Handout2 Auditee

  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Handout2 Auditee as PDF for free.

More details

  • Words: 683
  • Pages: 8
QLM

บริษัทควอลายนแมเนจเมนท จํากัด

เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตร การรับการตรวจประเมิน 1. เพือ่ ใหสถานประกอบกิจการทราบขั้นตอนการตรวจ วัตถุประสงคของการอบรม ประเมินและสามารถเตรียมการเพื่อรับการตรวจได 2. เปนสวนหนึ่งของการอบรมหลักสูตร การตรวจติดตาม ภายใน (Internal Audit) มาตรฐานแรงงานไทย หลักสูตรนี้ใชกับโครงการพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย ขอบเขต บริษัทควอลายนแมเนจเมนท จํากัด บริษัทควอลายแมเนจเมนท จํากัด ผูจัดทํา Revision ออกครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ.2551 หัวขอการอบรม • การรับรองมาตรฐานแรงงานไทย มรท. 8001-2546 • ขั้นตอนการตรวจประเมิน • การเตรียมการดานเอกสารและบันทึก • การเตรียมการรับการสัมภาษณ

1/8

QLM

บริษัทควอลายนแมเนจเมนท จํากัด

การรับรองมาตรฐานแรงงานไทย มรท. 8001-2546 การรับรองมาตรฐานแรงงานไทยเปนไปตามระเบียบกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน วาดวย หลักเกณฑและวิธีการรับรองมาตรฐานแรงงานไทย (มรท.8001-2546) ประกาศ ณ วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ.2546 และแกไขตามระเบียบฉบับที่ 2 และฉบับที่ 3 ตามระเบียบดังกลาวกําหนดใหมหี นวยรับรองและผูตรวจประเมิน ดังนี้ หนวยรับรอง หมายความวา ผูซึ่งใหบริการการตรวจประเมิน และรับรองวาสถานประกอบกิจการได ปฏิบัติตอแรงงานตามมาตรฐานแรงงาน หนวยงานทีจ่ ะเปนหนวยรับรองไดแก (1) กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน (2) หนวยงานของรัฐหรือเอกชนตามที่อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานประกาศ กําหนด ณ เวลาปจจุบนั นี้ (พ.ศ.2551) มีเพียงกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานเทานั้นทีเ่ ปนหนวยรับรอง มี คณะอนุกรรมการรับรองมาตรฐานแรงงานเปนผูพิจารณาวาสถานประกอบกิจการใดสมควรไดรบั การรับรอง ผูตรวจประเมิน ในกรณีที่กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานเปนหนวยรับรอง ผูตรวจประเมินไดแก (1) ขาราชการพลเรือนสังกัดกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน (2) บุคคลอื่นซึ่งกรมไดคัดเลือกจัดจางมา ทั้งที่ผูที่จะเปนผูตรวจประเมินตองมีคุณสมบัติตามที่กรมกําหนด ในทางปฏิบัตแิ ลวกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานจะวาจางบุคคลอื่นใหเปนผูตรวจประเมิน สวน ใหญจะไดแกบริษัทที่เปน Certification Body เชน BVQI ,SGS,EQA,URS เปนตน ซึ่งบริษัทเหลานี้จะมีผูตรวจ ประเมินในสังกัด ผูตรวจประเมินเหลานั้นจะทําการตรวจประเมินและจัดทํารายงานเสนอคณะอนุกรรมการ รับรองมาตรฐานแรงงาน ขั้นตอนการใหการรับรอง • สถานประกอบกิจการยื่นคําขอการรับรอง (แบบ กรร.03) และเอกสารประกอบ • คณะผูประเมินดําเนินการตรวจประเมิน • จัดทํารายงานเสนอคณะอนุกรรมการรับรองมาตรฐานแรงงาน • อนุมัติและประกาศการรับรอง • ตรวจติดตามหลังการรับรอง • สถานประกอบกิจการยื่นคําขอการรับรองตอเมื่อครบอายุการรับรอง

