันยายน 2541

1 - 54

กฎหมายคุมครองแรงงาน

บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบกฎกระทรวง ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541

หลักการ กําหนดประเภทของนายจางซึ่งมิใหใชพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 บังคับทั้งหมด เหตุผล เนื่องจากสภาพการจางงานและการทํ างานในงานเกษตรกรรมและงานที่รับไปทําที่บานซึ่งเปน งานทีม่ าตรา 22 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 บัญญัติใหออกกฎกระทรวงกําหนดการ คุม ครองแรงงานในกรณีตาง ๆ ใหแตกตางไปจากพระราชบัญญัติดังกลาวไดนั้น ยังไมมีมาตรฐานในการ ปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนจึงไมอาจออกกฎกระทรวงดังกลาวได สมควรกําหนดมิใหใชพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ.2541 บังคับแกงานทั้งสองประเภทไวกอน และโดยที่มาตรา 4 วรรคสองแหงพระราช บัญญัตคิ มุ ครองแรงงาน พ.ศ.2541 บัญญัติวานอกจากกรณีตามวรรคหนึ่ง จะออกกฎกระทรวงมิใหใช บังคับพระราชบัญญัติดังกลาวทั้งหมดหรือแตบางสวนแกนายจางประเภทหนึ่งประเภทใดก็ได จึงจําเปน ตองออกกฎกระทรวงนี้

1 - 55

กฎหมายคุมครองแรงงาน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคสอง และมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ มิใหใชพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 บังคับแกนายจางซึ่งจางลูกจางทํางานในงาน ดังตอไปนี้ (1) งานเกษตรกรรม (2) งานที่รับไปทําที่บาน ใหไว ณ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 62 ก วันที่ 22 กันยายน 2541

1 - 56

กฎหมายคุมครองแรงงาน

บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบกฎกระทรวง ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541

หลักการ กําหนดการคุมครองแรงงานในงานประมงทะเลใหแตกตางไปจากพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 เหตุผล เนือ่ งจากงานประมงทะเลมีสภาพการจางและการทํางานที่แตกตางไปจากการจางงานทั่วไป ซึ่ง สมควรกํ าหนดการคุมครองแรงงานในงานดังกลาวไวเปนพิเศษใหแตกตางไปจากการคุมครองแรงงาน ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 และโดยที่มาตรา 22 แหงพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ.2541 บัญญัติใหออกกฎกระทรวงกําหนดการคุมครองแรงงานในกรณีตางๆ ใหแตกตางไป จากพระราชบัญญัติดังกลาวได จึงจําเปนตองออกกฎกระทรวงนี้

1 - 57

กฎหมายคุมครองแรงงาน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 22 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 การคุม ครองแรงงานในงานประมงทะเลนอกจากที่กําหนดไวในกฎกระทรวงนี้ ใหเปนไป ตามทีน่ ายจางและลูกจางตกลงกัน เวนแตการคุมครองแรงงานตามบทบัญญัติหมวด 1 บททั่วไป ตั้งแต มาตรา 7 ถึงมาตรา 21 หมวด 8 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ตั้งแต มาตรา 100 ถึงมาตรา 107 หมวด 12 การยื่นคํารองและการพิจารณาคํารองตั้งแตมาตรา 123 ถึงมาตรา 125 หมวด 13 กองทุนสงเคราะหลูกจาง เฉพาะมาตรา 134 และมาตรา 135 หมวด 14 พนักงานตรวจ แรงงาน ตัง้ แตมาตรา 139 ถึงมาตรา 142 และหมวด 15 การสงหนังสือ มาตรา 143 ใหนายจางและลูก จางปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 ขอ 2 กฎกระทรวงนี้มิใหใชบังคับแก (1) งานประมงทะเลที่มีจํานวนลูกจางนอยกวายี่สิบคนเวนแตขอกําหนดเกี่ยวกับการจายคาจาง ตามขอ 7 และขอ 8 ใหใชบังคับแกงานประมงทะเลที่มีลูกจางตั้งแตหนึ่งคนขึ้นไป (2) เรือประมงที่ไปดําเนินการประจําอยูนอกราชอาณาจักรติดตอกันตั้งแตหนึ่งปขึ้นไป ขอ 3 ในกฎกระทรวงนี้ “งานประมงทะเล” หมายความวา งานหรือการกระทําใด ๆ ที่เกี่ยวกับการทําประมงในทะเลโดยใช เรือประมง “เรือประมง” หมายความวา เรือที่ใชสําหรับการทําประมงในทะเล “นายจาง” หมายความรวมถึง เจาของเรือประมงซึ่งใชหรือยอมใหบุคคลอื่นใชเรือประมงนั้น ทํางานประมงทะเลเพื่อแบงปนผลประโยชนกัน แตมิใหหมายความรวมถึงเจาของเรือประมงซึ่งใหผูอื่นเชา เรือประมงเพื่อประกอบกิจการโดยตนเองไมมีสวนเกี่ยวของดวย “คาจาง” หมายความรวมถึง สวนแบงที่นายจางตกลงจายใหแกลูกจางตามมูลคาของสัตวนํ้าที่จับ ได ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 62 ก วันที่ 22 กันยายน 2541

1 - 58

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ขอ 4 หามมิใหนายจางรับเด็กอายุตํ่ากวาสิบหกปทํางานในเรือประมงเวนแตเด็กนั้นอายุไมตํ่ากวา สิบหาปและบิดาหรือมารดาหรือผูปกครองของเด็กนั้นทํางานอยูในเรือประมงนั้นดวย หรือบิดามารดาหรือ ผูป กครองของเด็กนั้นใหความยินยอมเปนหนังสือ ขอ 5 ใหนายจางจัดทําทะเบียนลูกจางเปนภาษาไทยและเก็บไว ณ สถานที่ทํางานของนายจาง เพือ่ ใหพนักงานตรวจแรงงานตรวจได และใหสงสําเนาทะเบียนลูกจางใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย ภายในสามสิบวันนับแตวันที่เริ่มจางลูกจางเขาทํางาน ทะเบียนลูกจางตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามแบบ คร.1 ทายกฎกระทรวงนี้ ใหนายจางเก็บรักษาทะเบียนลูกจางไวไมนอยกวาสองปนับแตวันสิ้นสุดการจางลูกจางแตละราย เมือ่ มีการเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนลูกจาง ใหนายจางแกไขเพิ่มเติมทะเบียนลูกจางใหแลว เสร็จภายในหกสิบวันนับแตวันที่มีการเปลี่ยนแปลง และแจงการเปลี่ยนแปลงใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบ หมายทราบทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง ขอ 6 ใหนายจางจัดทําเอกสารเกี่ยวกับการจายคาจางและคาทํางานในวันหยุดเปนภาษาไทย และ เก็บไว ณ สถานที่ทํางานของนายจาง เพื่อใหพนักงานตรวจแรงงานตรวจได และอยางนอยตองมีรายการ ดังตอไปนี้ (1) ชื่อตัวและชื่อสกุล (2) ตําแหนงหนาที่ในงานประมงทะเล (3) อัตราและจํานวนคาจาง คาทํางานในวันหยุดและประโยชนอยางอื่นที่นายจางตกลงจายใหแก ลูกจาง เมือ่ มีการจายคาจางใหแกลูกจาง ใหนายจางจัดใหลูกจางลงลายมือชื่อในเอกสารตามวรรคหนึ่งไว เปนหลักฐาน ในกรณีทนี่ ายจางจายคาจางและคาทํางานในวันหยุดใหแกลูกจาง โดยการโอนเงินเขาบัญชีเงินฝาก ในธนาคารพาณิชยหรือสถาบันการเงินอื่น ใหถือวาหลักฐานการโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากของลูกจางเปน เอกสารเกี่ยวกับการจายเงินดังกลาว ใหนายจางเก็บรักษาเอกสารตามวรรคหนึ่งไวไมนอยกวาสองปนับแตวันจายเงินดังกลาว ขอ 7 ในกรณีที่มีการยื่นคํารองวานายจางไมปฏิบัติตามกฎกระทรวงนี้หรือมีขอพิพาทแรงงานตาม กฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธ หรือมีการฟองรองคดี ใหนายจางเก็บรักษาทะเบียนลูกจางและเอกสาร เกี่ยวกับการจายคาจางและคาทํางานในวันหยุดไวจนกวาจะมีคําสั่งหรือคําพิพากษาถึงที่สุดเกี่ยวกับเรื่อง ดังกลาว ขอ 8 ใหนายจางจายคาจางและคาทํางานในวันหยุดใหถูกตองและตามกําหนดเวลา ดังตอไปนี้ (1) ในกรณีทมี่ กี ารคํานวณคาจางเปนรายเดือน รายวัน รายชั่วโมง หรือเปนระยะเวลาอยางอื่นที่ ไมเกินหนึง่ เดือน หรือตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวยใหจายเดือนหนึ่งไมนอยกวาหนึ่งครั้ง เวนแตจะมี การตกลงกันเปนอยางอื่นที่เปนประโยชนแกลูกจาง (2) ในกรณีทมี่ กี ารคํานวณคาจางนอกจาก (1) ใหจายตามกําหนดเวลา ที่นายจางและลูกจาง ตกลงกัน 1 - 59

