Kaizen_qcc

  • Uploaded by: somjit saranai
  • 0
  • 0
  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Kaizen_qcc as PDF for free.

More details

  • Words: 1,555
  • Pages: 65
กระแส 3C’s ทีเ่ กิดในยุคโลกาภิวัฒน Customers - ลูกคามีทางเลือกมากขึ้น มีทางเลือก,โอกาสเลือกมาก,เปลี่ยนตลอดเวลา Competition - การแขงขันเขมขนรุนแรงขึ้น QCD, ไรพรมแดน, ทุกรูปแบบ Change - การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตลอดเวลา เทคโนโลยี, สารสนเทศ

มีแตอยางบาง จะเอามั๊ย ? ขออยาง หนาครับ

ผมเอาบาง ผมเอา ผมขอซื้อ 100แผนครับ

ซื้อของผมดีกวา ของผมไมแตก

ของผมหนากวา ของผมถูก

อืม... คิดดูกอน

ระบบการผลิต/บริการของโรงงาน (SIPOC DIAGRAM) MAN

ผูสงมอบ

MACHINE

PRODUCT

MATERIAL

SERVICE

METHOD

….

INFORMATION ปจจัยนําเขา

ขั้นตอน/กระบวนการ

ลูกคา สินคา/บริการ

คําที่เราไดยนิ ... • การเพิ่มผลผลิต

• การปรับปรุงงาน • การลดตนทุน • การแกปญหา • การทําใหดีกวา

QCDSMEE

• การยกเครื่อง • การลดความสูญเสีย • Lean Manufacturing ฯลฯ

ความยั่งยืน ของบริษทั

ผูจะชนะและอยูรอด จะตองเอาชนะคูแขงทั้ง QCDSMEE

Quality = คุณภาพ Cost = คาใชจาย Delivery=การสงมอบ Safety=ความปลอดภัย Morale = ขวัญกําลังใจ Environment สิ่งแวดลอม

Ethics จรรยาบรรณ

คุณภาพ (Q)

ผลิตภัณฑ / บริการ

งานประจําตางๆ ตนทุน (C)

ราคา ตนทุน สถานที่

การสงมอบ (D)

เวลา ปริมาณ ความปลอดภัย (S)

ผูใช พนักงาน

ขวัญ/กําลังใจ (M)

พนักงาน

เกี่ยวของกับภายนอก

เกี่ยวของกับภายใน

สินคามีคุณภาพ Q

สินคาและบริการตองดี

งานประจําตางๆ ตองดี

ราคาเหมาะสม C

ราคาตองเหมาะสม

ตนทุนตองต่าํ

พนักงานปลอดภัยในการทํางาน พนักงานกระตือรือรนใสใจในงาน

ปลอดภัย

S

สถานที่ตอ งถูกตอง เวลาตรงตามนัดหมาย ปริมาณตรงตามที่สั่ง ลูกคาใชแลวปลอดภัย

ชื่นใจ มั่นใจ

M

ลูกคาชื่นใจ มั่นใจ ในบริการ

รับของถูกตอง D

ความคาดหวังของกิจกรรมไคเซ็น • เพื่อกระตุนแนวคิดของทุกคน • เพื่อใหเห็นตัวอยางอื่นๆ/เปดความคิด • เพื่อไมใหย่ําอยูที่เดิม

เพื่อใหทุกคนไดแสดงความสามารถ ปรับปรุงงานที่ทําใหงายกวาเดิม

KAIZEN KAIZEN “ไคเซ็น” เปนคําพูดที่งาย แตเราไม ชอบทีจ่ ะปฏิบตั ิ … แตหากเราเขาใจ เชื่อไหมวา …? มันจะทําให ชีวิต การ ทํางานรวมไปถึงสิ่งตางๆ ที่เกี่ยวของ กับเราจะดีขึ้น โดยมีขอแมวา เราตอง ลงมือทํามันดวยตัวเอง

KAIZEN KAI (เปลีย่ นแปลง)

ZEN ( ดีกวา ) ทําใหดกี วา

การปรับปรุงและความพยายามที่จะทํางานใหดีขึ้น กวาที่เปนอยูอยางตอเนื่อง

นิยามของ KAIZEN 1. การปรับปรุง/เปลี่ยนแปลงแบบคอยเปนคอยไปอยางตอเนื่อง 2. เปลี่ยนวิธีการทํางานที่ทําอยูเพื่อใหไดประสิทธิผลมากขึ้น

