Fever Cause In Children

  • December 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Fever Cause In Children as PDF for free.

More details

  • Words: 2,480
  • Pages: 17
1/22 22//2009

Bacteria, Virus, Fungi ,Parasite

Dehydration

อาการและอาการแสดง ทารกทีเ่ กิดจากมารดาทีเ่ ป็ น วัณโรค • ทารกสามารถติดเชื้อจากมารดาได้โดย ผ่านทางเลือดที่อย่ในครรภ ผานทางเลอดทอยู นครรภ์ ซงพบใน ซึ่งพบใน มารดาที่เป็ นในระยะลุกลาม • ติดระหว่างการคลอด จากการสําลักนํ้าครํ่า • หลังคลอด อาจได้รับเชื้อจากมารดาหรื อ คนอื่น

• • • •

ดูดนมไม่ ดี ซึม มีไข้ กระสั บกระส่ าย ตับโต ต่่ อมนํา้ เหลือื งโต โ อาการหายใจลําบากร่ วมด้ วย

1

1/22 22//2009

การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ • ถ่ ายรังสี ปอด • ตรวจ Tuberculin test ในรายทีม่ ารดาเป็ น • หา AFB

การรักษา

• รักษาด้ วยยา TB เช่ น INH และยาอืน่ ๆ

การพยาบาลทารกทีม่ ารดาป่ วยเป็ นโรคตับอักเสบ



การป้องกัน ทุกราย

ให้วัคซีน BCG แก่ทารกหลังคลอด



ไมจํ ่ าเป็ นต้องแยกมารดา และทารกในกรณี ที่มารดารักษาครบแล้ว



ติดตามดูอาการในระยะ 3 เดือน หลังคลอด

• ควรแยกมารดาและทารกในกรณี ที่มารดากําลังรักษาอยู่ ถ้าแยกไม่ได้ควรรักษาโดยให้ยามารดาและทารกควบคู่ กันไป

การรักษา • แบบประคับประคอง

การพยาบาล •

ไวรัสตับอักเสบ บี (Hepatitis B) ทารกที่ ตรวจพบว่่ าเกิดิ จากมารดาทีเ่ี ป็ นพาหะพบ HBeAg +ve ทารกมีโอกาสสู งที่จะได้ รับเชื้อจากมารดา ติดต่ อ ได้ ทางเลือด สารคัดหลัง่ เพศสั มพันธุ์ ผลต่ อทารกคือ Jaundice ตับแข็งและเป็ นมะเร็งที่ตับได้ สูง

22/01/52

การพยาบาลทารกทีม่ ารดาป่ วยเป็ นโรค เอดส์ การติดต่ อจากมารดาไปสู่ ทารกคล้ ายๆกับโรคตับอักเสบคือ มีการติดต่ อได้ ทางกระแสเลือด จากสารคัดหลัง่ และทาง เพศสัั มพันั ธุ์ โดยเฉพาะมารดาอยู โ ่ ในระยะแพร่่ เชืื้อ และ มีผลทําให้ ทารกมีความพิการได้ สูง ทารกที่เกิดจากแม่ ติด เชื้อจะมีโอกาสติดเชื้อได้ ถึงร้ อยละ 20-50 และแสดง อาการเมือ่ อายุ 4 เดือนขึน้ ไป

• ป้องกันการแพร่ กระจายเชื้อ • งดนมแม่ หลังคลอด • Hygine care • สั ญญาชีพ 22/01/52

การวินิจฉัย • ตรวจหาแอนติเจนหรือยีโนมของไวรัสอย่ างรวดเร็วใน เวลาไม่ เกิน 2 วัน • การเพาะเชื้อแยกเชื้อ • ตรวจหาแอนติบอดีด้ ้ วยวิธี ELISA

