How To Biz Plan

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View How To Biz Plan as PDF for free.

More details

  • Words: 1,143
  • Pages: 13
การเขียนแผนธุรกิจ

http://www.smebank.co.th

การเขียนแผนธุรกิจ แผนธุรกิจ เปนเครื่องมือที่มีความสําคัญยิ่งสําหรับผูประกอบการที่ริเริ่มจะกอตั้ง กิจการ แผนนี้เปนผลสรุปหรือผลรวมแหงกระบวนการคิดพิจารณา และการ ตัดสินใจทีจ ่ ะเปลี่ยนความคิดของผูประกอบการออกมาเปนโอกาสทางธุรกิจ แผนธุรกิจ เปรียบเหมือนแผนที่ในการเดินทางที่จะชวยชี้แนะขั้นตอนตาง ๆ ที ละขั้นตอนในกระบวนการกอตั้งกิจการ แผนจะใหรายละเอียดตาง ๆ ทั้งในเรื่อง การตลาด การแขงขัน กลยุทธการดําเนินธุรกิจ การคาดคะเนทางการเงิน ที่จะ ชี้นําผูประกอบการไปสูความสําเร็จ หรือชี้ใหเห็นถึงจุดออนและขอควรระวัง แผนธุรกิจควรมีอะไรบาง แผนธุรกิจที่ดียอมชวยในการวัดถึงความเปนไปไดของกิจการที่จะลงทุน ตัวแผน จึงควรประกอบดวยการวิเคราะหอยางละเอียดในตัวแปรหรือปจจัยดังตอไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

สินคาหรือบริการที่จะขาย กลุมลูกคาที่คาดหวัง จุดแข็งและจุดออนของกิจการที่จะทํา นโยบายการตลาด วิธีการหรือกระบวนการในการผลิต รวมถึงเครื่องจักรอุปกรณที่ตองใช ตัวเลขทางการเงิน นับตั้งแตรายไดที่คาดวาจะได คาใชจาย กําไร ขาดทุน จํานวนเงินลงทุนที่ตองการ และกระแสเงินสดที่คาดวาจะไดมา หรือใชไป