ไคเซ็นไมไดแยกออกจากงาน แตแฝงอยูในงานตลอดเวลา

สิ่งที่ทําไดไปจนถึงเทาที่ทําได

เปนหนาที่ของทุกคนตองปฏิบตั ิ การปรับปรุงการเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น เปลี่ยนวิธีการทํางานที่ทําอยูเพื่อใหไดประสิทธิผลมากขึ้น

ดีกวา ถูกกวา เร็วกวา ใหมกวา ปลอดภัยขึ้น งายขึ้น

สิ่งที่ทําไดไปจนถึงเทาที่ทําได

Kaizen

Kaizen

ขั้นตอน QCC DEMING CYCLE

A

P

C

D

PLAN วางแผน DO ลงมือปฏิบัติ CHECK ตรวจสอบผล ACT กําหนดมาตรฐาน

Continuous Improvement งาน งาน งาน Low Quality

High Quality

Work Standard

ΚΑΙΖΕΝ กับการจัดการ งาน การคงไว กิจกรรมที่มุงรักษาไว ซึ่ง เทคโนโลยี และมาตรฐาน การปฏิบัติงานที่เปนอยู การฝกอบรมและ ระเบียบปฏิบัติ

การปรับปรุง กิจกรรมการปรับปรุง เปลีย่ นแปลงมาตรฐาน ที่เปนอยู ใหดีขึ้น

การจัดการ ΚΑΙΖΕΝ

ΚΑΙΖΕΝ กับตําแหนงหนาที่ของงาน

ผูบริหารระดับสูง ผูบริหารระดับกลาง

Innovation

KAIZEN

ผูบริหารระดับตน หัวหนางาน พนักงาน

การคงสภาพไว

ประเภทของ Kaizen

1. Kaizen มุงที่ผูบริหาร 2. Kaizen มุงที่กลุม 3. Kaizen มุงที่บุคคล/เดีย่ ว

จุดสําคัญของ Kaizen มุงที่บุคคล 1. การปรับปรุงจากลางขึ้นบน 2. การปรับปรุงแตละจุด ซึ่งพนักงานทําไดดวยตนเอง

3. การปรับปรุงอยางตอเนือ่ ง

การปรับปรุงที่ผานมา/ปจจุบัน • ไมรู/ไมแนใจวาผิดปกติ/มีปญหาเลยไมทําอะไร • ทําเฉพาะกับคนบางกลุมเทานั้น • พึ่งประสบการณเปนสําคัญ • แกไขดําเนินการชา/ไมทันกาล/ไมถูกจุด • การแกไข/รูปญหาใชเวลานาน • ไมสามารถรับรูไดที่หนางานเลย/ • ปรับปรุงเฉพาะหนา/หนักๆ เทานั้น/นายสั่ง • ไมเขาใจวา … ทําอยางไรใหงาย • คิดวาเปนเรื่องงายที่ทุกคนนาจะเขาใจ • ไมเขาใจวาปกติ/ไมปกติ ฯลฯ

วิธีการปรับปรุงที่ดี ตองรู/เขาใจ ปกติ/ไมปกติ หาตนตอ หาทางแก ฯลฯ

คิด/วิเคราะห

ลงมือแกใหปกติ /รักษาสภาพ ฯลฯ

ปฏิบัต/ิ ทํา

การบอก ฟง/ไดยิน สัมผัสมือ รับรูทางจมูก รับรูทางรส ฯลฯ

เห็นปุบ ตองบอกไดปบ วาสิง่ ที่เห็นนั้น ปกติ/ไมปกติ (ทุกคน) • ตองสามารถคิดตอไดวา จะดําเนินการอยางไร - ดําเนินการรักษาสภาพ/กํากับดูแล /ทําตอไป - ดําเนินการแกไขปรับปรุงดวยตนเองทันที - ดําเนินการแจงใหผูเกี่ยวของทราบทันที

