Importance Of The Center

  • Uploaded by: catcher-in-the-mist
  • 0
  • 0
  • December 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Importance Of The Center as PDF for free.

More details

  • Words: 769
  • Pages: 5
1

ความสําคัญของศูนยกลาง Gary Kasparov แปลโดย ศล ชอง e4, d4, e5 และ d5 ศูนยกลางของ กระดานเปนชองที่สําคัญมาก เพราะเปน เสมือนเนินเขาที่ใชมองภาพทั้งหมดของ สนามรบในเกมหมากรุก เปนทําเลที่สามารถ จูโจมเปาหมายไดทุกทิศบนกระดาน

+,,,,,,,,- ./ ./ ./ d5 e5 ./ d4 e4 ./ ./ ./ ./ 0111111112

คํากลาวที่วา ‘ยุทธการเพื่อศูนยกลาง’ ‘ควบคุมศูนยกลาง’ และ ‘ทําลายศูนยกลาง’ ลวนสะทอนถึงชวงศึกสงครามที่สําคัญมาก และเปนที่รูกันดีในหมูนักเลนหมากรุกผูมาก ประสบการณ การตอสูที่ศูนยกลางเริ่มตนตั้งแตการ เดินตาแรก โดยทั่วไปฝายที่ไดเปรียบ ศูนยกลาง (หรือครอบครองศูนยกลาง) มักจะ ไดรับโอกาสใหเลื่อนตัวหมากจากดานหนึ่ง ของกระดานไปยังอีกดานหนึ่งไดงายกวา สรางขอไดเปรียบในการบีบบังคับสถานที่ที่ การสูรบเปดฉาก หนึ่งรอยปที่แลวศึกสําหรับศูนยกลาง เปนสิ่งที่ไมอยูในความกังวลมากนักและมี ลักษณะการเลนแบบเปนสุภาพบุรุษ ขาว มักจะกระโจนเพื่อครอบครองศูนยกลางดวย เบี้ย และเตรียมพรอมที่จะสละชีพ กลอุบาย (Gambits) หรือการเปดหมากแบบสละชีพนี้ เปนสิ่งที่นิยมกันแพรหลายในสมัยนั้น

1 e4

e5

2 f4!

ef

ปจจุบัน นิยมตอบโตดวยอุบายซอน อุบาย 2 ... d5 3 ed 4 e4! แฝงไวดวย ยุทธการเพื่อศูนยกลาง

3 f3 วิลเฮลม ชไตนิทส (1836-1900) แชมปหมากรุกอยางเปนทางการคนแรกของ โลก ชอบเลน 3 d4 ยอมให 3 ... h4+ 4 e2 เขาเชื่อวาการไดเปรียบที่ศูนยกลางมี ความสําคัญยิ่งกวาการอารักขาคิง

3… 4 c4 5 0-0! 6 xf3 7 d3 8 c3 9 xf4 10 xh6 11 xf7+ 12 f6 13 af1

g5 g4 gf f6 h6

e7 d6 xh6 d8 g5

+,,,,,,,,- . / ." " / ."/ ./ . / . / .   / ./ 0111111112

นี่เปนหนึ่งในเกมที่เลนตอเนื่องโดย นักเลนหมากรุกผูยิ่งใหญชาวรัสเซีย Mikhail Chigorin ในป 1878 ขาวเสียสละตัวหมาก

2 เพื่อเปดฉากบุกกระหน่ํา ดวยความเหนือชั้น กวาในศูนยกลาง แสดงบทบาทที่เด็ดเดี่ยว ลองมาดูตัวอยางอีกหนึ่งเกมที่แสดง ใหเห็นกลยุทธในศูนยกลางที่เยี่ยมยอดจาก นักเลนหมากรุกคนสําคัญชาวอเมริกัน Paul Morphy (1837-1884) P. Morphy – J. Arnous de Riviere ปารีส 1863

1 e4 2 f3 3 c4 4 b4 5 c3 6 0-0 7 d4 8 cd 9 c3

e5

c6 c5 xb4 c5 d6 ed b6

+,,,,,,,,- . / ." " " / . "/ ./ . / . / .  / ./ 0111111112

ในเวลานั้นตําแหนงที่นาสนใจยิ่งนี้ เปนที่นิยมไมแพ Spanish ที่เปนที่นิยมใน ปจจุบัน ขาวไดเปรียบปูเบี้ยคูที่มีพลานุภาพ ในศูนยกลางจากการเสียสละเบี้ยหนึ่งตัว เบี้ย คูนี้ใชเปนเกราะเหนียวแนนชวยใหขาวระดม พลไดเทาที่จําเปน ในขณะเดียวกันมอรฟก็ เตรียมควบคุมอยางเขมแข็งที่ศูนยกลางของ ดํา เชน e5 (มีสองรุกปะทะสองรับ) และ โดยเฉพาะ d5 (รุกสามแตไมมีรับเลย)

ดําไมสามารถเลน 9 ... f6 เพราะ จะโดนบุกทันที 10 e5! de 11 a3! xd4 12 b3! e6 13 xe6 fe 14 xe6+

e7 15 xd4 ed 16 fe1!