กฎหมายคุมครองแรงงาน

(3) คาทํางานในวันหยุด ใหจายเดือนหนึ่งไมนอยกวาหนึ่งครั้ง ขอ 9 ในกรณีทนี่ ายจางผิดนัดในการจายคาจางและคาทํางานในวันหยุดใหนายจางจายดอกเบี้ย แกลูกจางในระหวางผิดนัดรอยละสิบหาตอป ถานายจางจงใจผิดนัดในการจายเงินตามวรรคหนึ่งโดยปราศจากเหตุผลอันสมควร เมื่อพนกําหนด เวลาเจ็ดวันนับแตวนั ถึงกําหนดจาย นายจางจะตองจายเงินเพิ่มใหแกลูกจางรอยละหาของเงินที่คางชําระ ทุกระยะเวลาเจ็ดวัน ถานายจางพรอมที่จะชําระเงินตามวรรคหนึ่งและวรรคสองและไดนําเงินนั้นไปมอบไวแกพนักงาน ตรวจแรงงานแหงทองที่ที่ทําสัญญาจางหรือที่นายจางมีภูมิลําเนาเพื่อจายใหแกลูกจาง การจายดอกเบี้ย หรือเงินเพิม่ สําหรับจํานวนดังกลาวใหเปนอันระงับตั้งแตวันที่นายจางนําเงินนั้นไปมอบไว ขอ 10 ใหนายจางจัดวันหยุดประจําปใหลูกจางปหนึ่งไมนอยกวาสามสิบวันโดยไดรับคาจาง ทั้งนี้ ใหนายจางเปนผูกําหนดลวงหนา ถานายจางใหลูกจางทํางานในวันหยุดประจําปตามวรรคหนึ่งใหนายจางจายคาทํางานในวันหยุดแก ลูกจางเพิม่ ขึน้ อีกไมนอยกวาหนึ่งเทาของคาจางในสวนที่คํานวณจายตามระยะเวลา ขอ 11 ลูกจางมีสทิ ธิลาปวยไดเทาที่ปวยจริง และใหนายจางจายคาจางใหแกลูกจางในวันลาปวย เทากับคาจางในวันทํางานตลอดระยะเวลาที่ลา แตปหนึ่งตองไมเกินสามสิบวันทํางาน ขอ 12 ในกรณีทลี่ กู จางตกคางอยูในตางประเทศ เนื่องจากการทํางานใหแกนายจาง ใหนายจาง จายเงินใหแกลูกจางไมนอยกวารอยละหาสิบของคาจางในสวนที่คํานวณจายตามระยะเวลาตลอดระยะเวลา ทีล่ กู จางไมไดทํางาน ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับถานายจางไดแจงเปนหนังสือตอหนวยราชการที่รับผิดชอบภายใน หกสิบวันนับแตวันที่ลูกจางตองไปตกคางอยูในตางประเทศโดยนายจางแสดงเจตนานําลูกจางทั้งหมดกลับ ภูมลิ าเนาของลู ํ กจาง และออกคาใชจายในการเดินทางกลับ ขอ 13 ใหนายจางจัดการหรือออกคาใชจายในการเดินทางกลับภูมิลําเนาของลูกจางในกรณีดังตอ ไปนี้ (1) เรืออับปางหรือไมอาจใชการไดโดยสิ้นเชิง (2) ลูกจางประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทํางาน (3) นายจางบอกเลิกสัญญาจางกอนครบกําหนดอายุสัญญา หรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในสัญญา จางโดยลูกจางไมยินยอม (3) สัญญาจางครบกําหนดในระหวางเวลาที่ลูกจางทํางานอยูในที่อื่นอันมิใชสถานที่ทําสัญญาจาง ใหไว ณ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 1 - 60

กฎหมายคุมครองแรงงาน

บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบกฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541

หลักการ กํ าหนดการคุมครองแรงงานในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเลใหแตกตางไปจาก พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 เหตุผล เนื่องจากงานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเลมีสภาพการจางและการทํางานที่แตกตางไป จากการจางงานทัว่ ไป ซึ่งสมควรกําหนดการคุมครองในงานดังกลาวไวเปนพิเศษใหแตกตางไปจาก พระ ราชบัญญัตคิ มุ ครองแรงงาน พ.ศ.2541 และโดยที่มาตรา 22 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 บัญญัติใหออกกฎกระทรวงกําหนดการคุมครองแรงงานในกรณีตาง ๆ ใหแตกตางไปจาก พระราชบัญญัติดังกลาวได จึงจําเปนตองออกกฎกระทรวงนี้

1 - 61

กฎหมายคุมครองแรงงาน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 22 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 การคุม ครองแรงงานในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเลนอกจากที่กําหนดไวใน กฎกระทรวงนี้ ใหเปนไปตามที่นายจางและลูกจางตกลงกัน เวนแตการคุมครองแรงงานตามบทบัญญัติใน หมวด 1 บททัว่ ไป ตั้งแตมาตรา 7 ถึงมาตรา 21 หมวด 2 การใชแรงงานทั่วไป เฉพาะมาตรา 27 มาตรา 28 มาตรา 29 มาตรา 30 มาตรา 32 มาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 37 หมวด 3 การใชแรงงานหญิง ตั้งแตมาตรา 39 ถึงมาตรา 43 หมวด 4 การใชแรงงานเด็ก ตั้งแตมาตรา 45 ถึง มาตรา 52 หมวด 5 คาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด เฉพาะมาตรา 53 มาตรา 54 มาตรา 55 มาตรา 56 มาตรา 57 มาตรา 58 มาตรา 59 มาตรา 60 มาตรา 67 มาตรา 71 มาตรา 76 และมาตรา 77 หมวด 10 การพักงาน ตั้งแตมาตรา 116 ถึงมาตรา 117 หมวด 11 คาชดเชย ตัง้ แตมาตรา 118 ถึงมาตรา 122 หมวด 12 การยื่นคํารองและการพิจารณาคํารอง ตั้งแตมาตรา 123 ถึง มาตรา 125 หมวด 13 กองทุนสงเคราะหลูกจาง เฉพาะมาตรา 134 และมาตรา 135 หมวด 14 พนักงานตรวจแรงงาน ตั้งแตมาตรา 139 ถึงมาตรา 142 และหมวด 15 การสงหนังสือ มาตรา 143 ให นายจางและลูกจางปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 ขอ 2 ในกฎกระทรวงนี้ “บรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเล” หมายความวา (1) การกระทําใด ๆ ที่เกี่ยวกับการผูกมัดรวมกัน แยกออก จัดเรียง หรือเคลื่อนยายซึ่งสินคาเรือ เดินทะเล การใหสัญญาณเพื่อความปลอดภัยในการเคลื่อนยายสินคาไปยังที่ที่ตองการ การควบคุมปนจั่น หรือเครือ่ งกวาน และใหหมายความรวมถึงการทําความสะอาดระวางเรือเดินทะเลกอนหรือหลังจากการ บรรทุกหรือขนถาย (2) การกระทําใด ๆ ที่เปนการบริการเสริมหรือเกี่ยวเนื่องกับการบรรทุก หรือขนถายสินคาเรือ เดินทะเล หรือการกระทําอื่นตามที่อธิบดีประกาศกําหนด

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 62 ก วันที่ 22 กันยายน 2541

1 - 62

กฎหมายคุมครองแรงงาน

“นายจาง” หมายความรวมถึง ผูประกอบกิจการบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเลซึ่งตกลงรับ ลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให “แรง” หมายความวา ชวงเวลาการทํางานในวันทํางานปกติและในวันหยุดตามที่อธิบดีประกาศ กํ าหนดโดยคํานึงถึงขอตกลงระหวางนายจางกับลูกจางตามประเพณีในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือ เดินทะเล ขอ 3 การกําหนดระยะเวลาทํางานปกติ เวลาเริ่มตน และเวลาสิ้นสุดของการทํางานแตละวัน ให เปนไปตามที่อธิบดีประกาศกําหนด ขอ 4 หามมิใหนายจางรับเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดปทํางานในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดิน ทะเล เวนแตงานทําความสะอาดเรือ งานผูกมัดจัดเรียงหรืองานอื่นที่อธิบดีประกาศกําหนด นายจางอาจ รับเด็กอายุไมตํ่ากวาสิบหกปเขาทํางานดังกลาวได ขอ 5 ใหนายจางจายคาจางใหแกลูกจางตามจํานวนแรงโดยไมมีการเหมาจายคาจาง ทั้งนี้ ตาม หลักเกณฑที่อธิบดีประกาศกําหนด ขอ 6 ในกรณีทนี่ ายจางมิไดจัดใหลูกจางหยุดงาน หรือจัดใหลูกจางหยุดงานนอยกวาที่กําหนดไว ตามมาตรา 28 มาตรา 29 และมาตรา 30 ใหนายจางจายคาจางใหแกลูกจางตามอัตราที่อธิบดีประกาศ กําหนด ขอ 7 ใหนายจางจัดอาหารที่มีคุณคาทางโภชนาการและมีปริมาณเพียงพอแกลูกจางที่ทํางาน หาก นายจางไมจดั อาหารใหลูกจาง ใหนายจางจายเงินคาอาหารใหแกลูกจางคนละไมนอยกวาหนึ่งในหาของคา จางหนึ่งแรงตอหนึ่งมื้อ ขอ 8 ในกรณีทนี่ ายจางนําลูกจางไปทํางานนอกสถานที่ทํางานปกติใหนายจางจัดพาหนะรับสงลูก จางในการไปและกลับเพื่อทํางานใหแกนายจาง ถานายจางไมจัดพาหนะรับสง ใหนายจางจายคาพาหนะ เทาที่จายจริงตามความจําเปน ขอ 9 ใหนายจางจัดใหมีเครื่องมือหรืออุปกรณเพื่อความปลอดภัยในการทํางาน และกําหนด มาตรการเพื่อความปลอดภัยในการทํางาน ทั้งนี้ ตามมาตรฐานและหลักเกณฑที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด ลูกจางตองใชเครื่องมือหรืออุปกรณเพือ่ ความปลอดภัยในการทํางานและตองปฏิบัติตามมาตรการ เพือ่ ความปลอดภัยในการทํางานที่นายจางจัดหรือกําหนดตามวรรคหนึ่ง ขอ 10 ในกรณีทพี่ นักงานตรวจแรงงานพบวา นายจางผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานและ หลักเกณฑทรี่ ฐั มนตรีประกาศกําหนดตามขอ 9 ใหพนักงานตรวจแรงงานมีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือ ใหนายจางปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน อาคาร สถานที่หรือจัดทําหรือแกไขเครื่องจักรหรือ