ขั้นตอนของ Kaizen สังเกต 1.มอง สืบสวน

2. คิด

คิดหาหนทาง ลงมือทํา

3. ทํา ตรวจสอบ/ติดตาม

ขั้นตอนของ Kaizen สังเกต 1.มอง

2. คิด

3. ทํา

5 “W 2 H 5 Why-Whys 3 MU 4M No

ขั้นตอนของ Kaizen สังเกต 1.มอง สืบสวน

2. คิด

วิถีมองเชิงประสิทธิภาพ 5W2H วิถีมองเชิงวิเคราะห

3. ทํา

รูอยางละเอียด รูปริมาณ รูแบบจําแนกแยกแยะ การวิเคราะหขั้นตอน การวิเคราะหสถานการณ

ขั้นตอนของ Kaizen สังเกต 1.มอง สืบสวน

2. คิด

คิดหาหนทาง

ECRS 3. ทํา

จํานวนความคิด บงบอกถึงคุณภาพ

ขั้นตอนของ Kaizen 1.มอง

2. คิด

3. ทํา

ลงมือทํา •ตองไดรับอนุมัติ •เตรียมสิ่งจําเปนใหพรอม •แจง กําหนด และแบงหนาที่ •วางแผนการรายวัน •ลองปฏิบัติ •ตรวจสอบปญหาอยางใกลชิด •แกไขปญหาขณะทดลอง •รับคําแนะนํา

ขั้นตอนของ Kaizen ติดตาม 1.มอง

2. คิด

3. ทํา

•การตรวจสอบ ยืนยัน เก็บขอมูลเทียบผลงาน เทียบกอน หลัง เปนตัวเลข % ไดมีการหาสาเหตุและแกไขปญหา หรือไม มีแนวทางใหมหรือไม •การตรวจสอบ รอบใหม มีแนวทางใหมหรือไม มีความสูญเปลาหรือไม •การตรวจสอบ ยั่งยืน จัดทําเปนมาตรฐาน แกไขบันทึกใหม อบรมใหคุนเคยวิธีการใหม

ตองเขียน และบันทึกไว 1. เพื่อใหรปู ริมาณ 2. เพื่อใหมองเห็นถึงความพยายามของทุกๆคน 3. เพื่อแตงเติมสาระใหสมบูรณและรอบคอบในการแกปญหา 4. เพื่อใหหวั หนา ทราบและชี้แนะการปรับปรุงได

4 ประเด็นสําคัญในการปรับปรุง 1. จับปญหาตองแมนยํา ถูกตอง ชัดเจน 2. การแกปญหาตองคิดใหรอบดาน/หลายมุมมอง 3. การแกปญหา ตองทําดวยตนเองและอยูในความรับผิดชอบ 4. ทบทวนดูวา ทางเลือกนั้นๆ แกปญหาไดจริงหรือไม

8 เครื่องมือที่ใชในการปรับปรุง 1. Eliminate-กําจัด 2. Reduce-การลด 3. Simplifier-การทําใหงาย 4. Standardization-มาตรฐาน มาตรฐาน 5. Planning - การวางแผน 6. Delicate- ความปราณีต 7. Synergy -การรวมกัน 8. Automation- อัตโนมัติ

ระบบและเครื่องมือที่ใชในการปรับปรุง

KAIZEN 5 S / 5 W 2 H / 5 Whys Safety Small Group Activity QC/ QCC IE Technique Suggestion Scheme

PDCA TQC JIT TPM

ประโยชนของ Kaizen • ทํางานงายขึ้น

• เพิ่มประสิทธิผลมากขึ้น • เพิ่มประสิทธิภาพมากขึ้น • ลดขั้นตอนการทํางาน • ควบคุมงายขึ้น • ปลอดภัยขึ้น • ตนทุนลดลง ฯลฯ

ตัวอยางของ INNOVATION ……….. ๏ ๏ ๏ ๏ ๏ ๏ ๏

รื้อของเกาทิ้ง เปลี่ยนของใหม วางโครงสรางใหม ทีมผูบริหารใหม การปรับปรุงกระบวนการทํางานใหม ใช Technology ใหมๆ เปลี่ยนเครื่องจักรใหม เปลี่ยนกลยุทธการบริหารใหม ฯลฯ

ความแตกตางระหวาง Innovation กับ Kaizen

Kaizen ผล ระยะยาว/ อยูนาน กาวยาง ชวงสั้นๆ ความตอเนื่อง ตอเนื่อง การเปลี่ยนแปลง คอยเปนคอยไป การมีสวนรวม ทุกคน การลงทุน ลงทุนนอย/ออกแรงมาก เปาหมาย คน เกณฑประเมินผล กระบวนการ/ความพยายาม ขอดี ใชไดดี กับเศรษฐกิจโตชา