http://www.smebank.co.th

แผนธุรกิจที่ดี เมื่ออานแลวจะตองตอบคําถามเหลานี้ได 1. การกอตั้งธุรกิจเปนรูปรางชัดเจนขนาดไหน เสร็จสมบูรณแลวหรือยัง 2. ธุรกิจนี้นาลงทุนหรือไม 3. ธุรกิจมีแนวโนมหรือโอกาสที่จะประสบความสําเร็จตั้งแตเมื่อแรกตั้ง มากนอยขนาดไหน 4. ธุรกิจนี้มีความไดเปรียบหรือความสามารถในการแขงขันในระยะยาว มากนอยเพียงใด 5. สินคาที่จะผลิตมีวิธีการผลิตที่มีประสิทธิภาพเพียงใด 6. สินคาที่ผลิตสามารถวางตลาดไดอยางมีประสิทธิภาพเพียงใด 7. วิธีการผลิตและการวางตลาดสินคานัน ้ มีทางเลือกอื่น ๆ ที่ประหยัดได มากกวาหรือไม 8. หนาที่ตาง ๆ เชน การผลิต การจําหนาย การจัดการทางการเงิน การ จัดการคน มีการจัดการที่ดีและหมาะสมเพียงใด 9. จํานวนและคุณภาพของพนักงานที่ตองการมีเพียงพอหรือไม แผนธุรกิจเปนสิ่งสําคัญที่ผูประกอบการ SMEs จะตองคํานึงถึงเปนอันดับแรก ซึ่ง แผนดังกลาวจะเปนประโยชนตอ  การดําเนินงานในอนาคตของผูบริหารและ ผูปฏิบัติงานในองคกร รวมทั้งเปนประโยชนแกสถาบันการเงินและนักลงทุน ภายนอกที่จะเปนแหลงเงินทุนใหแกกิจการในอนาคตได โดยปกติแผนธุรกิจจะบอก ใหเราทราบวาปจจุบันเราเดินอยู ตรงไหน อนาคตจะไปอยูที่ใด ดวยวิธีการอยางไร โดยทั่วไปองคประกอบของแผนธุรกิจจะประกอบไปดวย10 หัวขอหลัก ดังนี้ 1. บทสรุปสําหรับผูบริหาร เปนสวนที่สรุปใจความสําคัญ ๆ ของแผนธุรกิจทั้งหมด และตองเปน เอกสารที่สมบูรณในตัวเอง (Stand alone document) โดยจะชีใ้ หเห็นประเด็นที่มี ความสําคัญ คือ จะชี้ใหเห็นวามีโอกาสจริงเกิดขึ้นไดในตลาดสําหรับ ธุรกิจที่กําลังคิดจะทํา และชี้ใหเห็นวา สินคาและบริการที่จะทํานั้น สามารถใช โอกาสในตลาดใหเปนประโยชนไดอยางไร ดังนั้นบทสรุปจึงมีความจําเปนตอง เขียนใหเกิดความนาเชื่อ หนักแนน มีความเปนไปได เนื่องจากบทสรุปของผูบริหารเปนเพียง "บทสรุป" จึงตองเขียนใหสั้น กระชับ และกะทัดรัด (ไมควรเกิน 2 - 3 หนา) และเปนสวนสุดทายในการเขียน แผนทังหมด เนื้อหาในบทสรุปของผูบริหารควรไดกลาวถึง - จะทําธุรกิจอะไร มีแนวคิดเกี่ยวกับธุรกิจนั้นอยางไร โดยอธิบายใหเห็น ถึงความสําคัญของสินคาและบริการ - โอกาสและกลยุทธ บอกถึงความนาสนใจ ตลอดจนแนวโนมของธุรกิจ ที่ จะแสดงวาโอกาสทางการตลาดนั้นเปดทางให - กลุมลูกคาเปาหมาย อธิบายถึงลักษณะทางการตลาด กลุมลูกคาหลัก http://www.smebank.co.th

การวางแผนการเขาถึงลูกคา - ความไดเปรียบเชิงการแขงขันของธุรกิจ รวมถึงทางดานตัวผลิตภัณฑ และความไดเปรียบตอคูแขงขัน - ทีมผูบริหาร สรุปถึงความรู ความสามารถ ประสบการณ และทักษะ ควร จํากัดไมเกิน 3 - 5 คน และเปนผูที่มีผลกระทบตออนาคตและความสําเร็จ ของธุรกิจ - แผนการเงิน/การลงทุนโดยระบุถึงเงินลงทุน จะทําอะไร ผลตอบแทน ของการลงทุน จะเปนเทาไร 2. ประวัติกิจการ / ภาพรวมของกิจการ ในสวนนี้เปนการใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับความเปนมาของการกอตั้ง / จดทะเบียน ตลอดจนแนวคิด และการเล็งเห็นโอกาสทางการตลาด การคิดคนการ พัฒนาผลิตภัณฑ ทีจ ่ ะนําเสนอใหกับลูกคากลุมเปาหมาย และควรใหขอมูลเกี่ยวกับ เปาหมายในระยะยาวที่ตองการจะเปนในอนาคต 3. การวิเคราะหสถานการณ การวิเคราะหสถานการณที่เรียกกันวา “SWOT ANALYSIS” แบง ออกเปน 2 สวน คือ 3.1 การวิเคราะหปจจัยภายใน เปนการตรวจสอบความสามารถ ความพรอม ของกิจการในดานตาง ๆ โดยมุงเนนในสวนที่เปนจุดแข็ง (Strengths) และ จุดออน (Weaknesses) ของกิจการ 3.2 การวิเคราะหปจจัยภายนอก เปนการประเมินสภาพแวดลอมที่ ผูประกอบการไมสามารถควบคุมหรือเปลี่ยนแปลงได ในลักษณะที่เปน โอกาส (Opportunities) หรืออุปสรรค(Threats)ในสถานการณปจจุบัน ผูประกอบการควรไดเริ่มวิเคราะหสถานการณดวยการวิเคราะหปจจัย ภายนอกเนื่องจากเปน ปจจัยทีผ ่ ูประกอบการไมสามารถควบคุมได โดยทั่วไปปจจัยภายนอกที่มีความสําคัญที่ผูประกอบการควรจะตองใหความ สนใจ มี 7 ประการ สามารถเรียกงาย ๆ วา "MC-STEPS" โดยมีความหมาย พอสรุปได ดังนี้