+,,,,,,,,- ./ ." "" / ./ ./ ."/ ./ .  / ./ 0111111112

ตาที่ดีที่สุดของดํานาจะเปน 9 … g4 และ 10 b5 อาจจะตามดวย 10 ... d7 หรือ 10 ... f8 J. Arnous de Riviere ตอบโตดวยตาเดินที่เปนธรรมชาติ แตโชครายที่เปดโอกาสใหขาวใชอีกขอ ไดเปรียบหนึ่งของเบี้ยคูกลางกระดาน นั่นคือ ความสามารถในการเคลื่อนที่ ในความเปน จริง ถาเบี้ย e4 และ d4 เพียงแคยืนนิ่ง ๆ ที่ ศูนยกลาง เบี้ยคูนี้สรางสถานการณที่ดํา สามารถปรับตัวไดโดยไมยากเย็นอะไร แต เบี้ยแตละตัวสามารถเดินหนาได ดังนั้นพวก มันสรางสถานการณใหม ทําใหดําจะตอง หาทางปองกัน ซึ่งถือวาเปนเรื่องที่ยากกวา ดวยเหตุนี้ ‘ศูนยกลางที่เคลื่อนที่’ ที่สรางจาก เบี้ยคูจึงเปนตัวประกอบสําคัญสําหรับประเมิน โอกาสของทั้งสองฝายในศึกที่กําลังจะ เกิดขึ้นตอไปภายภาคหนา

9 ... 10 d5 11 f4! 12 e5!

f6 g6 f6

เดินเบี้ยกลางบุกขึ้นไปสราง สถานการณใหดําที่กําลังพัฒนาตัวหมากตอง หยุดชะงักหันมาปกปองคิงจากการคุกคามที่

3 แทจริง นี่เปนภารกิจที่ไมงายเลย เพราะ หมากของฝายดําสวนมากยังติดอยูที่ จุดเริ่มตน สภาวะดังกลาวขาวใชความ ไดเปรียบจากจํานวนหมากพรอมรบที่ มากกวาดําเนินการที่เปนปกติธรรมดา นั่นคือ เปดศูนยกลาง (เคลียรเบี้ยของตัวเองและ ฝายตรงขาม) เพื่อใหอิสระกับตัวหมากของ เขา เมื่อศูนยกลางเปด ตัวหมากหลักจะมี บทบาทเพิ่มขึ้นอยางมาก และตําแหนงของ พวกมันถือวามีความสําคัญยิ่งยวด ตอนนี้ตอง อาศัยการคํานวณจังหวะเวลาที่แมนยําเปน พิเศษและใชความคิดที่เฉียบขาด

13 de

f5

(หมายเหตุ ในตนฉบับ Kasparov ไมได แสดงตาเดินทีที่ 12 ของฝายดํา แตจากตา เดินทีที่ 13 ของฝายขาว ทําใหเรารูวา 12 ... de – ผูแปล) แนนอนวาดําไมอาจเลน 13 ...

xe5? 14 xe5 xe5? 16 e1 ควีน ตาย แตเบี้ย e ยังเดินหนาตอ (14 e6)

คาของเบี้ยตัวนี้เพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ สิ่งที่ ขาวตองทํามีเพียงหาทางยับยั้งไมใหคิงดํา หลบหนีเขาริมกระดาน

15 h4 16 e3!

c5 g5

ถา 16 … xc4 ขาวเลน 17 h5+

17 f3 18 xb6 19 d5 20 d2!

a5 xb6 a5

คราวนี้ดําไมสามารถทําอะไรเพื่อ ปองกันภัยคุกคามเรือ d8 ไดเลย หลังจาก 21 b3 และ 22 xc7+ และที่อันตรายไม นอยไปกวากันคือ h5+ บทอวสานใกลเขา มาทุกที