2/8

QLM

บริษัทควอลายนแมเนจเมนท จํากัด

ขั้นตอนการตรวจประเมิน การตรวจประเมินเพื่อการรับรองมาตรฐานแรงงานไทยแบงการตรวจเปน 2 ขั้น ดังนี้ 1. ตรวจประเมินขั้นที่ 1 (Stage 1 Audit) เปนการตรวจประเมินเพื่อใหไดขอเท็จจริงเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม ขอกําหนด มรท.8001-2546 และกฎหมายแรงงานที่เกี่ยวของ สําหรับประกอบการพิจารณาตัดสินความ สอดคลอง และประสิทธิผล และแจงใหสถานประกอบกิจการรับทราบผลการตรวจ พรอมแจงขอบกพรองที่พบ จากการตรวจประเมินเพื่อหาแนวทางแกไขปรับปรุงในการเตรียมการตรวจประเมินในขั้นตอไป 2. ตรวจประเมินขั้นที่ 2 (Stage 2 Audit) เพื่อใหไดขอเท็จจริงเกีย่ วกับการปฏิบัติตามขอกําหนด มรท.80012546 และกฎหมายแรงงานที่เกี่ยวของเพิม่ เติมสําหรับการพิจารณาตัดสินความสอดคลอง และประสิทธิผล ติดตามความกาวหนาผลการปฏิบัติการแกไขขอบกพรองจากการตรวจประเมินขั้นตอนที่ 1 และวิเคราะหโอกาส ในการปรับปรุงอยางตอเนื่อง ขั้นตอนการตรวจประเมินเพื่อการรับรอง มีรายละเอียดดังนี้ 1. ผูตรวจประเมินดําเนินการติดตอเบื้องตนกับสถานประกอบกิจการที่ขอรับการรับรองเพื่อทําการนัดหมาย เบื้องตน และชี้แจงวัตถุประสงครวมทั้งขั้นตอนการตรวจประมินอยางคราวๆ และแจงรายการเอกสารที่ จําเปนตองใชในการตรวจประเมินใหทางสถานประกอบกิจการจัดเตรียมเพื่อใชในการตรวจประเมิน และขอมูล อื่นๆที่เกี่ยวของ 2. ผูตรวจประเมินดําเนินการติดตอกลุมงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานพื้นที่/สํานักงานสวัสดิการและ คุมครองแรงงานจังหวัด และกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานเพื่อแจงหมายกําหนดการเขาตรวจประเมิน 3. ผูตรวจประเมินจะจัดทําแผนปฏิบัติการตรวจประเมิน ซึ่งประกอบดวยกิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง ระยะเวลา ดําเนินการ และผูรับผิดชอบ พรอมนัดหมายและยืนยันกําหนดการตรวจประเมินกับสถานประกอบกิจการ 4. คณะผูตรวจประเมินจะทบทวนเอกสารตางๆเบื้องตนเพื่อศึกษาวิเคราะหขอมูลการจัดทําระบบ และการพัฒนา มาตรฐานในสถานประกอบกิจการที่ขอการรับรอง และเพื่อประเมินการจัดทําระบบเอกสารตามขอกําหนดของ มาตรฐานแรงงานและกฎหมายที่เกีย่ วของโดยตรวจประเมินเอกสารและบันทึกตางๆ ที่เกี่ยวของตามรายการ ตรวจประเมิน อันจะเปนหลักฐานทีแ่ สดงถึงการนําขอกําหนดของมาตรฐานและกฎหมายที่เกี่ยวของไปปฏิบัติ อันประกอบดวย เอกสารตามขอกําหนดของมาตรฐาน ไดแก • เอกสารคูมือการจัดการ • เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน • เอกสารวิธีการปฏิบัติงาน • และเอกสารสนับสนุน เอกสารตามขอกฎหมาย ไดแก 3/8

