G6pd-3

  • Uploaded by: worapol unya
  • 0
  • 0
  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View G6pd-3 as PDF for free.

More details

  • Words: 453
  • Pages: 4
โรคพรองเอนไซม G-6-PD - วิกิพีเดีย

Page 1 of 4

โรคพรองเอนไซม G-6-PD จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี โรคพรองเอนไซม G6PD หรือ Glucose-6-phosphate dehydrogenase deficiency เปนโรคทางพันธุ กรรมโรคหนึ่งซึ่งทําใหเม็ดเลือดแดงแตกเมื่อไดรับสิ่งกระตุนตางๆ

เนื้อหา „ „ „ „

„ „

1 สาเหตุ 2 อาการ 3 การวินิจฉัย 4 สิ่งกระตุนที่ทําใหเกิดอาการ „ 4.1 กลุมยาแกปวด ลดไข (Analgesics/Antipyretics) „ 4.2 กลุมยารักษาโรคมาลาเรีย (Antimalarial drugs) „ 4.3 กลุมยารักษาโรคหัวใจ (Cardiovascular drugs) „ 4.4 กลุมยา Sulfonamides/Sulfones „ 4.5 กลุมยาปฏิชีวนะ (Cytotoxic/Antibacterial drugs) „ 4.6 ยาอื่นๆ 5 การรักษา 6 อางอิง

สาเหตุ โรคนี้เกิดจาก ภาวะที่พรองเอนไซม

G6PD (Glucose-6Phosphate Dehydrogenase) ซึ่ง เปนเอนไซมสําคัญใน กระบวนการเมตะบอลิ ซึ่ม ในวิถี Pentose

Phosphate Pathway (PPP.) ของน้ําตาล กลูโคส ที่จะเปลี่ยน NADP ไปเปน NADPH ซึ่งจะไปทํา ปฏิกิริยากับเอนไซม

Glutathione reductase และ Glutathione peroxidase ตอไป สง

แผนภาพกระบวนการเมตะบอลิซึ่มวิถี Pentose Phosphate Pathway ผลใหเกิดการทําลาย สารอนุมูลอิสระ (Oxidants) ตาง ๆ เชน H2O2 ที่เปนพิษตอเซลลในรางกายโดยเฉพาะเซลลเม็ดเลือดแดง

ดังนั้นเอนไซม G6PD จึงเปนเอนไซมที่ชวยปองกันเม็ดเลือดแดงจากการทําลายของสารอนุมูลอิสระ

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8...

1/16/2008

โรคพรองเอนไซม G-6-PD - วิกิพีเดีย

Page 2 of 4

(Oxidants) คนที่เกิดภาวะพรองเอนไซมชนิดนี้แลวจะทําใหเกิดอาการเม็ดเลือดแดงแตก (Hemolysis) ได งาย สาเหตุของการพรองเอนไซม G6PD เกิดจากความผิดปกติของพันธุกรรมแบบ X-linked โรคนี้จึงพบในผูชายได มากกวาผูหญิง

อาการ อาการของโรคก็คือ Acute hemolytic anemia (ภาวะซีดจากการที่เม็ดเลือดแดงแตกอยางฉับพลัน) โดยใน เด็กทารกจะพบวามีอาการดีซานที่ยาวนานผิดปกติ สวนในผูใหญนั้นจะพบวา ปสสาวะมีสีดํา ถายปสสาวะนอยจนอาจนํา ไปสูภาวะไตวายเฉียบพลัน (Acute renal failure) ได นอกจากนี้ ยังสงผลใหการควบคุมสมดุลของ Electrolytes (สาร เกลือแรตางๆในรางกาย) ของรางกายเสียไปดวย โดยเฉพาะการเกิดภาวะ Hyperkalemia (โพแทสเซียมในเลือดสูง)

การวินิจฉัย 1. การยอมเซลลเม็ดเลือดแดง (Completed Blood Count - CBC) ในคนที่เปนโรคนี้ ถายอมพิเศษจะเห็นลักษณะที่เปน “Heinz body” ซึ่งเกิดจากการตกตะกอนของฮีโมโกลบิน ที่ไมคงตัว มักพบรวมกับภาวะตางๆ ที่ทําใหเม็ดเลือดแดงแตก หรือ มีการทําลายเม็ดเลือดแดงและมีปฏิกิริยา Oxidation เกิดขึ้นกับฮีโมโกลบินภายในเม็ดเลือดแดง เมื่อเม็ดเลือดแดงที่มี Heinz body ผานไปที่ตับหรือมาม เม็ด Heinz body จะถูกกําจัดออกจนเม็ดเลือดแดงมีลักษณะเปน Bite cell หรือ Defected spherocyte ซึ่งสามารถเห็นได ใน CBC ปกติ