1 - 63

กฎหมายคุมครองแรงงาน

อุปกรณที่ลูกจางตองใชในการปฏิบัติงานหรือที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานใหถูกตองหรือเหมาะสมภายใน ระยะเวลาที่กําหนด ขอ 11 ในกรณีทพี่ นักงานตรวจแรงงานพบวา สภาพแวดลอมในการทํางาน อาคาร สถานที่ เครื่องจักรหรืออุปกรณที่ลูกจางใชจะกอใหเกิดความไมปลอดภัยแกลูกจางหรือนายจางไมปฏิบัติตามคําสั่ง ของพนักงานตรวจแรงงานตามขอ 10 เมื่อไดรับอนุมัติจากอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย ใหพนักงาน ตรวจแรงงานมีอํ านาจสั่งใหนายจางหยุดการใชเครื่องจักรหรืออุปกรณดังกลาวทั้งหมดหรือบางสวนเปน การชั่วคราวได ใหนายจางจายเงินใหแกลูกจางซึ่งพนักงานตรวจแรงงานสั่งใหนายจางหยุดการใชเครื่องจักรหรือ อุปกรณตามวรรคหนึ่งเทากับคาจางในวันทํางานตลอดระยะเวลาที่ลูกจางหยุดทํางาน ทั้งนี้ จนกวานายจาง จะไดดาเนิ ํ นการใหถูกตองตามคําสั่งของพนักงานตรวจแรงงานนั้นแลว ขอ 12 คําสัง่ ของพนักงานตรวจแรงงานตามขอ 10 หรือขอ 11 ใหอุทธรณตอคณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานตามมาตรา 100 ไดภายในสามสิบวันนับแต วันทีท่ ราบคําสั่ง คําวินิจฉัยของคณะกรรมการนั้นใหเปนที่สุด การอุทธรณตามวรรคหนึ่งยอมไมเปนการทุเลาการปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานตรวจแรงงาน เวน แตคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานจะมีคําสั่งเปนอยางอื่น ขอ 13 ใหนายจางจัดใหลูกจางไดรับการตรวจรางกายจากแพทยแผนปจจุบันชั้นหนึ่งอยางนอยป ละหนึง่ ครั้ง โดยใหนายจางเปนผูออกคาใชจาย ในกรณีทลี่ กั ษณะหรือสภาพของงานอาจทําใหเกิดโรคใดแกลูกจาง หรือเปนอันตรายอยางใดตอ สุขภาพของลูกจาง ใหลูกจางไดรับการตรวจรางกายเพื่อทราบสาเหตุของการเกิดโรคหรืออันตรายนั้นโดย เฉพาะดวย ใหนายจางเก็บบันทึกผลการตรวจไว ณ ที่ทําการของนายจางไมนอยกวาสองปนับแตวันสิ้นสุดของ การจางลูกจางแตละราย ในกรณีที่มีการฟองคดีเกี่ยวกับโรคหรืออันตรายอยางใดตอสุขภาพของลูกจางให นายจางเก็บบันทึกผลการตรวจไวจนกวาจะมีคําสั่งหรือคําพิพากษาถึงที่สุดเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว ขอ 14 ในกรณีที่ลูกจางทํางานใหแกผูประกอบกิจการใดหรือทํางานในสถานที่ของผูประกอบ กิจ การใด ใหสนั นิษฐานไวกอนวาผูประกอบกิจการหรือเจาของสถานที่ดังกลาวเปนนายจางของลูกจางนั้น ขอ 15 ใหนายจางจัดใหัมีเอกสารเกี่ยวกับการจายคาจางซึ่งอยางนอยตองมีรายการดังตอไปนี้ (1) วันและเวลาทํางาน (2) ผลงานทีท่ าได ํ สําหรับลูกจางซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย (3) อัตราและจํานวนคาจางที่ลูกจางแตละคนไดรับ เมื่อมีการจายคาจางใหแกลูกจางใหนายจางจัดใหลูกจางลงลายมือชื่อในเอกสารตามวรรคหนึ่งไว เปนหลักฐาน ในกรณีทนี่ ายจางโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากในธนาคารพาณิชยหรือสถาบันการเงินอื่น ใหถือวาหลัก ฐานการโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากของลูกจางเปนเอกสารเกี่ยวกับการจายเงินดังกลาวนายจางจะไมจัดใหลูก จางลงลายมือชื่อตามวรรคสองก็ได 1 - 64

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ในกรณีทมี่ กี ารจายคาอาหารตามขอ 7 หรือจายคาพาหนะตามขอ 8 ใหนายจางปฏิบัติตามความใน วรรคสองโดยอนุโลม ขอ 16 ใหนายจางเก็บรักษาเอกสารเกี่ยวกับการจายคาจางรวมทั้งคาอาหารตามขอ 7 และคา พาหนะตามขอ 8 ใหแกลูกจางไวไมนอยกวาสองปนับแตวันจายเงินดังกลาว ในกรณีทมี่ กี ารยื่นคํารองตามหมวด 12 หรือมีขอพิพาทแรงงานตามกฎหมายวาดวยแรงงาน สัมพันธ หรือมีการฟองรองคดีแรงงาน ใหนายจางเก็บรักษาเอกสารเกี่ยวกับการจายคาจางไวจนกวาจะมี คําสั่งหรือคําพิพากษาถึงที่สุดเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว ขอ 17 ประกาศของรัฐมนตรีตามขอ 9 และประกาศของอธิบดีตามขอ 2 ขอ 3 ขอ 4 ขอ 5 และ ขอ 6 เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได ใหไว ณ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

1 - 65

กฎหมายคุมครองแรงงาน

บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบกฎกระทรวง ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 หลักการ กํ าหนดการคุ  ม ครองแรงงานในงานขนสงทางบกใหแตกตางไปจากพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ. 2541 เหตุผล เนือ่ งจากงานขนสงทางบกมีสภาพการจางและการทํางานที่แตกตางจากการจางงานทั่วไปซึ่ง สม ควรกําหนดการคุมครองแรงงานในงานดังกลาวไวเปนพิเศษใหแตกตางไปจากการคุมครองแรงงานตาม พระราชบัญญัตคิ ุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และโดยที่มาตรา 22 แหงพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ. 2541 บัญญัติใหออกกฎกระทรวงกําหนดการคุมครองแรงงานในกรณีตาง ๆ ใหแตกตางไปจาก พระราชบัญญัติดังกลาวได จึงจําเปนตองออกกฎกระทรวงนี้

1 - 66

กฎหมายคุมครองแรงงาน

กฎกระทรวง ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 22 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ในกฎกระทรวงนี้ “งานขนสงทางบก” หมายความวา การลําเลียงหรือเคลื่อนยายบุคคล สัตว หรือสิ่งของดวยยาน พาหนะขนสงทางบกซึ่งเดินดวยกําลังเครื่องยนต กําลังไฟฟาหรือพลังงานอื่น ทั้งนี้ ไมรวมถึงการเคลื่อน ยายบุคคลหรือสัตวที่เจ็บปวย และการขนสงในงานดับเพลิงหรืองานบรรเทาสาธารณภัย ขอ 2 ใหนายจางกําหนดเวลาเริ่มตนและเวลาสิ้นสุดการทํางานปกติของลูกจางในงานขนสงทางบก วันหนึง่ ไมเกินแปดชั่วโมง ขอ 3 หามมิใหนายจางใหลูกจางซึ่งทําหนาที่ขับขี่ยานพาหนะทํางานลวงเวลา เวนแตจะไดรับความ ยินยอมเปนหนังสือจากลูกจาง ในกรณีทไี่ ดรับความยินยอมจากลูกจางตามวรรคหนึ่งแลว นายจางอาจใหลูกจางทํางานลวงเวลาได วันหนึง่ ไมเกินสองชั่วโมงเวนแตมีความจําเปนอันเกิดจากเหตุสุดวิสัย อุบัติเหตุ หรือปญหาการจราจร ขอ 4 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทําหนาที่ขับขี่ยานพาหนะมีเวลาพักติดตอกันวันหนึ่งไมนอยกวา หนึง่ ชัว่ โมง หลังจากลูกจางซึ่งทําหนาที่ขับขี่ยานพาหนะไดทํางานมาแลวไมเกินสี่ชั่วโมง นายจางและลูกจางตามวรรคหนึ่งอาจตกลงกันใหมีเวลาพักครั้งหนึ่งนอยกวาหนึ่งชั่วโมงก็ไดแต ตองไมนอ ยกวาครั้งละยี่สิบนาที และเมื่อรวมกันแลวตองไมนอยกวาวันละหนึ่งชั่วโมง ขอ 5 หามมิใหนายจางใหลูกจางซึ่งทําหนาที่ขับขี่ยานพาหนะเริ่มตนทํางานในวันทํางานถัดไปกอน ครบระยะเวลาสิบชั่วโมงหลังจากสิ้นสุดการทํางานในวันทํางานที่ลวงมาแลว ขอ 6 ในกรณีทนี่ ายจางใหลูกจางในงานขนสงทางบกทํางานลวงเวลาในวันทํางานและทํางานลวง เวลาในวันหยุด ใหนายจางจายคาตอบแทนเปนเงินเทากับอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทํางานตามจํานวนชั่ว โมงทีท่ าํ เวนแตนายจางตกลงจายคาลวงเวลาหรือคาลวงเวลาในวันหยุดใหแกลกู จางดังกลาว ใหไว ณ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนที่ 62 ก วันที่ 22 กันยายน 2541

1 - 67

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเรียกหรือรับเงินประกันการทํางาน หรือเงินประกันความเสียหายในการทํางานจากลูกจาง อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 10 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ประกาศนีเ้ รียกวา “ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง หลักเกณฑและวิธี การเรียกหรือรับเงินประกันการทํางานหรือเงินประกันความเสียหายในการทํางานจากลูกจาง” ขอ 2 ประกาศนีใ้ หใชบังคับตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ขอ 3 ในประกาศนี้ “เงินประกัน” หมายความวา เงินที่นายจางเรียกหรือรับจากลูกจางเพื่อประกันการทํางานของลูก จางหรือประกันความเสียหายในการทํางานที่ลูกจางไดกอใหเกิดขึ้น ขอ 4 งานเกีย่ วกับการเงินหรือทรัพยสินที่นายจางจะเรียกหรือรับเงินประกันการทํางานหรือเงิน ประกันความเสียหายในการทํางานจากลูกจางได ไดแก (1) งานสมุหบัญชี (2) งานพนักงานเก็บและหรือจายเงิน (3) งานเฝาหรือดูแลสถานที่หรือทรัพยสินของนายจางหรือที่อยูในความรับผิดชอบของนายจาง (4) งานติดตามหรือเรงรัดหนี้สิน (5) งานควบคุมหรือรับผิดชอบยานพาหนะ (6) งานที่มีหนาที่รับผิดชอบในการซื้อขาย แลกเปลี่ยน ใหเชาทรัพย ใหเชาซื้อ ใหกูยืม รับฝาก ทรัพย รับจํานอง รับจํานํา เก็บของในคลังสินคา รับประกันภัย รับโอนหรือรับจัดสงเงิน หรือการธนาคาร ทัง้ นี้ เฉพาะลูกจางซึ่งเปนผูควบคุมเงินหรือทรัพยสินเพื่อการที่วานั้น ขอ 5 ในกรณีทนี่ ายจางเรียกหรือรับเงินประกันตามขอ 4 จํานวนเงินที่เรียกหรือรับไดจะตองไม เกินหกสิบเทาของอัตราคาจางรายวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจางไดรับอยูในวันที่นายจางรับเงินประกัน ขอ 6 ในกรณีทเี่ งินประกันซึ่งนายจางเรียกหรือรับไวตามขอ 5 ลดลง เนื่องจากนําไปชดใชคาเสีย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนพิเศษ 71 ง วันที่ 19 สิงหาคม 2541