QLM

บริษัทควอลายนแมเนจเมนท จํากัด

• เอกสารดานสภาพการจาง และการใชแรงงานทั่วไป • เอกสารดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํา รายละเอียดตามคูมือการดําเนินงานตามมาตรฐานแรงงาน 5. การปฏิบัติการตรวจประเมิน ณ สถานประกอบกิจการตามที่ไดตกลงกันไวเบื้องตน โดยจะมีขั้นตอนตางๆ ดังนี้ การเปดประชุม (Opening meeting) คณะผูตรวจประเมินจัดประชุมรวมกับผูบริหารหรือผูแทนของ สถานประกอบกิจการทีย่ ื่นคําขอ เพื่อเปนการแนะนําคณะผูตรวจประเมิน ชีแ้ จงวัตถุประสงค และขอบเขตของ การตรวจประเมิน ทบทวนแผนการตรวจประเมิน อธิบายวิธีการตรวจและรายงานผล การประสานงานและสิ่ง อํานวยความสะดวกในการทํางาน ยืนยันกําหนดการปดประชุม เปดโอกาสใหซักถาม ทําความเขาใจในประเด็น ที่ไมชัดเจนที่เกี่ยวของ และยังเปนการสรางความสัมพันธอันดีซึ่งกันและกันอีกดวย ในการนี้สถานประกอบกิจการตองอํานวยความสะดวกและยินยอมใหคณะผูตรวจประเมินเขาตรวจ ประเมินในสถานประกอบกิจการ และสถานที่ทํางานของลูกจางในเวลาทําการ รวมทั้งจัดใหมีมาตรการปองกัน ความปลอดภัยและอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่จําเปนในแตละครั้ง การเขาตรวจพื้นที่หรือตรวจประเมินสถานประกอบกิจการที่ยื่นคําขอเปนการตรวจสอบขอเท็จจริง และหาหลักฐานที่ยืนยันผลการปฏิบัติ โดยการสังเกตสภาพการทํางานของพนักงาน สภาพแวดลอมในการ ทํางาน เครื่องจักรตางๆ กระบวนการผลิต และถายภาพ ถายสําเนาเอกสารที่เกี่ยวกับการจาง การจายคาจาง คา ลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด คาลวงเวลาในวันหยุด และทะเบียนลูกจาง เก็บตัวอยางวัสดุหรือผลิตภัณฑเพื่อ วิเคราะหเกีย่ วกับความปลอดภัยในการทํางาน และกระทําการอยางอืน่ เพื่อใหไดขอ เท็จจริงเกีย่ วกับการปฏิบัติ ตามมาตรฐานโดยใชแบบตรวจประเมิน (Checklist) ตามที่เสนอตอกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานเปน แนวทางในการดําเนินการ รวมทั้งสังเกตสภาพการทํางานของพนักงาน สภาพแวดลอมในการทํางาน เครื่องจักร ตางๆ กระบวนการผลิต ความปลอดภัยในการทํางานในพื้นที่ตางๆ โดยเฉพาะพื้นทีท่ ี่เปนจุดเสี่ยง ดังนั้นในการ ตรวจประเมินแตละครั้งจะสามารถดําเนินการไปไดอยางราบรื่น สะดวกรวดเร็วถาทางสถานประกอบกิจการได ใหความรวมมือในการจัดเตรียมเอกสารที่แจงไวลวงหนา การสัมภาษณ เปนอีกขั้นตอนหนึ่งที่ถือเปนการทวนสอบการปฏิบัติตามขอกําหนดของมาตรฐาน ทั้งนี้ จะคัดเลือกพนักงานจากบัญชีรายชื่อในเอกสารตางๆ และบางสวนจะคัดเลือกในขณะตรวจพื้นที่ซึ่งเปนตัวแทน ที่มาจากระดับบริหาร ระดับปฏิบัติการ และคณะกรรมการตางๆ โดยสัดสวนของผูถูกสัมภาษณและวิธีการ คัดเลือกตองเปนไปตามหลักเกณฑการตรวจประเมินตามมาตรฐานสากล หรือประมาณรอยละ 3-5 ของจํานวน พนักงาน 6. เมื่อคณะผูต รวจประเมินไดดําเนินการตรวจประเมินตามกําหนดการที่ไดตกลงรวมกันระหวางผูต รวจ ประเมินกับสถานประกอบกิจการแลว ในแตละวันของการตรวจประเมินทางคณะผูตรวจประเมินจะมีการ ประชุมเพื่อรวบรวมเอกสารหลักฐาน และทบทวนขอเท็จจริงที่ไดจากการตรวจประเมิน พรอมจัดทําสรุปและ

4/8

QLM

บริษัทควอลายนแมเนจเมนท จํากัด

จําแนกขอบกพรองตางๆ จัดทํารายงานผลการตรวจประเมินและนําเสนอตอผูแทนของผูรับการตรวจประเมินแต ละวัน (ในกรณีที่การตรวจประเมินมากกวา 1 วัน) หรือเพื่อใชในการปดประชุมตอไป 7. การปดประชุม (Closing meeting) จะประชุมรวมกันระหวางคณะผูตรวจประเมินกับผูบริหารหรือผูแทนของ สถานประกอบกิจการทีย่ ื่นคําขอ และเจาหนาที่ที่เกีย่ วของ สําหรับการตรวจประเมินขั้นตอนที่ 1 การประชุมจะดําเนินการเพื่อสรุปภาพรวมของการตรวจประเมิน ทั้งหมดพรอมทั้งแจงรายละเอียดการปฏิบตั ิไมสอดคลองกับขอกําหนด เพื่อใหทางสถานประกอบกิจการ ดําเนินการแกไขความไมสอดคลองตางๆภายในกําหนดระยะเวลาที่ไดตกลงรวมกัน และทําการนัดหมายรวมกัน สําหรับการตรวจประเมินขั้นตอนที่ 2 จะเปนการสรุปภาพรวมทั้งหมดเพื่อแจงผลแกทางสถานประกอบ กิจการวาสามารถเสนอใหการรับรองตามมาตรฐานแรงงานไทย(มรท.8001-2546) แกกรมสวัสดิการและ คุมครองแรงงานหรือไม แลวใหลงรายมือชื่อรับทราบในรายงานนัน้