http://www.smebank.co.th

M = Market คือ กลุมลูกคาเปาหมาย C = Competition คือ สถานการณการแขงขัน S = Social คือ คานิยมทางวัฒนธรรมของสังคม เชน การใช สินคาที่มียห ี่ อ T = Technology คือ ความกาวหนาทางเทคโนโลยี E = Economic คือ สถานการณ P = Political & Legal คือ สถานการณของการเปลี่ยนแปลงเรื่อง กฎ ระเบียบตาง ๆ S = Suppliers คือ กลุมผูจําหนายวัตถุดบ ิ / กลุมผูผลิตและ เครือขาย 4. วัตถุประสงค และเปาหมายทางธุรกิจ เปนผลลัพธทางธุรกิจที่กิจการตองการไดรับในชวงระยะเวลาของการจัดทํา แผน โดยทั่วไปเปาหมาย ธุรกิจแบงออกเปน เปาหมายโดยรวมของกิจการ และเปาหมายเฉพาะดานในแตละ แผนก/ลักษณะของงาน นอกจากนี้เปาหมายทางธุรกิจยังควรแบงเปน เปาหมายระยะสั้น ในชวง ระยะเวลา 1 ป เปาหมายระยะ ปานกลาง ระยะเวลา 3 - 5 ป และเปาหมายระยะยาว ที่นานกวา 5 ป ลักษณะเปาหมายธุรกิจที่ดี ประกอบไปดวย 4.1 ความเปนไปได หมายถึง กิจการมีโอกาสที่จะบรรลุเปาหมาย 4.2 สามารถวัดผลไดอยางเปนรูปธรรม คือ ความชัดเจนที่สามารถประเมิน ไดวากิจการบรรลุตามเปา หมายแลวหรือไม 4.3 เปนไปในทางเดียวกัน คือ เปาหมายยอย ๆ ในแตละฝาย ควรมีลักษณะ ที่สอดคลองกัน 5. แผนการตลาดและการวิจัย แผนการตลาด ในการทําธุรกิจนั้น สิ่งที่สําคัญที่สุดคือมุมมองทางดานการตลาด ผูประกอบการจะตองหาใหได หรือมอง ใหออกวาผูบริโภคตองการอะไร แลวผลิตสินคาหรือบริการเพื่อสนองความตองการ นั้น กําไรที่เกิดขึ้นนั้นคือผลงาน จากการทําใหผูบริโภคไดรับความพึงพอใจสูงสุด แผนการตลาดเปนจุดเริ่มตนของธุรกิจวาจะมีความเปนไปไดแคไหน โดยทั่วไปจะเปนการวิเคราะห เพื่อกําหนดแผนการตลาด ดังนี้ 5.1 กําหนดขอบเขตธุรกิจหรือขอบเขตการตลาด (Market Definition) http://www.smebank.co.th

ดังนี้

5.2 การวิเคราะหอุตสาหกรรม (Industry Analysis) มีองคประกอบที่สําคัญ - วิเคราะหลูกคา - วิเคราะหคูแขง - วิเคราะหตนทุน - วิเคราะหแนวโนม สวนใหญ 5.3 การแบงสวนตลาด (Market Segmentation) โดยทั่วไปจะนิยมแบงสวนตลาดใน 4 ลักษณะ ดังนี้ ภูมิศาสตร

- ภาค - ในเมืองหรือชนบท

ประชากรศาสตร - อายุ - เพศ - รายได

จิตวิทยา

พฤติกรรม

- รูปแบบการดําเนินชีวิต - โอกาสซื้อบอยแคไหน - ชัน ้ วรรณะ สูง กลาง ต่าํ - ความภักดีตอสินคา