Innovation ระยะสั้นแตเราใจ ชางยาว ไมตอเนื่อง ฉับพลัน/จบเร็ว เฉพาะกลุมคน ลงทุนมาก/ออกแรงนอย เทคโนโลยี กําไร ใชไดดี กับเศรษฐกิจโตเร็ว

Quality Control Circle ( QCC ) or QC Story

QCC or QC Story Procedure 1. คัดเลือกหัวขอที่จะแกไขปรับปรุง 2. กําหนดดัชนีวัดประสิทธิผล

Plan

3. สืบสภาพปจจุบันและตั้งเปาหมาย 4. วิเคราะหสาเหตุของปญหา

Do

5.คิดคนมาตรการแกไขและดําเนินการ

Check

6. ตรวจสอบประสิทธิผล

Act

7. กําหนดเปนมาตรฐานวิธีการ ทํางานใหม 8. หาหัวขอที่จะปรับปรุงตอไป

หากไมดีใหยอนกลับ ขั้นตอนที่ 3 , 4

ยอนกลับขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 1 คัดเลือกหัวขอที่จะแกไขปรับปรุง แนวทางการคัดเลือก 1. ปญหาที่พบประจําในหนวยงาน เชน คาไฟฟาสูง ,ของเสียเยอะ, งานลาชา , งานซ้ําซอน , เครื่องจักรเสียบอย 2. ปญหาที่ผูรับงานตอจากเรา ( ลูกคาภายใน/ภายนอก ) ตอวาบอย 3. เรื่องที่เปนนโยบายของบริษัท เชน เพิ่มยอดขาย , ลดการใช พลังงาน , ลดตนทุน ,ลดตอวาจากลูกคาที่ซื้อผลิตภัณฑ , เพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต 4. สอบถามความคิดเห็นกันในหนวยงาน 5. เปนเรื่องที่ทาทายความสามารถแตอยูในวิสัยที่สามารถทําได

การเขียนหัวขอที่ดตี อง 1. ผูอาน อานแลวตองเขาใจวาตองการทําอะไร 2. หัวขอตองแสดงใหเห็นปญหา เชน - ลด % ของเสียจากการผลิต - ลดตนทุนคาไฟฟาตอหนวยผลิตภัณฑ - เพิ่มผลผลิตตอวันของเครื่องจักร A - ลด % จํานวนครั้งของการเสียแบบกระทันหันของเครื่องจักร - ลดเวลาการออกงบการเงินประจําเดือนของแผนกบัญชี

การคัดเลือกหัวขอ ตองมีขอมูลที่แสดงใหเห็นอยางชัดเจนวาเปน ปญหาจริง เชน ตัวเลขของเสีย , ตัวเลขการ Claim ผลิตภัณฑ , ตัวเลขตนทุนคาไฟฟา เปนตน เครื่องมือที่สามารถเลือกใชในขั้นตอนนี้ : ใบตรวจสอบ,กราฟ , แผนภูมิพาเรโต หรืออื่นๆที่เหมาะสม

ขั้นตอนที่ 2 กําหนดดัชนีวัดประสิทฺธิผล การกําหนดดัชนีวัดประสิทธิผล เปนการกําหนดนิยามของหัวขอที่จะ แกไขปรับปรุงใหมีความหมายที่แนนอน ชัดเจน เปนรูปธรรม เพื่อให ผูเกี่ยวของเกิดความเขาใจที่ตรงกัน และทําใหการเก็บขอมูลทําไดอยาง ถูกตอง ( คลายกับเปนการกําหนดสูตรการวัด ) เชน % ของเสีย = % Breakdown =

จํานวนของเสีย x 100 จํานวนผลิตทั้งหมด จํานวนช.ม.ที่หยุดซอม x 100 จํานวนช.ม.ทีต่ องเดินเครื่อง

ตนทุนคาไฟฟา / หนวย =

% การ Claim สินคา =

คาไฟฟาในเดือนนั้น จํานวนผลิตในแตละเดือนนั้น จน.Lot ที่ถกู สงคืน x 100 จน.Lot ที่สงทั้งหมด