การเตรียมการดานเอกสารและบันทึก คณะผูตรวจประเมิน จะตรวจประเมินเอกสารและบันทึกตางๆ ดังนี้ 1. เอกสารตามขอกําหนด มรท.8001-2546 1.1 เอกสารคูมือการจัดการ (Management Manual: MM) 1.2 เอกสารจํานวนขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure Manual : PM) • การควบคุมบันทึก • การประเมินและคัดเลือกผูสงมอบหรือผูรบั เหมาชวง • การสื่อสาร • การตรวจติดตาม • การแกไขและปองกันขอบกพรอง • การจัดทําขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน 1.3 เอกสารวิธกี ารทํางาน (Work Instruction : WI) 1.4 เอกสารสนับสนุน (Support Document : SD) ประกอบดวย 1.4.1 เอกสารและบันทึกตามขอกําหนด 1) นโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคมและแรงงาน 2) คําสั่งแตงตั้งผูแทนฝายบริหาร 3) คําสั่งแตงตั้งผูแทนลูกจาง 4) คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบเกี่ยวกับการปฏิบัติใหเปนไปตามขอกําหนดมาตรฐาน แรงงานไทย

5/8

QLM

บริษัทควอลายนแมเนจเมนท จํากัด

5) แผนปฏิบัติการจัดทํามาตรฐานแรงงานไทย ของสถานประกอบกิจการ (ไมใชฉบับของที่ ปรึกษา) 6) แผนการฝกอบรมประจําป 7) บันทึกการฝกอบรมลูกจาง เกี่ยวกับมาตรฐานแรงงานไทย 8) รายงานการประชุมคณะกรรมการรับผิดชอบเกี่ยวกับการปฏิบัติใหเปนไปตามขอกําหนด มาตรฐานแรงงานไทย 9) แผนการตรวจติดตามภายใน 10) รายงานผลการตรวจติดตามภายใน 11) ใบแจงขอบกพรอง ( Corrective Action Request : CAR ) 12) รายงานผลการดําเนินการปองกันและแกไขสิ่งที่ไมเปนไปตามขอกําหนด 13) รายงานการประชุมทบทวนฝายบริหาร 14) หลักฐานแสดงคํามั่นเปนลายลักษณอักษรของผูสงมอบหรือผูรับเหมาชวงในการปฏิบัติ ตามขอกําหนด มรท.8001-2546 15) แบบ / บันทึกผลการประเมินและคัดเลือกผูสงมอบหรือผูรับเหมาชวง 16) บัญชีดัชนีเอกสาร 17) บัญชีดัชนีบันทึก 1.4.2 เอกสารและบันทึกตามขอกฎหมาย ประกอบดวย เอกสารดานสภาพการจางและการใชแรงงานทั่วไป 1) ขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน /ประกาศใชขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน /เอกสารสงสําเนา ขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานให สสค. 2) ทะเบียนลูกจาง ระบุถึง ชื่อ – สกุล เพศ สัญชาติ วันเดือนปเกิด อายุ ทีอ่ ยูปจจุบนั วันที่เริ่มจาง ตําแหนง อัตราคาจาง และวันสิ้นสุดการจาง 3) บัญชีการจายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานวันหยุด และคาลวงเวลาวันหยุดซึ่งระบุถึงวันเวลา ทํางาน อัตราและจํานวนคาจางของแตละคน 4) เอกสารแจงการจางลูกจางทีอ่ ายุต่ํากวา 18 ป และเอกสารแจงการสิ้นสุดการจางของลูกจางที่ อายุต่ํากวา 18 ป 5) สวัสดิการ (1) คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ (2) ประกาศการจัดสวัสดิการตามกฏหมาย หรือตามที่มีขอตกลงที่ลูกจาง (3) บันทึกการประชุมคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการทุก 3 เดือน