กลยุทธทางการตลาด โดยทั่วไปการวางแผนทางดานการตลาด มักจะมี ขั้นตอนงาย ๆ เรียกวา STP&4P’s ดังนี้ 1. S มาจาก Segmentation คือ การแบงสวนตลาด ดังไดกลาวไวแลวใน หัวขอ 5.3 2. T มาจาก Targeting คือ การกําหนดลูกคาเปาหมายวากลุมไหนที่เรา จะเลือก โดยทั่วไปเรา 3. P มาจาก Positioning คือ การสรางภาพพจนในใจของลูกคา 4. 4 P’s มาจากสวนผสมที่ลงตัวในโปรแกรมทางการตลาด 4 ตัว เปรียบเสมือนแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ทางการตลาด ดังนี้ 4.1 Product คือ สินคา/บริการ 4.2 Price คือ ราคา 4.3 Place คือ ชองทางการจําหนาย 4.4 Promotion คือ การสงเสริมทางการตลาด นอกจากสวนประสมทางการตลาด 4 P’s ที่กลาวมาแลว ยังมี 4 C’s ซึ่งถือ ไดวาเปนสวนประสมทางการตลาดยุคใหมที่มองทางดานความตองการของ ผูบริโภคและควรที่จะตองนํามาใชรวมในแผนปฏิบัติการทาง การตลาดดวย ดังนี้

http://www.smebank.co.th

5. 4 C’s 5.1 Consumer Need คือ ผลิต/ขายสินคาตามความตองการของลูกคา 5.2 Customer Benefits คือ ผลประโยชนที่ลูกคาจะไดรับ 5.3 Convenience คือ เปนสินคาที่สะดวก 5.4 Communication คือ การรับรูขาวสารสินค การวิจัย การวิจัยคือจุดเริ่มตนสําหรับการตลาด หากไมทําวิจัยกอนก็เหมือนกับ บริษัทนั้น ๆ เขาสูตลาดเหมือน คนตาบอด การวิจัยทําใหบริษัทตระหนักวา โดยปกติแลวผูซื้อในตลาดหนึ่ง ๆ จะมี ความตองการ ความเขาใจ และความชอบตางกันไป เชน ผูหญิงตองการรองเทาที่ ตางจากผูชาย คนอวนตองการรองเทาตางจากคนผอม และเมื่อแฟชั่นเขาสูตลาด รองเทา ความชอบก็จะยิ่งขยายวงกวางออกไป ซึ่งเปนผลจากความแตกตางดาน รายได การศึกษาและรสนิยม 6. แผนการบริหารจัดการและแผนการดําเนินงาน เปนการกําหนดโครงสรางองคกร และผูบริหารที่สอดคลองกับแผนการ ดําเนินธุรกิจดานอื่น ๆ ของ กิจการ มีแผนดานทรัพยากรบุคคลที่ดี ในสวนนีจ ้ ะ ประกอบไปดวยหัวขอดังตอไปนี้ 6.1 สถานที่ตั้ง 6.2 โครงสรางองคกร และทีมผูบริหาร 6.3 แผนดานบุคลากร จํานวน เวลาทํางาน คาตอบแทน ความรู ความสามารถ ทักษะ 6.4 เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ – ซื้อ เชา เชาซื้อ 7. แผนการผลิต/ปฏิบัติการ แผนการผลิตและปฏิบัติการที่ดต ี องสะทอนความสามารถขององคกรใน "การจัดการกระบวนการผลิตและปฏิบัติการใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล" เพื่อ เพิ่มศักยภาพในการแขงขันใหกับธุรกิจ โดยมุงเนนประเด็นการจัดการไปยัง กระบวนการแปลงสภาพวัตถุดิบและทรัพยากรในการผลิต ในการวางแผนปฏิบัติการ ผูประกอบการตองพิจารณาตัดสินใจในเรื่องที่ เกี่ยวของกับการผลิตตามประเด็นที่สําคัญ คือ 7.1 คุณภาพ 7.2 การออกแบบสินคาและบริการ 7.3 การออกแบบกระบวนการผลิต และการตัดสินใจเรื่องกําลังการผลิต 7.4 การออกแบบผังของสถานประกอบการ 7.5 การออกแบบระบบงาน และวางแผนอัตรากําลังคนในกระบวนการผลิต