22/01/52

2

1/22 22//2009

การรักษา • มารดาให้ ยา AZT(100mg) วันละ 2 ครั้งเช้ า-เย็น เมือ่ มารดาตั้งครรภ์ มารดาตงครรภ • เมือ่ เจ็บครรภ์ ให้ ยา AZT(100mg) 3 เม็ดทันทีก่อน เดินทางจากบ้ านไป รพ.และทานต่ อ 3 เม็ดทุก 3 ชม. • ลูก ทานยา AZT(10mg/ml)ในขนาด 2 mg/kg ทุก 6 ชม.เป็ นเวลา 6 สั ปดาห์ 22/01/52

การพยาบาล • แยกมารดาและทารกในกรณีที่ยงั ไม่ แน่ ใจว่ าทารกได้ รับเชื้อ จากมารดาหรือไม่ • งดให้ นมมารดา • ในกรณี ใ ที ีท่ ารกตรวจพบเชืื้อแล้้ วใให้้ ทารกอยู่ กบั มารดาได้ ไ้ ตามปกติ • Hygine care • สั งเกตสิ่ งผิดปกติทั่วไป 22/01/52

ส่ าไข้ หรือหัดกุหลาบ สาเหตุ เกิดขึน้ เมือ่ ระบบภูมคิ ุ้มกันของเด็กลดน้ อยลง

จากอะไร? ได้ บ้าง •ระบบ Auto immune เด็กเอง •เชื้อโรคทําลายระบบ Auto immune

Roseolar infantum หรือ Exanthem subitum

อาการ? •ไข้ สูง 3-4 วัน •ผืน่ ( Macule or Maculapaule) เมือ่ ไข้ เริ่มลด โดยขึน้ ที่คอ และกระจายไปที่ใบหน้ า แขนขา อาจขึน้ ไม่ นาน 1-2 ชั่วโมงหรือ นานถึง 1-2 วัน

3

1/22 22//2009

หัด ( Rubeola หรือ Measles) เกิดจากไวรัสกลุ่ม Paramyxovirus ระยะติดต่ อ 3-5 วันก่ อ ผืน่ ขึน้ ถึง 4 วันหลังผื่นขึน้ ติดได้ ทางทางเดินหายใจ อาการแสดง? •ระยะผืนื่ ขึนึ้ 3-5 วันั แรก ไไข้้ สูงมาก Koplik’s spot ทีกี่ ระพุ้งแก้้ ม •ระยะออกผืน่ นาน 2-3 วัน ไข้ สูง ตาแดง กลัวแสง ผืน่ จะเริ่มจาก โคนผม หลังหู แล้ วจึงกระจายมาที่หน้ า ลําตัว แขนขา คันได้ •ระยะฟื้ นตัว ผืน่ จะเปลีย่ นเป็ นสี คลํา้ ลอก ไข้ ลง

โรคไข้ สุกใส ( Chicken Pox, Varicella) เกิดจาก Varicella virus

อาการ • หลังจากสั มผัสโรค 14-16 วัน จะมีผนื่ ขึน้ เป็ นตุ่ม ใสพร้ อมไข้ อาการไข้ จะลดลงเมือ่ ผื่นขึน้ ทั้งตัวแล้ ว

หัดเยอรมัน( Rubella) เกิดจาก Rubella ในกลุ่ม Paramyxovirus เช่ นเดียวกัน ติดต่ อ 7 วันก่ อนและหลังผื่นขึน้ อาการ หลังจากได้ รับเชื้อ 14-21 วันจะมีไข้ ตํ่าๆต่ อม นํา้ เหลืองโต ไข้ ลดจะเข้ าระยะผื่นขึน้ ผืน่ จะเริ่มจาก ใบหน้ าแล้ วลามไปที่ตัว ภายใน 24 ชม. และจะหายไป ภายใน 3 วัน อน สมองอักเสบ หัวใจอักเสบ จํา้ เลือด ภาวะแทรกซ้ เนื่องจาก Plt ตํ่า

•ลักษณะของผืน่ เริ่มจาก ตุ่มแบนราบ ( Macule) •ต่ อมานูนเป็ น Papule •Vesicle • Pustule •Crust สะเก็ด