1 - 68

กฎหมายคุมครองแรงงาน

หายใหแกนายจางตามเงื่อนไขของการเรียกหรือรับเงินประกัน หรือตามขอตกลงหรือไดรับความยินยอม จากลูกจางแลว นายจางจะเรียกหรือรับเงินประกันเพิ่มไดไมเกินจํานวนเงินที่กําหนดตามขอ 5 เทานั้น ขอ 7 ใหนายจางนําเงินประกันฝากไวกับธนาคารพาณิชยหรือสถาบันการเงินอื่นโดยจัดใหมีบัญชี เงินฝากของลูกจางแตละคน และใหแจงชื่อธนาคารพาณิชยหรือสถาบันการเงินอื่น ชื่อบัญชี และเลขที่ บัญชี ใหลกู จางทราบเปนหนังสือภายในเจ็ดวันนับแตวันที่รับเงินประกัน ทั้งนี้ นายจางจะเก็บรักษาเงิน ประกันโดยวิธีอื่นหรือนําไปจัดหาผลประโยชนอื่นใดนอกจากที่กําหนดไวนี้มิได ใหไว ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

1 - 69

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง วันแรงงานแหงชาติ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 29 วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ.2541 รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ประกาศนีเ้ รียกวา “ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมเรื่องวันแรงงานแหงชาติ” ขอ 2 ประกาศนีใ้ หใชบังคับตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ขอ 3 ใหวนั ที่ 1 พฤษภาคม เปนวันแรงงานแหงชาติ ใหไว ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนพิเศษ 71ง วันที่ 19 สิงหาคม 2541

1 - 70

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง มาตรฐานและหลักเกณฑเพื่อความปลอดภัยในการทํางาน ในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเล อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 และเพื่อให เปนไปตามขอ 9 แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ.2541 วาดวยการคุมครองแรงงานในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเล รัฐมนตรีวา การกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมจึงออกประกาศไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ประกาศนีเ้ รียกวา “ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง กําหนดมาตรฐาน และหลักเกณฑเพื่อความปลอดภัยในการทํางานในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเล” ขอ 2 ประกาศนีใ้ หใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ขอ 3 ในประกาศนี้ “ความปลอดภัยในการทํางาน” หมายความวา สภาพการทํางานซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทําใหเกิด อุบตั เิ หตุ การประสบอันตราย โรค การเจ็บปวย หรือความเดือดรอนรําคาญเนื่องจากการทํางานหรือเกี่ยว กับการทํางาน “สินคาอันตราย” หมายความวา สิ่งของ หรือวัตถุที่มีคุณสมบัติทางเคมีหรือทางกายภาพหรือเมื่อ สัมผัสกับสารอื่นเชน อากาศ นํ้า แลวเปนอันตรายตอคน ทรัพยสิน หรือสภาพแวดลอม ทั้งนี้ประเภทและ ชนิดของสินคาอันตรายใหเปนไปตามขอบังคับขององคการทางทะเลระหวางประเทศ (International Maritime Dangerous Goods Code หรือ IMDG CODE) “พืน้ ทีอ่ นั ตราย” หมายความวา หองเก็บสินคาที่ไมมีอากาศถายเท หรือบริเวณอื่นใดที่มีลักษณะ คลายกัน อันอาจเปนอันตรายตอลูกจางที่ทํางานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเล หมวด 1 ขอกําหนดทั่วไป ขอ 4 ใหนายจางจัดใหมีอุปกรณสําหรับลูกจางใชในการทํางานบรรทุกหรือขนถายที่เหมาะสม ไม ชํารุดเสียหายอันอาจกอใหเกิดอันตรายตอลูกจางได ขอ 5 ใหนายจางจัดใหัมีการชี้แจงใหลูกจางมีความเขาใจถึงขั้นตอนในการทํางานบนเรือ รวม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนพิเศษ 85ง วันที่ 23 กันยายน 2541

1 - 71

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ตลอดถึงการใชเครื่องมือและอุปกรณเครื่องชวยในการทํางานกอนเริ่มลงมือปฏิบัติงาน ขอ 6 ใหนายจางควบคุมดูแลมิใหลูกจางสูบบุหรี่ในสถานที่หวงหาม หรือสถานที่ที่ใกลเคียงกับที่ เก็บเชื้อเพลิง หรือสถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัย ขอ 7 ใหนายจางควบคุมดูแลใหลูกจางเดินทางกราบเรือที่ไมไดทําการยกขนสินคาขึ้นลง ขอ 8 ใหนายจางจัดใหลูกจางสวมรองเทาหุมสนพื้นยางในระหวางการทํางาน ขอ 9 ใหนายจางจัดใหลูกจางสวมหมวกนิรภัยตลอดเวลาที่มีการทํางาน ขอ 10 ใหนายจางควบคุมดูแลมิใหลูกจางทํางานในบริเวณที่มีการเคาะสนิมเรือ ทาสีเรือหรือ เชื่อมโลหะในการซอมแซมเรือ ขอ 11 ใหนายจางควบคุมดูแลมิใหลูกจางทํางานในขณะเชือกหรือสลิงผูกเรือหยอนหรือหางจาก หนาทาอันอาจทําใหเกิดอันตรายตอลูกจางได ขอ 12 ใหนายจางดําเนินการเพื่อใหเกิดความปลอดภัยตอการทํางานของลูกจางในกรณีที่พื้นที่ใน การปฏิบัติงานมีคราบนํ้ามันอันอาจกอใหเกิดอันตรายตอลูกจางได ขอ 13 หามนายจางใหลูกจางทํางานบนที่สูงเกินสี่เมตรขึ้นไปในขณะที่มีพายุ ลมแรง ฝนตกหรือ ฟาคะนอง หมวด 2 ความปลอดภัยในการทํางานบรรทุกหรือขนถายสินคาทั่วไป ขอ 14 ใหนายจางควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของคนคุมเครื่องกวาน (WINCH MAN) ในการ ยกสินคาขึ้นลง (การหะ เบท-หะ เรีย) โดยขณะยกสินคาขึ้นลงตองไมกระตุกหรือกระชากอันอาจทําให ลวดกวานขาดเปนอันตรายตอลูกจาง และมิใหทําการแชวนพักสินคาในขณะยกสินคาขึ้นลง ขอ 15 ใหนายจางควบคุมดูแลการใชลวดสลิงในการยกขนสินคา มิใหไปถูครูดกับขอบระวาง ขอ 16 ใหนายจางควบคุมดูแลมิใหลูกจางที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของเขาไปในบริเวณการทํางานใน ขณะทําการยกขนสินคาหนัก ขอ 17 ใหนายจางควบคุมดูแลการใหสัญญาณปากระวางของลูกจางที่ทําหนาที่ใหสัญญาณปาก ระวาง (SIGNAL MAN) โดยใหยืนอยูในตําแหนงที่คนคุมเครื่องกวาน (WINCH MAN) สามารถมอง 1 - 72

กฎหมายคุมครองแรงงาน

เห็นไดชัดเจนโดยใชสัญญาณมือทั้งสองขางและใหสัญญาณตามจังหวะของการทํางานไมใหเกิดความสับ สนอันอาจกอใหเกิดอันตรายได ขอ 18 ใหนายจางควบคุมดูแลมิใหลูกจางขึ้นไปเกาะบนตูสินคาหรืออุปกรณในการเกี่ยวตูสินคา (SPREADER) หรือหอยโหนลวดสลิงในขณะทําการยกขนตูสินคา ขอ 19 ใหนายจางจัดใหมีแสงสวางเพียงพอตอการมองเห็นสินคาในระวางไดอยางชัดเจนใน ระหวางการทํางาน หมวด 3 ความปลอดภัยในการทํางานบรรทุกหรือขนถายสินคาอันตราย ขอ 20 ใหนายจางจัดใหมีการชักธงสัญญาณสากลอักษร B (BRAVO) ในการบรรทุกหรือขนถาย สินคาอันตรายในเวลากลางวัน และจัดใหัมโี คมไฟสัญญาณแดงหนึ่งดวงในเวลากลางคืน ขอ 21 ใหนายจางจัดอุปกรณและเครื่องมือที่นํามาใชในการบรรทุกหรือขนถายสินคาอันตรายให อยูใ นสภาพที่เรียบรอยมีประสิทธิภาพ มั่นคง แข็งแรง สามารถใชงานไดดีและตอเนื่องและหามใชตะเกา หรือเครื่องมือที่มีปลายแหลมคมเกี่ยวหีบหอ ถุง หรือภาชนะที่หอหุมสินคาอันตราย ขอ 22 ใหนายจางควบคุมดูแลใหมีการบรรทุกหรือขนถายสินคาอันตรายเปนการเฉพาะ โดยไม ใหมกี ารบรรทุกหรือขนถายสินคาอยางอื่นในระวางเดียวกัน หามนายจางทําการบรรจุสินคาอันตรายปะปนกับสินคาธรรมดา หรือสินคาอันตรายที่มิใชประเภท เดียวกัน ขอ 23 ใหนายจางควบคุมดูแลมิใหมีการโยนหรือกระแทกสินคาในการบรรทุกหรือขนถายสินคา อันตราย ขอ 24 การขนยายสินคาซึ่งเปนสารเคมีที่เปนพิษตอรางกาย ไดแก แกสพิษและสารเปนพิษที่มี คุณสมบัติติดไฟดวย (IMO CLASS 2.3 และ 6.1) ใหนายจางจัดใหัลกู จางสวมใสเสื้อผาที่มิดชิด สวม หนากากปองกันสารพิษ ถุงมือยาง และรองเทายาง เพื่อปองกันมิใหเกิดอันตรายตอระบบทางเดินหายใจ และผิวหนัง ขอ 25 ใหนายจางควบคุมดูแลมิใหลูกจางใชอุปกรณหรือเครื่องมือหรือสื่ออื่นใดที่อาจทําใหเกิด ความรอนสูง หรือเกิดประกายไฟในระวางที่ทําการบรรทุกหรือขนถายสินคาอันตรายและใหลูกจางงดสูบ บุหรี่ในระวางโดยเด็ดขาด