http://www.smebank.co.th

โดยการพิจารณาถึงรายละเอียดของระบบงานเปนการจัดลําดับความสําคัญ กอนหลังในกระบวนการผลิต การใชเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ และการใช อัตรากําลังคนที่เหมาะสม สําหรับหนาที่ตาง ๆ คุณสมบัติของ พนักงานทัง้ ทางดานความรู ความสามารถ ทักษะ 8. แผนการเงิน เมื่อมีการกําหนดแผนการตลาด แผนการบริหารจัดการ และแผนการผลิตได แลว ที่สําคัญที่สุดคือตองมีแผนการเงินมารองรับ เนื่องจากในทุกกิจกรรมตองใช เงินทั้งนั้น ในทายที่สุดของแผนธุรกิจจะตองมีแผนการเงินที่ดี โดยทั่วไปจะมี สวนประกอบที่สําคัญ ดังนี้ 8.1 สมมุติฐานทางการเงิน เปนการกําหนดปจจัยหลัก ๆของการ ดําเนินงานเพื่อประมาณการทางการเงินไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปมีดังนี้ 1) ยอดขาย เปนสิ่งสําคัญที่สุดที่มาจากแผนการตลาดที่วางไว 2) ตนทุนขาย ควรจะมาจากแผนการผลิตที่วางไว 3) คาใชจา ยในการขายและบริหารมาจากแผนบุคลากร และกิจกรรม พัฒนาและสงเสริมการขายตาง ๆ 4) คาใชจา ยดอกเบี้ย ประเมินจากอัตราดอกเบี้ย และวงเงินกูเดิมกับวงเงิน กูที่จะขอเพิ่มมาใหม 5) สินทรัพยและคาเสื่อม มาจากประมาณการที่จะลงทุนในอนาคต เพื่อ ขยายกิจการและวิธีการคิดคาเสือ ่ ม 6) สินคาคงคลัง ประมาณการระดับสินคาคงคลังที่เหมาะสม 7) ลูกหนี้การคา ประมาณการระยะเวลาระหวางการขายสินคา และการเก็บ เงินไดจากการขาย 8) เจาหนี้การคา ประมาณการระยะเวลาสั่งซื้อของ และจายเงินใหเจาหนี้ 8.2 ประมาณการทางการเงิน เปนการประมาณการงบการเงินและการ วิเคราะหอัตราสวนตามสมมุติฐานที่วางไว ประกอบไปดวย งบกําไรขาดทุน คือ งบที่แสดงถึงผลการดําเนินงานของบริษัทตลอดงวด ระยะเวลาบัญชโดยทั่วไปจะกําหนดใหเปนรอบ 1 ป หรือราย 6 เดือน งบกําไร ขาดทุน ประกอบดวย รายการหลัก 3 รายการ คือ 1) ยอดขายหรือรายได 2) คาใชจา ยตาง ๆ หรือตนทุน 3) ผลตางของตัวเลขดังกลาว ซึ่งก็คือ กําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ

http://www.smebank.co.th

งบดุล คือ งบที่แสดงถึงฐานะการเงิน ภาระผูกพันในการชําระหนี้ และจํานวน ทุนของบริษัท ณ วันใดวันหนึ่งเทานั้น ซึ่งสวนใหญจะเปน ณ วันสิ้นงวดของรอบ ระยะเวลาบัญชี งบดุลประกอบดวยรายการหลัก ๆ 3 รายการ คือ สินทรัพย หนี้สิน และทุน หรือสวนของเจาของ งบกระแสเงินสด (Cash Flow) คือ งบแสดงการเคลือ ่ นไหวของเงินสด โดย จะแสดงถึงรายการไดมาและใชไปของเงินสดหรือสิง่ ที่เทียบเทาเงินสดใน 3 กิจกรรมหลัก ๆ คือ - เงินสดทีไ ่ ดจากการดําเนินงาน - จากการจัดหาเงินทุน - จากการลงทุน ดังนั้นความสามารถในการบริหารเงินสดของบริษัท และสภาพคลองทาง การเงิน จะดูไดจากงบกระแสเงินสด โดยงบกระแสเงินสดที่ดค ี วรเปนเงินสดที่ไหล เขามาจากการลงทุนมากที่สุดรองลงมาจากการดําเนินงานและจากการจัดหา เงินทุนนอยที่สุด งบกระแสเงินสดควรจะทําเปนรายเดือน รายไตรมาส รายป และ อาจจะทําลวงหนาไปหลายป ทั้งนี้แลวแตความเหมาะสมของกิจการเพือ ่ ที่จะทําให รูถึงสถานะปจจุบันและแนวโนมในอนาคตของกิจการนัน ้ ๆ การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน แบงออกไดเปน 4 สวนหลัก ดังนี้ 1. สภาพคลอง 1.1 อัตราสวนเงินทุน หมุนเวียน (Current Ratio) 1.2 อัตราสวนสินทรัพย คลองตัว (Quick Ratio)

=

สินทรัพยหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน

=

สินทรัพยหมุนเวียน - สินคา คงเหลือ หนี้สินหมุนเวียน

2. ประสิทธิภาพในการใชสินทรัพย 2.1 อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ (Receivable Turnover) 2.2 อัตราหมุนเวียนของสินคา (Inventory Turnover)

=

ขายเชื่อสุทธิ ลูกหนี้เฉลี่ย

=

ตนทุนสินคาขาย สินคาคงเหลือ เฉลี่ย http://www.smebank.co.th

2.3 ระยะเวลาเรียกเก็บหนี้ (Receivable Turnover Period) 2.4 ระยะเวลาสินคาคงเหลือ (Inventory Turnover Period)

=

365 x ลูกหนี้ ยอดขาย

=

365 x สินคา คงเหลือ ตนทุนขาย

3. ความสามารถในการบริหารงาน 3.1 อัตราผลตอบแทนจาก สินทรัพยทงั้ หมด = (Return On Assets : ROA ) 3.2 อัตราผลตอบแทนจากสวน = ของผูถือหุน (Return On Equity : ROE) 3.3 อัตรากําไรจากการ ดําเนินงาน (Operating Income Margin) 3.4 อัตรากําไรขั้นตน (Gross Profit Margin)

=

=

กําไรสุทธิ x 100 สินทรัพยทงั้ หมด

กําไรสุทธิ x 100 สวนของผูถือหุน ทั้งหมด กําไรจากการดําเนินงาน x 100 ยอดขาย กําไรขั้นตน x 100 ยอดขาย

http://www.smebank.co.th

4. ความสามารถในการชําระหนี้ 4.1 อัตราสวนแหงหนี้ (Debt Ratio)

หนี้สินรวม สินทรัพยรวม

=

หนี้สินทั้งหมด สวนของผูถือ หุน

4.2 อัตราสวนแหลงเงินทุน = (Debt to Equity Ratio)

4.3 อัตราสวนความสามารถจาย ดอกเบี้ย (Interest Coverage Ratio)