ระยะเวลาการออกงบการเงิน = จํานวนวันนับจากเริ่มเดือนใหมและนับ เฉพาะวันทํางาน

ขั้นตอนที่ 3 สืบสภาพปจจุบนั และตัง้ เปาหมาย 1. เก็บขอมูลเจาะลึกถึงสภาพปจจุบันของปญหาที่เลือก เชน ของเสีย เสียจากอาการใดบาง เปนตัวเลขเทาใด , ขอบกพรองหลักของการ ถูก Claim สินคาคืออะไร เปนตัวเลขเทาใด 2. แจกแจงหรือจัดกลุมการเก็บขอมูลตามความเหมาะสม เชน เก็บ ขอมูลของเสียตามรุนการผลิต หรือ ตามกะ หรือ ตาม Line ที่ผลิต ฯลฯ 3. ควรใชเวลาในการเก็บขอมูลนานพอสมควร เพื่อใหขอมูลเชื่อถือได เครื่องมือที่สามารถเลือกใชในขัน้ ตอนนี้ : ใบตรวจสอบ , กราฟ หรือ อื่น ๆ ตามความเหมาะสม

หลักการตั้งเปาหมาย ตอง “ SMART ” S = M= A = R = T =

Specific เจาะจงหัวขอเรื่องใหชัดเจน Measurable วัดคาเปนตัวเลขได Achievable สามารถสําเร็จไดจริง Reasonable สมเหตุสมผล Time Frame มีกรอบเวลาชัดเจน

ตัวอยางการกําหนดเปาหมาย -

ลด % ของเสียจากการผลิตใหไมเกิน 5% ภายในป 2002 ลดตนทุนคาไฟฟาตอหนวยผลิตภัณฑลง 10% ภายในป 2002 เพิ่มผลผลิตตอวันของเครื่องจักร A อีก 5% ภายใน ก.ย.ป 2002 ลด % Break Down ของเครื่องจักร ใหไมเกิน 15% ภายในป 2002 ลดเวลาการออกงบการเงินประจําเดือนของแผนกบัญชีเหลือไม เกิน 7 วันนับจากขึ้นเดือนใหม ตั้งแตเดือน ส.ค.2002 เปนตนไป

ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะหสาเหตุของปญหา - การวิเคราะห คือ การใชความคิดแยกแยะสาเหตุของปญหาอยาง ทะลุปรุโปรงจนถึงสาเหตุที่แทจริง ( Root Cause ) - ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่สําคัญที่สุด เนื่องจากการแกปญหาในขั้นตอน ตอไปจะไดผลหรือไมขึ้นกับคุณภาพของการวิเคราะหในขั้นตอนนี้ แนวทางการวิเคราะห 1. ใชแผนผังกางปลาชวย โดยแบงเปนสาเหตุหลักๆจาก คน , เครื่องจักรอุปกรณ , วัสดุการผลิต , วิธีการทํางาน และอื่นๆ

2. ประชุมสมาชิกเพื่อระดมสมองหาสาเหตุของปญหา โดยใชวิธี ตั้งคําถาม “ ทําไม ทําไม ” ซ้ําไปมาเพื่อเจาะลึกถึงสาเหตุที่แทจริง เชน ทําไมคาไฟฟาสูงผิดปกติ ทําไม ตองเดินเครื่องวันอาทิตย ทําไมตองผลิตทดแทนของเสีย ทําไมพนักงานทํางานผิดพลาด

ตองเดินเครื่องวันอาทิตย ผลิตทดแทนของเสีย พนักงานทํางานผิดพลาด ขาดการฝกอบรมที่ดี

3. คนหาสาเหตุที่สงผลตอปญหามาก อาจเก็บขอมูลยืนยันอีกครั้ง ถาจําเปน และนําสาเหตุดังกลาวไปวางมาตรการแกไขในขั้นตอน ตอไป