1 - 73

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ขอ 26 การยกขึ้นลงซึ่งสินคาอันตรายที่บรรจุดวยถัง ภาชนะ หรือหีบหอเปนพิเศษ เชน ถังบรรจุ สารเคมี ถังบรรจุนํ้ามัน ใหนายจางควบคุมดูแลใหลูกจางปฏิบัติดวยความระมัดระวังและใชเครื่องมือหรือ อุปกรณที่ปลอดภัย ขอ 27 ใหนายจางควบคุมดูแลใหลูกจางใชความระมัดระวังในการเคลื่อนยายสินคาอันตราย ประเภทของแข็งและของเหลวที่มีไอระเหยไวไฟ และใหแยกเก็บไวในที่เย็นหรือหางจากความรอน หรือ เปลวไฟ และสินคาอันตรายประเภทอื่น ๆ สินคาอันตรายบางประเภทที่ถูกนํ้าไมไดเมื่อมีฝนตกใหนายจางสั่งใหลูกจางหยุดงานทันที หมวด 4 ความปลอดภัยในการทํางานบรรทุกหรือขนถายสินคาในพื้นที่อันตราย ขอ 28 ใหนายจางจัดอุปกรณไฟฟาและอุปกรณประกอบที่ใชทํางานในพื้นที่อันตรายเปนชนิดที่ สามารถปองกันความรอน ฝุน การระเบิด การลุกไหม และไฟฟาลัดวงจร อยางมีประสิทธิภาพ ขอ 29 ใหนายจางจัดอุปกรณและเวชภัณฑที่จําเปนแกการปฐมพยาบาลลูกจางที่ไดรับอันตราย จากการทํางานาตามความเหมาะสม ขอ 30 ใหนายจางจัดใหผูควบคุมงานที่มีความรูความสามารถเพื่อปฏิบัติหนาที่ดังตอไปนี้ (1) วางแผนการปฏิบัติงานและการปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทํางาน และปดประกาศ หรือแจงใหลูกจางทราบเปนลายลักษณอักษร (2) ชีแ้ จงและซักซอมหนาที่ความรับผิดชอบ วิธีการปฏิบัติงานและวิธีการปองกันอันตรายใหเปน ไปตามแผนที่กําหนดไว (3) ควบคุมดูแลใหลูกจางใชและตรวจตราเครื่องปองกัน และอุปกรณคุมครองความปลอดภัยที่ใช ใหอยูในสภาพพรอมที่จะใชงาน ขอ 31 ใหนายจางหามลูกจางสูบบุหรี่หรือพกพาอุปกรณสําหรับจุดไฟหรือติดไฟเขาไปในพื้นที่ อันตราย ขอ 32 ใหนายจางหามลูกจางที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของเขาไปในพื้นที่อันตราย หมวด 5 มาตรฐานเกี่ยวกับการคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ขอ 33 ลูกจางตองใชหรือสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ใหนายจางสั่งหยุดการทํางานของลูกจางไดทันทีและไมยินยอมใหลูกจางเขาทํางานจนกวาจะใชหรือ สวมใสอุปกรณ 1 - 74

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ขอ 34 อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่เหมาะสมกับสภาพของงานซึ่งนายจางาตอง จัดใหลูกจางนั้น ตองไดมาตรฐานดังตอไปนี้ (1) หมวกนิรภัยใหเปนไปตามมาตรฐานของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (2) รองเทาหุม สนพื้นยาง ทําดวยหนังหรือผาหุมตลอด และมีพื้นรองเทาเปนยางสามารถปองกัน การลื่นได (3) รองเทานิรภัยหุมแขง ตองทําดวยยาง หรือยางผสมวัตถุอื่น เมื่อสวมแลวมีความสูงไมนอยกวา ครึง่ แขง ไมฉีกขาดงาย สามารถกันนํ้าและสารเคมีได (4) ถุงมือตองมีความเหนียว ไมฉีกขาดงาย มีความยาวหุมถึงขอมือ และใชสวมนิ้วมือไดทุกนิ้ว เมือ่ สวมแลวสามารถเคลื่อนไหวนิ้วมือไดสะดวก ถาเปนถุงมือยางตองสามารถกันนํ้าและกรดไดดวย ขอ 35 ขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยตามประกาศนี้เปนมาตรฐานขั้นตํ่าที่จะตองปฏิบัติเทา นั้น ขอ 36 งานใดที่มีลักษณะไมเหมาะสมแกการที่จะใหลูกจางใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัย สวนบุคคลดังทีร่ ะบุไวในประกาศนี้ นายจางอาจผอนผันใหลูกจางระงับการใชอุปกรณนั้นเฉพาะการปฏิบัติ งานในลักษณะเชนวานั้นเปนการชั่วคราว ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

1 - 75

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ระเบียบกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม วาดวยหลักเกณฑและวิธีการเพื่อใหไดมาซึ่งผูแทนฝายนายจางและฝายลูกจาง ในคณะกรรมการตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 พ.ศ.2541 โดยทีม่ าตรา 78 มาตรา 94 มาตรา 102 และมาตรา 129 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 บัญญัติใหมีคณะกรรมการคาจาง คณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน คณะกรรมการความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน และคณะกรรมการกองทุนสงเคราะหลูกจาง ซึ่ง ประกอบดวยผูแทนฝายรัฐบาล ผูแทนฝายนายจาง และผูแทนฝายลูกจางสําหรับหลักเกณฑและวิธีการเพื่อ ใหไดมาซึง่ ผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางใหเปนไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนด รัฐมนตรี วา การกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมจึงกําหนดระเบียบไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมวาดวยหลักเกณฑและวิธี การเพื่อใหไดมาซึ่งผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางในคณะกรรมการตามพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ.2541 พ.ศ.2541” ขอ 2 ระเบียบนีใ้ หใชบังคับตั้งแตวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2541 เปนตนไป ขอ 3 ในระเบียบนี้ “สมาคมนายจาง” หมายความวา สมาคมนายจางตามกฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธ “สหภาพแรงงาน” หมายความวา สหภาพแรงงานตามกฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธ “สภาองคการนายจาง” หมายความวา สภาองคการนายจางตามกฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธ “สภาองคการลูกจาง” หมายความวา สภาองคการลูกจางตามกฎหมายวาดวยแรงงานสัมพันธ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการอํานวยการเลือกตั้ง “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ขอ 4 ใหรฐั มนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมรักษาการตามระเบียบนี้ หมวด 1

การเสนอชื่อผูสมัครและผูลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ขอ 5 ใหมคี ณะกรรมการอํานวยการเลือกตั้ง ซึ่งปลัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมแตงตั้ง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนพิเศษ 71ง วันที่ 19 สิงหาคม 2541

1 - 76

กฎหมายคุมครองแรงงาน

โดยมีผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางรวมอยูดวย เพื่ออํานวยการเลือกตั้งผูแทนฝาย นายจางและผูแทนฝายลูกจางในคณะกรรมการคาจาง คณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน คณะ กรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน และคณะกรรมการ กองทุนสงเคราะหลูกจางใหเปนไปโดยเรียบรอย บริสุทธิ์ และยุติธรรม ขอ 6 ใหสภาองคการนายจางและสภาองคการลูกจางเสนอรายชื่อผูสมัครเพื่อเขารับการเลือกตั้ง เปนผูแ ทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางในคณะกรรมการคณะตางๆ ตามขอ 5 ตอคณะกรรมการได ไมเกินคนละสองคณะ หลักเกณฑ และวิธีการในการสมัครรับเลือกตั้งใหเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนด ขอ 7 ผูส มัครเขารับการเลือกตั้งตามขอ 6 ตองเปนผูมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม ดังตอ ไปนี้ (1) มีสัญชาติไทย (2) มีอายุตั้งแตยี่สิบหาปขึ้นไป (3)เป น ผู  มี ค วามเลื่ อ มใสในการปกครองตามระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย  เปนประมุข (4) ไมเปนบุคคลลมละลาย คนไรความสามารถ หรือคนเสมือนไรความสามารถ (5) ไมเคยตองโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ได กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (6) เปนนายจางหรือลูกจางของสถานประกอบกิจการ (7) เปนหรือเคยเปนกรรมการสมาคมนายจางหรือกรรมการสหภาพแรงงาน หรือเปนหรือเคย เปนกรรมการลูกจางหรือกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ เฉพาะในคณะกรรมการสวัสดิการ แรงงาน ไมนอยกวาหนึ่งป (8) เปนผูมีความรูหรือมีประสบการณเกี่ยวกับกฎหมายวาดวยคุมครองแรงงาน และกฎหมายวา ดวยแรงงานสัมพันธ เวนแตในคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ ทํางานจะตองมีคุณสมบัติดังนี้ (ก) เปนผูมีประสบการณในการบริหารจัดการ หรือปฏิบัติงานดานความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานในสถานประกอบกิจการอยางนอย 2 ป (ข) ไมเคยเปนผูกระทํ าหรือมีสวนรวมในการทํ าใหเกิดอุบัติเหตุรายแรงหรือเกิดโรคอัน เนือ่ งมาจากการทํางาน จนเปนเหตุใหมีผูสูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต (9)ไมเคยตองคําพิพากษาวาไดกระทําความผิดตามกฎหมายวาดวยคุมครองแรงงานหรือกฎหมาย วาดวยแรงงานสัมพันธ ผูสมัครที่ไดรับการเสนอชื่อตองแสดงหลักฐานและใหการรับรองคุณสมบัติตามวรรคหนึ่งดวย ตนเอง ขอ 8 สภาองคการนายจางหรือสภาองคการลูกจางอาจเปลี่ยนรายชื่อผูสมัครที่ตนเสนอก็ได ทั้งนี้ ตองอยูภายในเวลาที่กําหนดไวตามขอ 6