=

กําไรกอนดอกเบี้ยและ ภาษี ดอกเบี้ยจาย

8.3 การประเมิณสถาณการณจําลอง เมื่อจัดทํางบประมาณทางการเงินแลว ลําดับตอไปจะทําการประเมิน สถานการณจําลองเปนการ วิเคราะหความไวตอสถานการณเมื่อเกิดมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นในอนาคต จะขอ ยกตัวอยางการประเมิน สถานการณอยู 3 ลักษณะ ดังนี้ กรณีที่ดี เชน ยอดขาย 20 % คาใชจาย 20 % เพิ่ม ลด กรณีปกติ เชน ยอดขาย 10 % คาใชจาย 10 % เพิ่ม ลด กรณีแย เชน ยอดขาย 20 % คาใชจาย 20 % ลด เพิ่ม ซึ่งทําใหทราบถึงผลกระทบของตัวแปรที่เปลี่ยนแปลงไปวาจะมีผลตอ โครงการอยางไร เชน จะเกิดอะไรขึ้นถายอดขายลด 20% และคาใชจายเพิ่ม 20% 8.4 การวิเคราะหระยะเวลาคืนทุน บอกถึงสภาพคลองของโครงการ หมายถึง ระยะเวลาทั้งหมดที่จะตองใชไป ในการที่จะเปลี่ยนสินทรัพยที่ ลงทุนไปนัน ้ กลับมาเปนเงินสดอีกครั้งหนึง่ ระยะเวลาคืนทุนที่สน ั้ กวาจะบอกถึง สภาพคลองที่ดีกวา และมีความเสี่ยงที่ต่ํากวา แตอยางไรก็ตามเกณฑระยะเวลาคืน ทุนนี้ มีจุดออนอยูที่การไมคํานึงถึงคาของเงินตามเวลาหรือกระแส http://www.smebank.co.th

เงินที่เกิดขึ้นตางเวลากัน เกณฑนี้นํามารวมกันที่หาระยะเวลาคืนทุนโดยทันที และ การไมนํากระแสเงินสดทุกจํานวนที่เกิดจากโครงการมาพิจารณาความเปนไปได ของโครงการ จะพิจารณาเฉพาะกระแสเงินสดที่จําเปนสําหรับการไดคืนทุนเทานั้น รวมทั้งเกณฑนี้จะไมเปนธรรมสําหรับโครงการระยะยาวที่มีผลกําไรหลายป ใน อนาคตจะใหน้ําหนักความสําคัญเปนพิเศษกับโครงการระยะสั้นเปนหลัก ระยะเวลาคืนทุน หมายถึง ระยะเวลาทั้งหมดที่โครงการจะใหกระแสเงินสด สุทธิรวมเทากับเงินลงทุนที่จายเริ่มแรกพอดี 8.5 การวิเคราะหจุดคุมทุน การเริ่มตนธุรกิจใหมจะตองทําการวิเคราะหถึงความเปนไปไดในการลงทุน โดยการคํานวณหาจุดคุมทุนของธุรกิจกอน ซึ่งการวิเคราะหจุดคุม  ทุนสวนใหญจะ ใชกําไรสวนเกินเปนหลักในการวิเคราะหโดยพิจารณาจํานวนสินคาที่ขายเปน จํานวนเทาใด จึงจะมีรายไดเทากับคาใชจาย จํานวนหนวยขาย ณ จุดคุมทุน

=

ตนทุนคงที่ ราคาขายตอหนวย – ตนทุนผัน แปรตอหนวย

หมายเหตุ ตนทุนผัน แปร ตนทุน คงที่

หมายถึง ตนทุนรวมที่ผันแปรตามจํานวนหนวยที่ผลิตหรือ ขายได หมายถึง ตนทุนรวมที่ไมเปลี่ยนแปลงตามจํานวนหนวยที่ ผลิตในระหวางชวงการผลิตหรือชวงการขาย ชวงหนึ่ง

8.6 การวิเคราะหมูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) เปนการประเมินโดยการนําความสําคัญของคาของเงินตามเวลาเขามาคิด ดวย วิธีการนี้จะหามูลคาปจจุบน ั ของกระแสเงินสดรับที่เกิดจากโครงการในแตละ งวดมารวมกัน แลวเปรียบเทียบกับมูลคาปจจุบันของเงินลงทุนโดยกําหนด อัตราสวนลดหรือผลตอบแทนที่ตองการ หากมีคาเทากันหรือมูลคาปจจุบันสุทธิเปน ศูนย แสดงวา โครงการนั้นคุมทุนพอดี หากมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดเขา รวมกัน มีมากกวามูลคาปจจุบันของเงินลงทุน ถือวา โครงการนัน ้ ใหผลตอบแทนสูง กวาที่เราตองการหรือคาดหวังไว ควรจะลงทุนในโครงการนั้น หากไมแลว ก็ควร ปฏิเสธไมลงทุนในโครงการนั้น มูลคาปจจุบันสุทธิ = มูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดรับ – มูลคาปจจุบัน ของเงินสดจาย