ปัญหาการพยาบาลโรคที่มไี ข้ ออกผื่น • เสี่ ยงต่ อการแพร่ กระจายเชื้อไปสู่ ผู้อื่นเนื่องจากมี การติดต่ อทางระบบทางเดินหายใจ •อาจเกิดการชักจากไข้ สูง •ไอ เจ็บคอเนื่องจากระคายเคืองจากรอยโรคในช่ อง ปาก

• ได้ รับสารนํา้ และอาหารไม่ เพียงพอ เนื่องจากเบื่ออาหาร เจ็บภายใจปาก •ความไม่ ไ ่ สุขสบายเนื่ืองจากผืนื่ ขึนึ้ คันั ตามผิวิ หนััง

•ระคายเคืองตาเนื่องจากมีการอักเสบของเยือ่ บุตา

4

1/22 22//2009

คางทูม พบได้บ่อยในเด็ก 5-10 ปี สาเหตุเกิดจาก Mumum virus

อาการแสดง ต่อมนํ้าลายอักเสบโต 1-3 วัน มีไข้ 1-6 วัน

ปัญหาทางการพยาบาล •เสี่ ยงต่อการแพร่ กระจายเชื้อ •ได้ ไ ร้ ับสารนํ้ าสารอาหารไม่ ไ ่เพียี งพอ •เสี่ ยงต่อภาวะแทรกซ้อนของการเป็ นหมันเนื่องจาก อัณฑะอักเสบ

เชื้อเข้ าสู่ ร่างกาย แบ่ งตัวมากในลําไส้ ผ่านเข้าทาง Axon ของ Peripheral Nurve เชื้อเข้าสู่ Anterior Horn Cell มีการทําลายของสมอง ส่ วน Reticular Information , Vesticular Nuclei และ สมองส่ วน Cerebellum มีผลต่อเส้นประสาทที่ไป เลี้ยงกล้ามเนื้อ ทําให้กล้ามเนื้อลีบเล็ก

Mump โรคแทรก อั อณฑ ณฑะอั อกเสบ กเสบ Orchitis เต้านมอักเสบ Mastitis เยือ ่ หุ้มสมองอักเสบ และตับอักเสบได้

ไข้ ไขสั นหลังอักเสบ ( Poliomyelitis) พบครั้งแรกในไทย ปี พ.ศ.2495 เกิดจากเชื้อ Polio virus type 1,2 1 2 และ 3 ตดตอทางทางเดน ติดต่อทางทางเดิน หายใจและทางเดินอาหาร

• Bulbar poliomyelitis มีการทํางายของเส้นประสาท สมองเส้นที่ 5,9,10,11 ฯลฯ ทําให้เกิดอัมพาตของ กล้ามเนื้อบริ เวณต่างๆที่เกี่ยวข้อง การมองเห็นเป็ นสอง ภาพ หายใจลําบาก อาการแทรกซ้ อน •อัมพาตอย่างถาวร •หายใจเองไม่ได้ •นิ่วในไต ปัสสาวะไม่ออก ท้องผูก •ความดันสูง

5

1/22 22//2009

การประเมินสภาพ • มีไข้ ปวดเมือ่ ยกล้ ามเนือ้ เวลาสั มผัส • Lymphocyte สู ง • Complement fixation test พบแอนตีบ้ อดีส้ ู ง

ปัญหาทางการพยาบาล • เกิดการแพรกระจายเชื อ ้ ไปสู่ ่ ผูอ้ ื่นได้ง่าย • เสี่ ยงตอการได รั ่ ้ บออกซิเจนไม่ เพียงพอ เพยงพอ •ได้รับสารนํ้าและสารอาหารไม่เพียงพอ •มีการคัง่ ค้างของปัสสาวะในกระเพาะปั สสาวะ •ท้องผูก ้

Rabie พิษสุ นขั บ้า • เสี่ ยงตอการเกิ ดความพิการ ่ ทางร่ างกาย •ผูป้ ่ วยและญาติหงุดหงิด หรื อวิตกกังวล •ผูป้ ่ วยและญาติไม่เข้าใจเกี่ยวกับการป้ องกันและ ควบคุมโรค