6/8

QLM

บริษัทควอลายนแมเนจเมนท จํากัด

เอกสารดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน 1) คําสั่งแต งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามั ย และสภาพแวดลอมในการ ทํางาน 2) คําสั่งแตงตั้งเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน (จป.) ระดับวิชาชีพ 3) คําสั่งแตงตั้ง จป. ระดับบริหาร 4) คําสั่งแตงตั้ง จป. ระดับหัวหนางาน 5) เอกสารแสดงการเขาฝกอบรม หลักสูตร จป. ระดับบริหาร ระดับหัวหนางาน ระดับวิชาชีพ 6) เอกสารแสดงการมอบหมายผูควบคุมการทํางานในที่อบั อากาศ 7) บันทึกผลการตรวจวัดการประเมินสภาพอากาศ 8) บันทึกการประชุม คปอ. อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง 9) ทะเบียนประวัติผูควบคุมหมอน้ํา ผูขับรถโฟลคลิฟ 10) ผลการตรวจสอบและรับรองความปลอดภัยของหมอน้าํ 11) เอกสารการรับรองแผนผังวงจรไฟฟา จากการไฟฟาประจําทองถิ่น 12) เอกสาร คป. 1 และ คป.2 13) ผลการวิเคราะหขอมูล สถิติ เกี่ยวกับการประสบอันตราย 14) แผนงานดานความปลอดภัยประจําป 15) แผนปองกันและระงับอัคคีภยั 16) เอกสารแสดงการเขาฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตนของลูกจาง โดยมีจํานวนไมนอยกวารอย ละ 40 ของลูกจางทั้งหมด 17) เอกสารแสดงการเข า ฝก อบรมการปอ งกัน และระงับ อั คคี ภัย การใชอุ ป กรณ ดับ เพลิ ง การปฐมพยาบาล และการชวยเหลือกรณีฉุกเฉิน 18) รายงานการฝกอบรมดับเพลิงขั้นตนและฝกซอมหนีไฟ แก สสค. 19) การแจง สอ. 1 สอ. 2 สอ. 3 และสอ. 4 แก สสค. 20) ผลการตรวจสุขภาพลูกจางที่ทํางานเกีย่ วกับปจจัยเสี่ยง ฯลฯ

7/8

QLM

บริษัทควอลายนแมเนจเมนท จํากัด

การเตรียมการรับการสัมภาษณ การสัมภาษณและการสนทนากลุมเฉพาะ (Focused Group) เปนเครื่องมือสําคัญของผูประเมินในการคนหาความจริง การ สัมภาษณและการสนทนากลมเฉพาะจะกระทํากับพนักงานจํานวนมากและไมสามารถกําหนดไดวาใครจะถูกสัมภาษณ การเตรียมการแบบที่เรียกวา ผักชีโรยหนา จึงเปนไปไมไดสําหรับการตรวจติดตามมาตรฐานแรงงานไทย คณะผูตรวจประเมิน จะสุมสัมภาษณบุคคลตอไปนี้ เปนกลุมหรือเปนรายบุคคล • ผูแทนฝายบริหาร • ผูแทนลูกจาง • คณะกรรมการลูกจาง/สหภาพแรงงาน • คณะกรรมการรับผิดชอบเกี่ยวกับการปฏิบตั ิใหเปนไปตามขอกําหนดมาตรฐานแรงงานไทย • ผูแทนฝายลูกจางในคณะกรรมการตางๆ เชน คณะกรรมการสวัสดิการ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชี วอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน • จป.ระดับวิชาชีพ/เทคนิคขั้นสูง/เทคนิค จป.ระดับหัวหนางาน • สัมภาษณพนักงานระหวางการลงตรวจพืน้ ที่ในสถานทีท่ ํางานในแผนกงานตางๆ • พนักงานหญิง พนักงานหญิงมีครรภ • แรงงานเด็ก • แรงงานผูพิการ • พนักงานใหม สถานประกอบกิจการควรดําเนินการใหแนใจวาไดมกี ารปฏิบัติตามขอกําหนดมาตรฐานแรงงานไทยและ กฎหมายแรงงานที่เกีย่ วของแลวและไดมกี ารสื่อสารใหพนักงานในทุกระดับรับทราบแลว

เอกสารอางอิง • หลักเกณฑและวิธีการรับรองมาตรฐานแรงงานไทย (มรท.๘00๑-๒๕๔๖) • ขอมูลจาก Web Site บริษัท ยูโรเปยนควอลิตี้แอสชัวแรนซ จํากัด : EQA )

8/8

Related Documents

Handout2 Auditee
October 2019 11
Handout2.pdf
June 2020 6
804 Handout2
November 2019 25
M3_curvilin-handout2.pdf
October 2019 3