http://www.smebank.co.th

8.7 การวิเคราะหอัตราผลตอบแทนของการลงทุน (Internal Rate of Return - IRR) เปนอัตราสวนลด/หรืออัตราดอกเบี้ยที่ทําใหมูลคาปจจุบันของเงินสดที่คาด วาจะตองจายออกไปเทากับมูลคาปจจุบันของเงินสดที่คาดวาจะไดรับเขามาตลอด อายุของโครงการ หรือคือการหาสวนลดหรืออัตราดอกเบี้ยที่ทํา ใหมูลคาปจจุบันสุทธิ NPV (Net Present Value) เทากับ 0 อัตราผลตอบแทนที่ไดจากโครงการ : เปนอัตราผลตอบแทนที่ทําใหมูลคา ปจจุบันสุทธิของโครงการ = 0 9. แผนฉุกเฉิน เปนการบอกถึงเรื่องถาเกิดการผิดพลาด กลาวคือ ถาไมเปนไปตามแผนที่ วางไว ยังมีแผนอื่นมารองรับที่จะทําอะไรตอไปไดกับธุรกิจนี้ อาทิเชน แปรผันธุรกิจ หรือบริการนี้ไปยังธุรกิจอื่นไปยังแหลงอื่น หรือเปลี่ยนเปนรูปแบบอื่น เปนตน ตัวอยางของประเด็นความเสี่ยงและการเตรียมความพรอมที่ควรระบุไวในแผน ฉุกเฉิน อาทิเชน - ยอดขาย/เก็บเงินจากลูกหนี้ไมไดตามคาดหมาย ทําใหเงินสดหมุนเวียน ขาดสภาพคลอง และธนาคารไมใหวงเงินกูหรือลดวงเงินกู - คูแขงตัดราคาหรือจัดกิจกรรมสงเสริมการขายอยางตอเนื่องระยะยาว - มีคูแขงรายใหมที่มีขนาดใหญกวา ทันสมัยกวา มีสินคาครบถวนกวา ราคา ถูกกวา เขาสูอุตสาหกรรม หรือมาตั้งอยูในบริเวณใกลเคียง - สินคาถูกลอกเลียนแบบและขายในราคาที่ถูกตอง - สินคาผลิตไมทันตามคําสั่งซื้อเนื่องจากขาดแคลนวัตถุดิบ - สินคาผลิตมากจนเกินไป ทําใหมีสินคาในสต็อกเหลือมาก - ตนทุนการผลิต/การจัดการสูงกวาที่คาดไว - เกิดการชะงักการเติบโตของทัง้ อุตสาหกรรม - มีปญหากับหุนสวนจนไมสามารถรวมงานกันได 10. ภาคผนวก อาจเปนการวิเคราะหขอมูลทางการตลาดของคูแขงขันที่มีอยูในตลาด ของ ผูประกอบการเดิม มีจํานวนมากนอยเทาไร และแสดงใหเห็นถึงโอกาสที่จะเขาไปมี สวนแบง ระบุถึงกลุม  ลูกคาเปาหมายใหชัดเจน ทางดานตัวผลิตภัณฑ เนนถึงจุด แข็งของผลิตภัณฑ เมื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑเดิม บริการเดิมในตลาด แสดง ใหเห็นถึงโอกาส ความไดเปรียบในดานตาง ๆ ที่มา : ศงป.

http://www.smebank.co.th

Related Documents

How To Biz Plan
November 2019 20
Biz Plan
October 2019 20
Biz Plan
June 2020 13
Biz Plan Selection Worksheet
November 2019 15
Neighborweb Biz Plan
July 2019 20