1 - 77

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ขอ 9 เมื่อคณะกรรมการตรวจสอบคุณสมบัติของผูสมัครเขารับการเลือกตั้งแลว หากเห็นวาผู สมัครรายใดขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามขอ 6 และขอ 7 ใหแจงผลการพิจารณาใหสภาองค การนายจางหรือสภาองคการลูกจางทราบ สภาองคการนายจางหรือสภาองคการลูกจางซึ่งไมพอใจผลการพิจารณาตามวรรคหนึ่งมีสิทธิ อุทธรณตอรัฐมนตรีภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับแจง และคําวินิจฉัยอุทธรณของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด ขอ 10 สมาคมนายจางและสหภาพแรงงานมีสิทธิเสนอชื่อผูแทนซึ่งเปนกรรมการของสมาคม นายจางและสหภาพแรงงานนั้นแหงละหนึ่งคน เพื่อทําหนาที่เปนผูลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผูแทนฝายนาย จางและผูแทนฝายลูกจางในคณะกรรมการแตละคณะ การเสนอชื่อผูแทนตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามแบบและระยะเวลาที่คณะกรรมการกําหนดใหนํา ขอ 8 มาใชบังคับโดยอนุโลม หมวด 2 การดําเนินการเลือกตั้ง ขอ 11 การเลือกตั้งใหใชวิธีการลงคะแนนลับ ตามหลักเกณฑ และวิธีการที่คณะกรรมการ กําหนด ขอ 12 ในการเลือกตั้ง ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (1) จัดเตรียมบัตรเลือกตั้ง หีบบัตรเลือกตั้ง บัญชีรายชื่อผูสมัครและผูลงคะแนนเสียงเลือกตั้งรวม ตลอดถึงอุปกรณและเอกสารอื่นเพื่อใชในการเลือกตั้ง (2) พิจารณาตรวจสอบความถูกตองของบัตรเลือกตั้งที่มีการลงคะแนนเสียงแลว (3) นับคะแนนเสียงเลือกตั้ง ขอ 13 เมือ่ นับคะแนนเสียงเสร็จสิ้นแลว ใหคณะกรรมการประกาศผลการนับคะแนนและจัดทํา บัญชีรายชื่อเรียงลําดับผูไดรับคะแนนเสียงมากที่สุดตามลําดับจนถึงผูไดรับคะแนนเสียงนอยที่สุด ในกรณีทมี่ ผี ูไดรับคะแนนเสียงเลือกตั้งเทากันในลําดับใด ใหจับสลากเพื่อเรียงลําดับในลําดับนั้น ขอ 14 ใหคณะกรรมการเก็บบัตรเลือกตั้งที่ไดรับคะแนนเสียงแลวใสซองปดผนึกและลงลาย มือชือ่ คณะกรรมการอยางนอยสามคนกํากับไวบนซอง โดยแยกเก็บบัตรเลือกตั้งที่วินิจฉัยวาเปนบัตรเสีย ไวตา งหาก ทั้งนี้ กรณีที่เปนบัตรเลือกตั้งผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางในคณะกรรมการคาจาง มอบแกสํานักงานคณะกรรมการคาจางพรอมกับบัญชีรายชื่อผูไดรับเลือกตั้งตามขอ 13 สําหรับบัตรเลือก ตั้งผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางในคณะกรรมการอื่นใหมอบแกกรมสวัสดิการและคุมครอง แรงงานพรอมกับบัญชีรายชื่อผูไดรับเลือกตั้งเชนกัน ให ผู  รั บ มอบเอกสารตามวรรคหนึ่งเก็บรักษาเอกสารนั้นไวไมน อยกวาสองปนับแตวันที่คณะ รัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีแตงตั้งคณะกรรมการคณะตางๆ แลวแตกรณี

1 - 78

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ขอ 15 ใหผูรับมอบเอกสารตามขอ 14 เสนอรายชื่อผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางที่มี คะแนนเสียงมากที่สุดตามลําดับจนครบจํานวนที่พึงมีในคณะกรรมการคาจาง คณะกรรมการสวัสดิการแรง งาน คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน และคณะกรรมการกอง ทุนสงเคราะหลูกจางแลวแตกรณี เพื่อใหัคณะรัฐมนตรีแตงตั้งเปนคณะกรรมการผูแทนฝายนายจางและ กรรมการผูแทนฝายลูกจางในคณะกรรมการดังกลาวตอไป ใหผูไดรับเลือกตั้งตามวรรคหนึ่งเปนคณะกรรมการในคณะกรรมการไตรภาคีดานแรงงานไดไม เกินคนละสองคณะ ขอ 16 ในกรณีที่กรรมการผูแทนฝายนายจางหรือกรรมการผูแทนฝายลูกจางพนจากตําแหนง กอนครบวาระ ใหผูรับมอบเอกสารตามขอ 14 เสนอชื่อผูแทนฝายนายจางหรือผูแทนฝายลูกจางที่มี คะแนนมากในลําดับถัดไปเพื่อไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการแทนตําแหนงกรรมการที่วาง โดยใหมีวาระ เทากับวาระที่เหลืออยูของกรรมการที่ตนแทน ใหไว ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2541 นายไตรรงค สุวรรณคีรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

1 - 79

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง กําหนดสถานที่ที่ใหนายจางแจงการดําเนินการตอพนักงานตรวจแรงงาน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 18 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อธิบดี กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานจึงออกประกาศไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ประกาศนีเ้ รียกวา “ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง กําหนดสถานที่ที่ให นายจางแจงการดําเนินการตอพนักงานตรวจแรงงาน” ขอ 2 ประกาศนีใ้ หใชบังคับตั้งแตวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2541 เปนตนไป ขอ 3 ในกรณีทพี่ ระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 กําหนดใหนายจางตองแจงการ ดําเนินการอยางหนึ่งอยางใดตอพนักงานตรวจแรงงาน ใหนายจางแจง ณ สถานที่ดังตอไปนี้ ก. ในเขตกรุงเทพมหานคร (1) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตปอมปราบศัตรูพายและเขตดุสิต ให แจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 1 (2) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตสัมพันธวงศและเขตพระนครใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 2 (3) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตจตุจักรและเขตบางซื่อใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 3 (4) นายจางทีม่ ีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตพญาไทและเขตราชเทวีใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 4 (5) นายจางทีม่ ีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตหวยขวางและเขตดินแดงใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 5 (6) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตปทุมวันและเขตบางรักใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 6 (7) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตคลองเตย เขตสวนหลวง และเขต วัฒนา ใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 7 (8) นายจางทีม่ สี ถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตประเวศ เขตพระโขนง และเขต บาง นา ใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 8

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนพิเศษ 71ง วันที่ 19 สิงหาคม 2541

1 - 80

กฎหมายคุมครองแรงงาน

(9) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตลาดกระบังและเขตหนองจอก ให แจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 9 (10) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตมีนบุรี เขตบึงกุม เขตคันนายาว เขตสะพานสูง และเขตคลองสามวา ใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 10 (11) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตลาดพราวเขตบางกะป และเขต วังทองหลาง ใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 11 (12) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตบางเขน เขตดอนเมือง เขตหลักสี่ และเขตสายไหม ใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 12 (13) นายจางทีม่ ีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตสาธรและเขตยานนาวา ใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 13 (14) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตบางคอแหลม เขตราษฎรบูรณะ และเขตทุงครุ ใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 14 (15) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตบางขุนเทียน เขตจอมทอง และ เขตบางบอน ใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 15 (16) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตหนองแขม เขตภาษีเจริญ และ เขตบางแค ใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 16 (17) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตธนบุรีและเขตคลองสาน ใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 17 (18) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตบางกอกใหญและเขตบางกอกนอย ใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 18 (19) นายจางที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูในทองที่เขตตลิ่งชัน เขตบางพลัด และเขต ทวีวฒ ั นา ใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตพื้นที่ 19 ข. นายจางทีม่ สี ถานประกอบกิจการตั้งอยูในเขตจังหวัดใด ใหแจง ณ สํานักงานสวัสดิการและ คุม ครองแรงงานจังหวัดนั้น ใหไว ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2541 ศักดิ์ชัย ศักดิ์กุลวงศ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

1 - 81

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง แบบแจงการจาง แบบบันทึกการเปลี่ยนแปลงสภาพการจาง และแบบสิ้นสุดการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดป อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 45 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน จึงกําหนดแบบแจงการจาง แบบบันทึกการเปลี่ยนแปลงสภาพ การจาง และแบบแจงการสิ้นสุดการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดปไวดังตอไปนี้ (1) แบบแจงการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กตอพนักงานตรวจแรงงานตามมาตรา 45 (1) ใหเปนไป ตามแบบ คร.2 ทายประกาศนี้ (2) แบบบันทึกการเปลี่ยนแปลงสภาพการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กตามมาตรา 45 (2) ใหเปนไป ตามแบบ คร.3 ทายประกาศนี้ (3) แบบแจงการสิ้นสุดการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กตอพนักงานตรวจแรงงานตามมาตรา 45 (3) ให เปนไปตามแบบ คร.4 ทายประกาศนี้ ใหไว ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2541 ศักดิ์ชัย ศักดิ์กุลวงศ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนพิเศษ 71ง วันที่ 19 สิงหาคม 2541

1 - 82

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการในการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการ ในสถานประกอบกิจการ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 96 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน จึงออกประกาศไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ประกาศนีเ้ รียกวา “ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธี การในการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ” ขอ 2 ประกาศนีใ้ หใชบังคับตั้งแตวันที่ 19 สิงหาคม 2541 เปนตนไป ขอ 3 ใหนายจางจัดใหมีคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการภายในหกสิบวันนับแต วันทีป่ ระกาศนี้มีผลใชบังคับหรือภายในสามสิบวันนับแตวันที่มีลูกจางครบหาสิบคน ขอ 4 ในสถานประกอบกิจการแหงหนึ่งใหเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจ การไดหนึ่งคณะ สถานประกอบกิจการตามวรรคหนึ่ง หมายความรวมถึงสํานักงานสาขาหรือหนวยงานของนายจาง แตละแหงที่ตั้งอยูภายนอก ซึ่งแตละแหงมีลูกจางตั้งแตหาสิบคนขึ้นไปดวย ขอ 5 ใหนายจางแตงตั้งลูกจางในสถานประกอบกิจการไมนอยกวาหาคน ซึ่งไมประสงคจะสมัคร รับเลือกตัง้ เปนกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ เปนคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้ง ขอ 6 ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งประกาศกําหนดวัน เวลา และสถานที่ในการเลือกตั้ง กรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ตลอดจนกําหนดระยะเวลารับสมัครผูที่จะสมัครรับเลือกตั้ง เปนกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการและแจงใหนายจางและพนักงานตรวจแรงงานแหงทองที่ที่ สถานประกอบกิจการตั้งอยูทราบโดยเร็ว ใหนายจางประกาศการเลือกตั้งกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการไว ณ สถานที่ที่ลูกจาง ทํางานทุกแหงเปนเวลาอยางนอยสิบวันกอนวันเลือกตั้ง