วิธี การทํางาน

พนักงาน

ไมมีความรู

ไมมีคมู ือการ start ที่ถูกตอง มอเตอรสายพาน Line C เดินตัวเปลา

Start เครื่อง จักรพรอมกัน ทุกเชา

เดินเครื่องจักรตัวเปลา

Line B หยุดซอมมอเตอร

ไมใสใจ

คาไฟฟา ที่สูงขึ้น หนวยการใชสูงขึ้น 10%

ตั้งอุณหภูมิตา่ํ เกินไป เครื่องทําความเย็น เดินไมหยุด

คาไฟฟาสูงขึ้น ขึ้นคา Ft 20 สตางค/หนวย

ทอลมรั่ว

ภาระของเครื่องมากขึ้น

คา Peak สูงขึ้น 200 kW

อัตราคาไฟฟา

เครื่องจักร วัตถุดิบมีความชื้นสูง เสียเวลาในการอบวัตถุดิบนาน วัตถุดิบคุณภาพต่าํ

วัตถุดิบ

ขาดการตรวจสอบ มอเตอรปมน้าํ แบริ่งแตก

เครื่องอัดอากาศ เดินไมยอมตัด ตัวปม ลมชํารุด อัดอากาศไมเต็มที่

ขั้นตอนที่ 5 คิดคนมาตรการแกไขและดําเนินการ 1. มาตรการแกไขตองเปนมาตรการที่ปองกันการเกิดซ้ําไมใชเปน การแกปญหาเฉพาะหนา 2. ระดมสมองคิดคนแนวทางและวิธีการแกปญหาใหไดมากที่สุด 3. ประเมินคัดเลือกวิธีการแกปญหาที่คิดคนไดจากขอ 2 โดยอาจ พิจารณาจาก - ประสิทธิผล : นาจะแกปญหาไดจริงโดยไมเกิดซ้ําอีก - ความเปนไปได : งบประมาณที่ตองใช ,ความยากงายในการปฏิบัติ 4. วางแผนปฏิบัติ 5W 1H : ใคร , ทําอะไร , ทําทําไม , ทําที่ไหน , ทําเมื่อ ใด และทําอยางไร

มาตรการแกไขปญหาคาไฟฟ าสู งขึ้น

คาไฟฟาสูงขึ้น

เดินเครื่องจักรตัวเปลา

เครื่องอัดอากาศ เดินไมยอมตัด

เสียเวลาในการอบ วัตถุดบิ นาน เกณฑในการใหคะแนน = ดี = พอใช X = ไมดี

จัดฝกอบรมพนักงาน

ตรวจสอบ ประสิทธิภาพ ของเครื่องอัดอากาศ ตรวจสอบ % การรั่ว ของอากาศอัดในระบบ ใชวตั ถุดบิ ทีม่ ี ความชืน้ ต่ําลง

. . .

วิธีการแกไข ใหมีการจัดฝกอบรม พนักงานประจําเครื่อง ตรวจสอบ ประสิทธิภาพของ เครื่องอัดอากาศทุกๆ 3 เดือน ตรวจสอบ % การรั่ว ของอากาศอัดใน ระบบทุกๆ เดือน ติดตอหา Supplier วัตถุดบิ รายใหม

คะแนนการประเมิน = 1 (ดีมาก) . = 4 (พอใชได) = 2 (ดี) . X = 5 (ไมคอ ยดี) = 3 (ดีพอประมาณ) . X = 6 (ไมด)ี

แนวปฏิบัติ

คะแนน

แนวทางแกไข

ความเปนไปได

สาเหตุที่จะแกไข

ผลประโยชน

การประเมิน ทําทําไม

ใครรับผิดชอบ ทําที่ไหน เมื่อ ใด

1

ใหพนักงานมี ความรูในการใช เครื่องจักร

นายทักษิณ

1

ลดเวลาการทํางาน ของเครื่องอัดอากาศ

นายเฉลิม

1

ลดเวลาการทํางาน ของเครื่องอัดอากาศ

นายชวน

2

ลดเวลาในการอบ วัตถุดบิ

นายอภิสิทธิ์

เครื่องจักรที่ 15 ก.ค. 2545 ใชอากาศอัด เครื่องอัด อากาศ

15 ก.ค. 2545

ระบบอากาศ 15 ก.ค. 2545 อัด ฝายจัดซื้อ

15 ก.ค. 2545

ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบประสิทธิผล 1. เก็บขอมูลที่ไดจากการดําเนินการตามมาตรการในขั้นตอนที่ 5 2. เปรียบเทียบขอมูลกอนและหลังการแกไข เปรียบเทียบกับขอมูล ในขั้นตอนที่ 1 และ 2 และเปรียบเทียบกับเปาหมายที่ตองการ 3. หากผลออกมาไมดีใหยอนกลับไปพิจารณาในขั้นตอนที่ 3 และ 4 ใหมเนือ่ งจากอาจเกิดความผิดพลาด 4. หากผลออกมาดีใหกําหนดเปนมาตรฐานการทํางานใหม

ขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานวิธีการทํางานใหม 1. จัดทําหรือแกไข Procedure , Work Instruction , แบบฟอรมใน การปฏิบัติงานที่จาํ เปนเพื่อเปนมาตรฐานการทํางานใหม 2. แจงหนวยงานที่เกี่ยวของใหรับทราบ ( Walk Through ) 3. อบรมผูปฏิบัติ ( On the Job Training “ OJT ” ) 4. ติดตามและควบคุมการปฏิบัตอิ ยางตอเนือ่ ง ( อาจเฝาติดตาม โดยใชแผนภูมิควบคุมชวย )

ขั้นตอนที่ 8 หาหัวขอที่จะปรับปรุงตอไป - หาหัวขอใหมหากหัวขอเดิมไดผลเปนที่นาพอใจแลว หรือ - ยังอยูท ี่เรื่องเดิม โดยเลือกอาการของปญหาตัวถัดไปมาทําตอ

การวิเคราะหปญหาเบื้องตน ปญหา รองเทา B-grade สูงเกินเปาหมายที่กําหนด (ผลิตภัณฑที่ไมเปนไปตามขอกําหนด) ปญหาเบื้องตน เกิดจาก 1. ขนาดรองเทาผิด Spec 2. พื้นมีตําหนิ 3. คราบโมลด 4. เสียรูปทรง 5. โมลดหนีบ 6. สายเปนรอง 7. เปนตําหนิ 8. เปอนสี

การวิเคราะหปญหาเบื้องตน เครื่องจักรไมสอดคลองกับกระบวนการผลิต

ขาดมาตรฐานการทํางาน

มาตรฐานเครื่องจักร

ํา

ก าร ต เคร รวจสอ ื่องจ บก ักรก ารท ับกร ํางาน ะบว ขอ นกา ง ร

ขาดการอบรม

ท ดจ ดั ไมไ

เครื่องจักรไมสามารถระบาย ความรอน EVA ได อง ข น ํางา การ ท น าร บก ร ะ บว อ วจส รกับก ร ต ัก การ รื่องจ เค

พนักงานขาดความรูในการปฏิบัติงาน

ขนาดรองเทาผิด Spec การนําเศษวัตถุดิบมาใช

การตรวจสอบไม 100 %

การจัดเก็บเม็ด EVA ไมดี

การตรวจสอบวัตถุดิบ

การควบคุมกระบวนการผลิต

ขั้นตอนการผลิต

คุณภาพวัตถุดิบไมดี

การวิเคราะหปญหาและแนวทางแกไข „

ปญหาวัตถุดิบ ปญหา

สาเหตุ

แนวทางแกไขปองกัน

1. การตรวจสอบวัตถุดิบ

- วัตถุดิบแตละ Lot ไมเหมือนกัน และไมไดทําการทดสอบทุก Lot

- ทําการทดสอบทุก Lot

2. การจัดเก็บเม็ด EVA คนละสูตรปะปนกัน

-

พื้นที่การจัดเก็บไมเพียงพอ - การชี้บง คัดแยกไมชัดเจน

-จัดทํา Layout

3. การนําเศษวัตถุดิบมาใช - ใหการใชวัตถุดิบเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด

ผูรับผิดชอบ คุณวิกิจ

พื้นที่การจัดเก็บ - จัดทําเอกสารชี้บงภาชนะที่ จัดเก็บ

คุณไพบูลย

- จัดทํามาตรฐานสําหรับสูตรที่ใช เศษวัตถุดิบ

คุณวิกิจ

การวิเคราะหปญหาและแนวทางแกไข „

ปญหาคน ปญหา

1. มาตรฐานการทํางานไมชัดเจน

2. พนักงานขาดความรูความ เขาใจในการปฏิบัติงาน

สาเหตุ

แนวทางแกไขปองกัน

- ทําการ Revise มาตรฐาน มาตรฐานที่ใชอยู งานใหม - จัดทําระบบการตรวจสอบ - ไมมีระบบการตรวจสอบพนักงานวา ปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนดหรือไม การปฏิบัติงานของพนักงาน -ไมมก ี ารยอนกลับไปตรวจสอบ