2. Haptoglobin Haptoglobin เปนโปรตีนชนิดหนึ่งในพลาสมา ซึ่งในภาวะปกติ Haptoglobin จะจับกับฮีโมโกลบินอิสระ (Free hemoglobin) โดยคา Haptoglobin จะมีคาลดลงในคนที่มีภาวะเม็ดเลือดแดงแตก (Hemolysis) 3. Beutler fluorescent spot test เปนการทดสอบที่บงบอกถึงภาวะพรองเอนไซม G6PD โดยตรง ซึ่งจะแสดงใหเห็นปริมาณ NADPH ที่ผลิต ไดจากเอนไซม G6PD โดยผานรังสีอัลตราไวโอเลต (UV) ถาไมมีการเรืองแสงภายใต UV แสดงวาบุคคลนั้นเปนมี ภาวะพรองเอนไซม G6PD

สิ่งกระตุนที่ทําใหเกิดอาการ 1. อาหาร โดยเฉพาะ ถั่วปากอา (Fava beans หรือ Broad beans) ซึ่งมีสาร Vicine, Devicine, Convicine และ Isouramil ซึ่งเปนสารอนุมูลอิสระ (Oxidants) 2. การติดเชื้อโรคตาง ๆ ซึ่งจะทําใหเซลลเม็ดเลือดขาว หลั่งสารอนุมูลอิสระ (Oxidants) มากขึ้น 3. การเปนโรคเบาหวานที่ทําใหเกิดกรด (Diabetic ketoacidosis) 4. การไดรับยาตาง ๆ ดังนี้ [1]

กลุมยาแกปวด ลดไข (Analgesics/Antipyretics) „ „

Acetanilid Acetophenetidin (Phenacetin)

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8...

1/16/2008

โรคพรองเอนไซม G-6-PD - วิกิพีเดีย

„ „ „ „ „ „

Page 3 of 4

Amidopyrine (Aminopyrine) Antipyrine Aspirin Phenacetin Probenicid Pyramidone

กลุมยารักษาโรคมาลาเรีย (Antimalarial drugs) „ „ „ „ „ „ „ „

Chloroquine Hydroxychloroquine Mepacrine (Quinacrine) Pamaquine Pentaquine Primaquine Quinine Quinocide

กลุมยารักษาโรคหัวใจ (Cardiovascular drugs) „ „

Procainamide Quinidine

กลุมยา Sulfonamides/Sulfones „ „ „ „ „ „ „

Dapsone Sulfacetamide Sulfamethoxypyrimidine Sulfanilamide Sulfapyridine Sulfasalazine Sulfisoxazole

กลุมยาปฏิชีวนะ (Cytotoxic/Antibacterial drugs) „ „ „ „ „ „ „ „ „ „

Chloramphenicol Co-trimoxazole Furazolidone Furmethonol Nalidixic acid Neoarsphenamine Nitrofurantoin Nitrofurazone PAS Para-aminosalicylic acid

ยาอื่นๆ „ „

Alpha-methyldopa Ascorbic acid

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8...

1/16/2008

โรคพรองเอนไซม G-6-PD - วิกิพีเดีย

„ „ „ „ „ „ „ „ „ „ „ „ „ „

Page 4 of 4

Cimercaprol (BAL) Hydralazine Mestranol Methylene blue Nalidixic acid Naphthalene Niridazole Phenylhydrazine Pyridium Quinine Toluidine blue Trinitrotoluene Urate oxidase Vitamin K (Water soluble)

การรักษา วิธีที่ดีที่สุดของคนที่เปนโรคนี้ก็คือการปองกันการทําใหเม็ดเลือดแดงแตกโดยหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุนตางๆในขาง ตน สวนการรักษานั้นทําไดเพียงรักษาตามอาการที่เกิดขึ้น

อางอิง 1. ↑ [1] (http://www.rialto.com/g6pd/table2.htm) ดึงขอมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%9E%

E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%99% E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B8%A1%E0%B9%8C_G-6-PD". หมวดหมู: โรค | โรคทางโลหิตวิทยา | โรคทางพันธุกรรม

„

หนานี้แกไขลาสุดเมื่อ 08:39 วันที่ 28 ธันวาคม 2550

„

ชวยกันเผยแพรความรูไปทั่วประเทศ ขอมูลทั้งหมดในหนานี้สามารถนํา ไปเผยแพร คัดลอกตอโดยไมตองขออนุญาต ภายใต สัญญาอนุญาต เอกสารเสรีของกนู (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ลิขสิทธิ์) Wikipedia® เปนเครื่องหมายการคาจดทะเบียนของ มูลนิธิวิกิมีเดีย

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8...

1/16/2008

More Documents from "worapol unya"

G6pd-3
October 2019 11
G6pd-4
October 2019 16
G6pd-5
October 2019 13
G6pd-1
October 2019 7
G6pd-2
October 2019 12