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนพิเศษ 71ง วันที่ 19 สิงหาคม 2541

1 - 83

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ขอ 7 ภายใตบังคับขอ 2 ลูกจางในสถานประกอบกิจการทุกคนมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งและมีสิทธิ ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ขอ 8 ใหผทู ี่จะสมัครรับเลือกตั้งเปนกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการยื่นใบสมัครรับ เลือกตั้งตอคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งภายในกําหนดระยะเวลาตามที่ระบุไวในประกาศใบสมัครรับ เลือกตั้งใหมีขอความอยางนอย ดังตอไปนี้ (1) ชื่อตัวและชื่อสกุล (2) วัน เดือน ปเกิด หรืออายุ (3) ตําแหนงหรือหนาที่ที่ปฏิบัติในสถานประกอบกิจการ ตลอดจนระยะเวลาในการทํางานกับ สถานประกอบกิจการแหงนั้น (4) ลายมือชื่อ เมือ่ คณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งไดรับใบสมัครซึ่งกรอกขอความถูกตองครบถวนแลว ให กําหนดหมายเลขประจําตัวผูสมัครเรียงตามลําดับใบสมัคร ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการกําหนดหมาย เลขประจําตัวผูสมัคร ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งกําหนดหมายเลขโดยวิธีจับฉลาก ขอ 9 ใหนายจางจัดแผงหรือปายสําหรับผูสมัครรับเลือกตั้งประกาศหาเสียงเลือกตั้งภายใน บริเวณสถานประกอบกิจการไมนอยกวาสองแหง ผูส มัครรับเลือกตั้งที่ไดหมายเลขประจําตัวแลว มีสิทธิดําเนินการหาเสียงปดประกาศ ณ แผงหรือ ปายทีน่ ายจางจัดไวตามวรรคหนึ่ง แตจะปดประกาศ ณ ที่อื่นนอกจากแผงหรือปายที่นายจางจัดไวหรือ ประชุมลูกจางหรือกระจายเสียงในระหวางเวลาทํางานไดตอเมื่อนายจางอนุญาต ขอ 10 ใหนายจางจัดทําบัญชีรายชื่อลูกจางทุกคนในสถานประกอบกิจการ และสงใหคณะ กรรมการดําเนินการเลือกตั้งหนึ่งชุดกอนวันเลือกตั้งไมนอยกวาสามวัน และนําบัญชีรายชื่อลูกจางดังกลาว อีกชุดหนึง่ ปดประกาศไวใหลูกจางตรวจดูรายชื่อกอนวันเลือกตั้งไมนอยกวาสามวัน ในกรณีทไี่ มมีรายชื่อลูกจางผูใดในบัญชี หรือบัญชีรายชื่อลูกจางดังกลาวไมถูกตองลูกจางมีสิทธิ คัดคานและขอใหนายจางแกไขใหถูกตองได ใหนายจางดําเนินการแกไขโดยเร็วและปดประกาศบัญชี ราย ชือ่ ลูกจางใหมกอนวันเลือกตั้ง ขอ 11 ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งเตรียมการเลือกตั้ง โดยจัดหาอุปกรณสําหรับใช ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ดังตอไปนี้ (1) บัตรเลือกตั้งซึ่งมีหมายเลขประจําตัวผูสมัครทุกคน (2) หีบลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง (3) เครื่องเขียน (4) กระดานหรือกระดาษหรืออุปกรณอยางอื่นที่คลายคลึงกัน เพื่อใชในการนับคะแนนเสียง ทั้งนี้ ใหมขี นาดใหญพอที่จะใหบุคคลอื่นเห็นไดชัดในขณะนับคะแนนเสียง ใหนายจางจัดหาอุปกรณดังกลาวในวรรคหนึ่ง เมื่อคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งรองขอ

1 - 84

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ขอ 12 ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งกําหนดระยะเวลาการลงคะแนนเสียงไมนอยกวา สี่ ชั่วโมงติดตอกัน ในกรณีทลี่ กู จางทํางานเปนกะหรือทํางานในเวลาแตกตางกันหรือทํางานตางสถานที่กัน และไมอาจ มาลงคะแนนเสียงพรอมกันในระยะเวลาหนึ่งได ใหจัดใหมีการลงคะแนนเสียงไดทุกคน ในวันเลือกตั้งใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งประกาศรายชื่อและหมายเลขประจําตัวผูสมัคร รับเลือกตั้งประกาศรายชื่อและหมายเลขประจําตัวผูสมัครรับเลือกตั้งไว ณ สถานที่ทําการเลือกตั้ง ขอ 13 การเลือกตั้งกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการใหกระทําโดยวิธีการลงคะแนน เสียงในบัตรเลือกตั้ง โดยใหผูมีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งไปแจงตอคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งใน วันเลือกตั้งแลวใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งตรวจบัญชีรายชื่อและจดแจงหมายเหตุในบัญชีรายชื่อ วาบุคคลดังกลาวมาใชสิทธิเลือกตั้งแลว พรอมทั้งมอบบัตรลงคะแนนเสียงใหผูมีสิทธิดังกลาวหนึ่งชุด ขอ 14 กอนการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งเปดหีบบัตรเลือกตั้ง ตอหนาบุคคลอื่นที่อยูในบริเวณสถานที่เลือกตั้ง เพื่อแสดงวาไมมีบัตรเลือกตั้งหรือสิ่งใด ๆ ในหีบบัตร เลือกตัง้ แลวผนึกหีบบัตรเลือกตั้งนั้นตอหนาบุคคลที่อยู ณ ที่นั้น และหากกระทําไดใหบุคคลดังกลาวรวม กับคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งลงลายมือชื่อในบันทึกแจงการเปดและปดหีบบัตรดังกลาวดวย ขอ 15 ใหผมู สี ิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งซึ่งไดรับบัตรเลือกตั้ง ลงคะแนนเสียงโดยวิธีการกาก บาทหรือทํ าเครื่องหมายที่แสดงวาไดเลือกผูที่มีหมายเลขประจํ าตัวดังกลาวเปนกรรมการสวัสดิการใน สถานประกอบกิจการ ผูมีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งจะลงคะแนนเสียงเกินจํานวนกรรมการซึ่งกําหนดไว ไมได ในกรณีที่มีการลงคะแนนเสียงเกินจํานวนกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ใหถือวาบัตร ลงคะแนนเสียงดังกลาวเปนบัตรเสียและไมใหนับคะแนนเสียงในบัตรนั้น เมื่อผูมีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งลงคะแนนเสียงแลวใหพับบัตรเลือกตั้งมอบใหคณะกรรมการ ดําเนินการเลือกตั้ง ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งหยอนบัตรเลือกตั้งลงในหีบบัตรเลือกตั้งตอหนาผูลงคะแนน เสียงเลือกตั้ง ขอ 16 เมือ่ ถึงเวลาสิ้นสุดการเลือกตั้งแลว ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งประกาศดวยวาจา วาพนกําหนดการลงคะแนนเสียงแลว และจะดําเนินการนับคะแนนเสียงตอไป ในการนับคะแนนเสียง ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งเปดหีบบัตรและเริ่มนับคะแนนเสียง โดยการเปดบัตรเลือกตั้งครางละหนึ่งบัตร แสดงใหผูเกี่ยวของไดเห็นทั่วกัน แลวขานคะแนนเสียงเพื่อให คณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งซึ่งมีหนาที่บันทึกคะแนนเสียงไดคะแนนเสียงไว และใหดําเนินการเชน เดียวกันนี้จนกวาบัตรเลือกตั้งในหีบบัตรเลือกตั้งหมด ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งรวมคะแนนเสียงทีไ่ ดรับเลือกตั้งของผูสมัครรับเลือกตั้งทุกคน ผูส มัครรับเลือกตั้งซึ่งไดคะแนนเสียงมากที่สุดตามลําดับจํานวนที่กําหนดไว ในกรณีที่มีผูไดคะแนนเสียง เลือกตัง้ ในลําดับสุดทายเทากันซึ่งทําใหมีจํานวนผูที่ไดรับเลือกตั้งมากกวาจํานวนที่กําหนด ใหคณะ กรรมการดําเนินการจับฉลากระหวางผูไดคะแนนเสียงเลือกตั้งในลําดับสุดทายเทากันโดยเปดเผย เพื่อ เปนกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ 1 - 85

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ขอ 17 ใหคณะกรรมการดําเนินการเลือกตั้งแจงผลการเลือกตั้งใหนายจางและพนักงานตรวจ แรงงานแหงทองที่ที่สถานประกอบกิจการนั้นตั้งอยูภายในสิบวันนับแตวันเลือกตั้ง ขอ 18 กรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการอยูในตําแหนงคราวละไมเกินสองป แตอาจ ไดรับการเลือกตั้งใหมได ขอ 19 นอกจากการพนตําแหนงตามวาระขอ 18 กรรมการพนจากตําแหนง เมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) เปนคนไรความสามารถ หรือคนเสมือนไรความสามารถ (4) ไดรบั โทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทํา โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ การเลือกตั้งกรรมการแทนตําแหนงที่วางใหนําขอกําหนดขางตนมาใชบังคับโดยอนุโลม และให กรรมการที่ไดรับเลือกตั้งดํารงตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน ขอ 20 ใหนายจางปดประกาศรายชื่อและหนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการสวัสดิการใน สถานประกอบกิจการโดยเปดเผยเพื่อใหลูกจางไดทราบ ณ สถานประกอบกิจการที่มีคณะกรรมการ ดังกลาว เมือ่ มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการ ใหนายจางปดประกาศรายชื่อภายในสามสิบวันนับแตวันที่เปลี่ยน แปลง การประกาศรายชื่อตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ตองปดไวอยางนอยสิบหาวัน ขอ 21 ใหกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการซึ่งไดรับการเลือกตั้งตามขอ 16 มีสิทธิและ หนาทีใ่ นฐานะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการนับแตวันเลือกตั้งเปนตนไป ประกาศ ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2541 ศักดิ์ชัย ศักดิ์กุลวงศ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