20 ... 21 b3 22 ab 23 h5+

d4

xb3 c5 d8

+,,,,,,,,- . / ." " " / ถาฝายดําเดิน 23 ... g6 24 xf6+ .  / ./ จะเสียควีน ./ 24 ad1 . / +,,,,,,,,- .  / .  / ./ ." "" / 0111111112 . "/ 14 … f6 . / ถาดําเลน 14 ... fe ซวยแน เพราะ ./ 15 xe6 xe6 16 xe6! f6 17 . / d7+ f8 18 b2! (นี่เปนเหตุผลวา . / ทําไมเบี้ยตองไมยืนขวางบนชอง e5) 18 … xb2 19 f7 จน ตอนนี้เบี้ย e6 ผากลาง ./ ตําแหนงของดําออกเปนสองสวนและถือวา 0111111112

4 ไมอาจหนีพนเงื้อมมือยมทูตจากการ เปดรุก (25 b6+ เปดมาออกจากแนว d รุกคิงดําดวยเรือขาว) ดังนั้นฝายดํายอมแพ สิ่งสําคัญคือแตละฝายจะตองให ความสนใจกับการกอรางสรางตัวของเบี้ย กลางกระดานและเพื่อพยายามที่จะรักษา ความเหนือชั้นกวาของเบี้ยเอาไว ในบางครั้งเกิดกรณีที่เหลือเบี้ยเพียง ตัวเดียวในศูนยกลาง กรณีนี้ทําใหเกิดปญหา ใหมขึ้นมา เชน จะยึดครองหนาดานใน ศูนยกลางที่บอยครั้งยอมใหใชตัวหมากเพื่อ ฉกฉวยขอไดเปรียบเหนือคูตอสูไดอยางไร T. Petrosian – Kozma มิวนิก 1958

1 f3 2 d4 3 g5 4 e3

f6 e6 c5 b6?!

การเปดเกมที่ดูจริงใจไมโออวดของ ขาวลดความระมัดระวังของดํา และตอมา ดู เหมือนเดินไปตามธรรมชาติ ปลอยใหคูตอสู ยึดครองหนาดานในตําแหนงศูนยกลางดวย ตัวหมาก

5 d5! 6 c3 7 xd5! 8 xf6 9 xd5

ed b7 xd5 xf6

       

+,,,,,,,,- ./ ."  " / ."/ ."/ ./ . / .   / ./ 0111111112

ขาวยึดชอง d5 อยางเหนี่ยวแนน เพราะดําไมสามารถขับไลควีนออกจาก ตําแหนงนี้ไดภายในไมกี่ที ในขณะเดียวกัน จุดออนแนว d ของดําจะคงอยูตลอดไปและ อาจจะมีความสําคัญมากเสียดวย นักเลนหมากรุกที่มีประสบการณจะไม เริ่มตนดําเนินการรุกรานบนดานขางกอนหยั่ง รากลึกในศูนยกลาง รูปดานลางนี้ ขาวเริ่มเดินเบี้ยโจมตี ฝงคิง ไมไดเดินตาที่จําเปนคือ c3 การเดิน แบบนี้โดยตัวของมันเอง มันไมวางทา คุกคามอะไรมากมายนัก แตในเกมที่เลน ระหวาง Neergard กับ Simagin (ทาง จดหมายในป 1964) ดําแสดงใหเห็น อันตรายรายแรงตอขาว (!) อยางนาทึ่งมาก

+,,,,,,,,- ./ ."    / ." / ."/ .   / .  / .  / ./ 0111111112 1 ...

b5!!

5

2 cb 3 ed 4 xe4

d5!! e4!

ถาเลน 4 fe จะตามดวย 4 ... e5! แตสภาพขาวตอนนี้ก็อึดอัดเต็มที

4 ... 5 f4 6 f2 7 g2 8 a4 9 d2

xg4 h5

e5 d6 c8! f6

เดินเพียงไมกี่ทีปราการที่ดูประหนึ่ง แข็งแกรงของขาวก็สั่นคลอนหลังจากการ ถากถางศูนยกลางแบบถูกกาลเทศะ

+,,,,,,,,- ./ ."  / . / .  / ./ .  / .  / ./ 0111111112 เกมดําเนินตอ

10 g5 11 f4 12 h3

f5 xf3

ถา 12 xf3 xf3 13 xf3 ทําให 13 ... c3+ 14 f2 c5+ 15 f1 f3+ 16 g2 g4+ ตามลําดับ

12 …

g4

13 g2

และฝายขาวยอมแพ

c2

กรณี 13 hd1 xh3+ 14 xh3 f3+ หรือ 13 f2 xf2+ 14 xf2

d3+ ไมผิดไปจากนี้ ดังนั้นพยายามควบคุมจัตุรัสกลาง ปกปองศูนยกลางและมอบคุณคาใหกับมัน อยางรักใคร!

Related Documents