ไข้เลือดออก ( Hemorrhagic Fever)

เกิดจาก Dengue virus และ Chickunya เกดจาก virus ซึ่งมียงุ ลายเป็ นพาหะ ( Aedes aegypti)

เชื้อจะเข้าไปทําลายเซลประสาท อาการ ปวดเมื ปวดเมอยตามตว ่อยตามตัว คัคนน กลนไมได กลืนไม่ได้ คอ แข็ง กระสับกระส่ าย ชัก Procnosis ไม่ดีจะตายหลังจกามีอาการ 4-7วัน

อิมมูโนคอมเพลกซ์ จะไปเกาะที่ผวิ ของเกร็ด เลือด ทําให้ เกร็ดเลือดถูกทําลาย

เกร็ดเลือดที่ถกทําลายจะปล่ อยสารอะมีน ซึ่งทําให้ ผนัง หลอดเลือดฝอยรั่วมากขึน้ ทําให้ เลือดออกได้ มากขึน้

6

1/22 22//2009

อาการและอาการแสดง

การประเมินสภาพ

หลังจากได้รับเชื้อ 5-8 วัน แบ่งเป็ น 3 ระยะ •ระยะไข้ สูง เบื่ออาหาร หน้ าแดง อาเจียน ทูนิเก้ เทสต์ +ve

• เกร็ดเลือดตํา่ กวา่ 100,000 เซลล์/ลบ.มม.

• ระยะเลือดออกหรือระยะช็อค เกิดประมาณวันที่ 3-6 ของโรค มีการ รั่วซึมของนํา้ และโปรตีนในหลอดเลือดจํานวนมาก ทําให้ ความเข้ มข้ น ของเลือดสู ง เกร็ดเลือดตํ่า เลือดหนืด ทําให้ ช็อคได้ เลือดออกง่ ายทั่ว ร่ างกาย

•Hct มากว่าหรื อเท่ากับ 20 % ของของเดิม •Albumin ตํ่า •มีไข้ ตับโต จุดเลือดออก Pulse Pressure แคบ

•ระยะพักฟื้ น ต้ นสั ปดาห์ ที่สอง จะเข้ าสู่ ภาวะปกติ

ปัญหาการพยาบาล

โรคแทรกซ้ อน

• มีการเผาผลาญสู งกว่ าปกติ

• มีนํา้ ในช่ องเยือ่ หุ้มปอด

• ได้ รับสารนํา้ สารอาหารไม่ เพียงพอ

•อาการไตวาย

•เสี่ ยงต่ อระบบไหลเวียนล้ มเหลวในระยะช็อค •เสยงตอระบบไหลเวยนลมเหลวในระยะชอค

•นํา้ เกิน

•เสี่ ยงต่ อการเกิดภาวะเลือดออกง่ ายเนื่องจากเกร็ดเลือดตํ่า

•อาจเกิดภาวะ DIC เนื่องจากช็อคนานๆ

•เสี่ ยงต่ อภาวะนํา้ เกินเนื่องจากการซึมกลับของนํ้าและ พลาสม่ าเข้ าสู่ หลอดเลือด ญ ไม่ เข้ าใจกลไกของโรค และอาจเกิดความ •ผูู้ป่วยและญาติ วิตกกังวล

•ปวดท้ องเนื่องจากมีเลือดออกในอวัยวะภายใน

การพยาบาลทารกที่มารดาป่ วยเป็ นโรคตับอักเสบ •

ไวรัสตับอักเสบ บี(Hepatitis B) ทารกที่ตรวจ พบว่ าเกิดจากมารดาที่เป็ นพาหะพบ HBeAg +ve ทารกมีโอกาสสงที ทารกมโอกาสสู งทจะไดรบเชอจากมารดา ่จะได้ รับเชื้อจากมารดา ติตดตอได ดต่ อได้ ทางเลือด สารคัดหลัง่ เพศสั มพันธุ์ ผลต่ อทารกคือ Jaundice ตับแข็งและเป็ นมะเร็งที่ตับได้ สูง