1 - 86

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง แบบคําขออนุญาตและแบบใบอนุญาตใหลูกจางซึ่งเปนเด็กทํางาน ในเวลาทํางานปกติ ระหวางเวลา 22.00 นาฬิกา ถึงเวลา 06.00 นาฬิกา โดยทีม่ าตรา 47 วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 บัญญัติหามมิใหนาย จางใหลกู จางซึง่ เปนเด็กอายุตํ่ากวาสิบแปดปทํางานในระหวางเวลา 22.00 นาฬิกา ถึงเวลา 06.00 นาฬิกา เวนแตจะไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย เพือ่ ปฏิบัติการใหเปนไปตามบทบัญญัติดังกลาว อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน จึง กําหนดแบบคําขออนุญาตและแบบใบอนุญาตใหลูกจางซึ่งเปนเด็กทํางานในเวลาทํางานปกติระหวางเวลา 22.00 นาฬิกา ถึงเวลา 06.00 นาฬิกา ดังนี้ 1. คําขออนุญาตใหลกู จางซึ่งเปนเด็กทํางานในเวลาทํางานปกติระหวางเวลา 22.00 นาฬิกา ถึง เวลา 06.00 นาฬิกา ใหเปนไปตามแบบ คร. 5 ทายประกาศนี้ 2. ใบอนุญาตใหลกู จางซึ่งเปนเด็กทํางานตามคําขออนุญาตในขอ 1 ใหเปนไปตามแบบ คร.6 ทายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2541 ศักดิ์ชัย ศักดิ์กุลวงศ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 115 ตอนพิเศษ 71ง วันที่ 19 สิงหาคม 2541

1 - 87

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง ชวงเวลาการทํางานในวันทํางานปกติและในวันหยุด ในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเล โดยทีข่ อ 2 แหงกฎกระทรวงฉบับที่ 11 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ.2541 กําหนดวา “แรง” หมายความวา ชวงเวลาการทํางานในวันทํางานปกติและในวันหยุด ตามทีอ่ ธิบดีประกาศกําหนด โดยคํานึงถึงขอตกลงระหวางนายจางกับลูกจาง ตามประเพณีในงานบรรทุก หรือขนถายสินคาเรือเดินทะเล อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานจึงออกประกาศไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 กะกลางวัน ตัง้ แตเวลา 08.00 นาฬิกาถึงเวลา 17.00 นาฬิกา เปนหนึ่งแรงโดยมีเวลาพักตั้งแตเวลา 12.00 นาฬิกาถึงเวลา 13.00 นาฬิกา ขอ 2 กะกลางคืน ตัง้ แตเวลา 19.00 นาฬิกาถึงเวลา 23.30 นาฬิกา เปนหนึ่งแรง ขอ 3 กะดึก ตัง้ แตเวลา 01.00 นาฬิกาถึงเวลา 04.30 นาฬิกา เปนหนึ่งแรง ประกาศ ณ วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2541 ศักดิ์ชัย ศักดิ์กุลวงศ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

1 - 88

กฎหมายคุมครองแรงงาน

ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง กําหนดระยะเวลาทํางานปกติและหลักเกณฑการจายคาจาง ในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเล โดยทีข่ อ 3 และขอ 5 แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2541) ออกตามความในพระ ราชบัญญัตคิ มุ ครองแรงงาน พ.ศ.2541 กําหนดใหอธิบดีประกาศกําหนดระยะเวลาทํางานปกติและ หลักเกณฑการจายคาจางในงานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเล อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครอง แรงงานจึงออกประกาศไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ใหนายจางจายคาจางแกลูกจางเพื่อตอบแทนการทํางานในระหวางกําหนดเวลาทํางานปกติ ตามหลักเกณฑ ดังตอไปนี้ (1) กะกลางวัน เวลา 08.00 นาฬิกา ถึง 17.00 นาฬิกา จายคาจางหนึ่งแรง เวลา 08.00 นาฬิกา ถึง 12.00 นาฬิกา จายคาจางครึ่งแรง เวลา 13.00 นาฬิกา ถึง 17.00 นาฬิกา จายคาจางครึ่งแรง (2) กะกลางคืน เวลา 19.00 นาฬิกา ถึง 23.30 นาฬิกา จายคาจางหนึ่งแรง (3) กะดึก เวลา 01.00 นาฬิกา ถึง 04.30 นาฬิกา จายคาจางหนึ่งแรง ขอ 2 ใหนายจางจายคาจางพิเศษแกลูกจางตามชวงเวลาการทํางานดังตอไปนี้ (1) เวลา 12.00 นาฬิกา ถึงเวลา 13.00 นาฬิกา จายคาจางครึ่งแรง (2) เวลา 17.00 นาฬิกา ถึงเวลา 18.00 นาฬิกา จายคาจางครึ่งแรง (3) เวลา 18.00 นาฬิกา ถึงเวลา 19.00 นาฬิกา จายคาจางครึ่งแรง (4) เวลา 23.30 นาฬิกา ถึงเวลา 01.00 นาฬิกา จายคาจางครึ่งแรง (5) เวลา 04.30 นาฬิกา ถึงเวลา 06.00 นาฬิกา จายคาจางครึ่งแรง (6) เวลา 06.00 นาฬิกา ถึงเวลา 07.00 นาฬิกา จายคาจางครึ่งแรง (7) เวลา 07.00 นาฬิกา ถึงเวลา 08.00 นาฬิกา จายคาจางครึ่งแรง ขอ 3 ใหนายจางจายคาจางแกลูกจางซึ่งทํางานบรรทุกหรือขนถายสินคาเรือเดินทะเลภายในสอง วันนับแตวันที่ลูกจางทํางานแลวเสร็จ ประกาศ ณ วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2541 ศักดิ์ชัย ศักดิ์กุลวงศ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน 1 - 89

กฎหมายคุมครองแรงงาน

บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (ฉบับที่ 13) พ.ศ. ๒๕๔๑ หลักการ แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ดังตอไปนี้ (1) กําหนดลําดับบุริมสิทธิในเงินที่ลูกจางมีสิทธิไดรับเพื่อการงานที่ไดทําใหแกลูกหนี้ซึ่งเปน นายจางใหอยูในลําดับเดียวกับบุริมสิทธิในคาภาษีอากร (แกไขเพิ่มเติมมาตรา 253) (2) กําหนดหลักเกณฑและจํานวนเงินสูงสุดของบุริมสิทธิในเงินที่ลูกจางมีสิทธิไดรับ เพื่อการ งานที่ไดทําใหแกลูกหนี้ (แกไขเพิ่มเติมมาตรา 257) เหตุผล โดยทีพ่ ระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 ไดบัญญัติใหหนี้ที่เกิดจากการไมชําระคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด คาลวงเวลาในวันหยุด คาชดเชย คาชดเชยพิเศษ เงินสะสม เงินสมทบ หรือเงินเพิ่ม ใหลูกจางหรือกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานแลวแตกรณี มีบุริมสิทธิเหนือทรัพยสินทั้ง หมดของนายจางซึ่งเปนลูกหนี้ในลําดับเดียวกับบุริมสิทธิในคาภาษีอากรตามประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย ดังนั้น จึงสมควรแกไขเพิ่มเติมมาตรา 253 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยใหสอดคลอง กับกฎหมายวาดวยคุมครองแรงงานในสวนที่เกี่ยวกับสิทธิของลูกจาง โดยใหรวมความถึง สิทธิของเสมียน คนใชและคนงาน ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 253 เดิมดวย โดยกําหนดลําดับบุริมสิทธิในเงินที่ลูกจางมี สิทธิไดรับอยูในลําดับเดียวกับบุริมสิทธิในคาภาษีอากร ประกอบกับสภาวะเศรษฐกิจและสังคมไดเปลี่ยน แปลงไป สมควรแกไขเพิ่มเติมมาตรา 257 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เพื่อกําหนดหลัก เกณฑและจํานวนเงินสูงสุดของบุริมสิทธิในเงินที่ลูกจางมีสิทธิไดรับใหเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศในปจจุบันดวย จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

1 - 90

กฎหมายคุมครองแรงงาน

พระราชบัญญัติ แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2541 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ เปนปที่ ๕๓ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ให ประกาศวา โดยทีเ่ ปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชย (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2541” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๑ เปนตนไป มาตรา ๓ ใหยกเลิกความในมาตรา ๒๕๓ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และใหใช ความตอไปนี้แทน “มาตรา ๒๕๓ ถาหนี้มีอยูเปนคุณแกบุคคลผูใดในมูลอยางหนึ่งอยางใดดังจะกลาวตอไปนี้ บุคคลผูนั้นยอมมีบุริมสิทธิเหนือทรัพยสินทั้งหมดของลูกหนี้ คือ (๑) คาใชจายเพื่อประโยชนอันรวมกัน (๒) คาปลงศพ (๓) คาภาษีอากร และเงินที่ลูกจางมีสิทธิไดรับเพื่อการงานที่ไดทําใหแกลูกหนี้ซึ่งเปนนายจาง (๔) คาเครื่องอุปโภคบริโภคอันจําเปนประจําวัน” มาตรา ๔ ใหยกเลิกความในมาตรา ๒๕๗ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และใหใช ความตอไปนี้แทน

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม 115 ตอนที่ 48ก วันที่ 17 สิงหาคม 2541

1 - 91

กฎหมายคุมครองแรงงาน

“มาตรา ๑๕๗ บุริมสิทธิในเงินที่ลูกจางมีสิทธิไดรับเพื่อการงานที่ไดทําใหแกลูกหนี้ซึ่งเปนนาย จางนัน้ ใหใชสาหรั ํ บคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด คาลวงเวลาในวันหยุด คาชดเชย คาชดเชย พิเศษ และเงินอื่นใดที่ลูกจางมีสิทธิไดรับเพื่อการงานที่ไดทํา ใหนับถอยหลังขึ้นไปสี่เดือนแตรวมกันแลว ตองไมเกินหนึ่งแสนบาทตอลูกจางคนหนึ่ง” ผูรับสนองพระบรมราชโองการ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี

1 - 92

Related Documents

Labor Law
October 2019 22
Labor Law
May 2020 11
Labor Law Reviewer
May 2020 13
Labor Law 2.docx
April 2020 8
Labor Law I
June 2020 7
Qatar Labor Law
May 2020 9