- พนักงานไมไดรับการอบรมอยาง ตอเนื่อง

- อบรมซ้ํา - นํามาตรฐานงานบรรจุเขา หลักสูตรการฝกอบรม ประจําป (Training Needs)

ผูรับผิดชอบ คุณวิกิจ คุณวิกิจ คุณวิกิจ คุณศุภวัฒก

„

การวิเคราะหปญหาและแนวทางแกไข

ปญหาเครื่องจักร ปญหา

1. ไมสามารถระบายความรอน ของ EVA ได

2. เม็ด EVA ที่ผลิตได ไมมี คุณภาพตามมาตรฐานที่ กําหนด

สาเหตุ -ไมทราบถึงอุณหภูมิทแ ี่ ทจริงวา

แนวทางแกไขปองกัน

สามารถระบายความรอนไดตาม มาตรฐานหรือไม -ไมมีระบบระบายความรอนที่ดีใน การผลิต

ตรวจสอบอุณหภูมิของ EVA สามารถระบายความรอนไดตาม ที่กําหนดหรือไม - ติดตั้งระบบลูกกลิง้ ระบายความ รอน

-พนักงานไมทราบถึงระบบการทํา

-

งานของเครื่องจักรและคําสั่งการ ใชงานที่ถูกตอง -ไมไดจัดทํามาตรฐานการทํางาน ของเครื่องจักรไว -ไมทราบวาเครื่องจักรมีขีดความ สามารถเพียงพอในการทํางาน หรือไม

-

ผูรับผิดชอบ คุณวิกิจ

คุณวิเชียรชัย

จัดทํามาตรฐานการปฏิบัติงานกับ คุณวิเชียรชัย เครื่องจักรใหสอดคลองกับผูปฏิบัติ - จัดทําแผนการตรวจสอบเครื่องจักร คุณวิเชียรชัย ประจําวัน/ประจําสัปดาห/ประจํา เดือน

การวิเคราะหปญหาและแนวทางแกไข „

ปญหาวิธกี าร ปญหา

1. พนักงานปฏิบัติงานจาก ประสบการณของแตละบุคคล

สาเหตุ -ไมมีวิธีการปฏิบัติงานเปนลายลักษณ

อักษรและใชเปนมาตรฐานเดียวกัน

2. พนักงานไมทราบวาวิธีการที่ - ไมมกี ารใหความรูกับพนักงานถึงวิธี ตนเองปฏิบัติอยูถูกตองหรือไม การปฏิบัติงานที่เปนมาตรฐานเดียวกัน -ไมมก ี ารประเมินผลการทํางานของ พนักงาน

แนวทางแกไขปองกัน

ผูรับผิดชอบ

- จัดทําคูมือการปฏิบัติงานที่ ถูกตอง - ใหพนักงานปฏิบัติงานตาม วิธีที่กําหนด

คุณประดิษฐ

- จัดอบรมใหความรูกับพนักงาน

คุณประดิษฐ

คุณดนัย

ถึงวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกตอง -ประเมินผลการปฏิบัติงานของ คุณประดิษฐ พนักงานเทียบกับมาตรฐานการ ทํางานที่กําหนดให -จัดอบรมซ้าํ ใหกับพนักงานที่ไม คุณประดิษฐ ผานการประเมิน คุณดนัย

รายงานผลการตรวจสอบ „

B-grade กอนการวิเคราะหแกไขปญหา = 8.6% (ตค.46)

WK

วันที่

จํานวน ตรวจสอบ

ขนาดผิด Spec

%

เครื่อง จักร

%

พนักงาน

%

สีเปอน

%

1

17-22/11/46

42711

1280

3.0%

281

0.7%

29

0.1%

153

0.4% 1743 4.1%

2

24-2-/11-46

43260

1668

3.9%

316

0.7%

164

0.4%

134

0.3% 2282 5.3%

3

1-6/12/46

38558

1284

3.3% 235

0.6%

148

0.4%

89

0.2% 1755 4.6%

รวม

%

18

More Documents from "somjit saranai"

May 2020 19
May 2020 22
May 2020 19
May 2020 11
Kaizen_qcc
May 2020 6