22/01/52

7

1/22 22//2009

การพยาบาล

การรักษา • แบบประคับประคอง

• ป้องกันการแพร่ กระจายเชื้อ • งดนมแม่ หลังคลอด • Hygine care • สั ญญาชีพ

22/01/52

22/01/52

การพยาบาลทารกที่มารดาป่ วยเป็ นโรค เอดส์ การติดต่ อจากมารดาไปสู่ ทารกคล้ ายๆกับโรคตับอักเสบคือ มีการติดต่ อได้ ทางกระแสเลือด จากสารคัดหลัง่ และทาง เพศสัั มพันั ธุ์ โดยเฉพาะมารดาอยู โ ่ ในระยะแพร่่ เชืื้อ และ มีผลทําให้ ทารกมีความพิการได้ สูง ทารกที่เกิดจากแม่ ติด เชื้อจะมีโอกาสติดเชื้อได้ ถึงร้ อยละ 20-50 และแสดง อาการเมือ่ อายุ 4 เดือนขึน้ ไป

การวินิจฉัย • ตรวจหาแอนติเจนหรือยีโนมของไวรัสอย่ างรวดเร็วใน เวลาไม่ เกิน 2 วัน • การเพาะเชื้อแยกเชื้อ • ตรวจหาแอนติบอดีด้ ้ วยวิธี ELISA

22/01/52

การรักษา

การพยาบาล

• มารดาให้ ยา AZT(100mg) วันละ 2 ครั้งเช้ า-เย็น เมือ่ มารดาตั้งครรภ์ • เมือ่ เจ็บครรภ์์ ให้ ยา AZT(100mg) 3 เม็ดทันทีก่อน เดินทางจากบ้ านไป รพ.และทานต่ อ 3 เม็ดทุก 3 ชม. • ลูก ทานยา AZT(10mg/ml)ในขนาด 2 mg/kg ทุก 6 ชม.เป็ นเวลา 6 สั ปดาห์

• แยกมารดาและทารกในกรณีที่ยงั ไม่ แน่ ใจว่ าทารก ได้ รับเชื้อจากมารดาหรือไม่ • งดใหนมมารดา งดให้ นมมารดา • ในกรณีที่ทารกตรวจพบเชื้อแล้ วให้ ทารกอยู่กบั มารดาได้ ตามปกติ • Hygine care • สั งเกตผิดปกติทั่วไป 22/01/52

22/01/52

8

1/22 22//2009

อาการ •ระยะนํา Paralytic มีไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ มี อาการคล้าน Meaningitis •ระยะอัมพาต Paralytic stage กล้ามเนื้ออ่อน ปวกเปี ยก •ระยะฟื้ นตัว Recovery stage ถ้าเซลไม่ถูก ทําลายมาก จะกลับคืนปกติภายใน 4-6 wks

ไข้เลือดออก เกิดจาก Dengue virus serotype 1 ,2, 3, 4, Arbovirus group A และ Chikunya aegypti เชื้ือเข้า้ ไป ไปทําํ ลายเม็ด็ เลืือดแดง ทําํ ให้ ใ เ้ ม็ด็ เลืือด แดงแตก Platlet จะตํ่า และนํ้าและ Plasma Plasmaซึซึม ออกนอกเส้นเลือด ทําให้ Hct สูง Tuniquest Test Positive( > 15 จุด)

อาการ •ระยะไข้สูง 3-7 วัน เฉลี่ย 5 วัน •ระยะ Shock ไข้ลง แต่เม็ดเลือดแดงแตก ระยะนี้ นาน 2424-48 ชม ชม.. ตับโต •ระยะพักฟื้ น อาจมอาการนํ้าเกินได้

ไอกรน เกิดจากเชื้ อ Bordertella Pertussive อาการ ระยะแรกมีไี ข้ ตอมาไอ ไ ่ มาก ไอเป็ และชักได้ TB นวัณชุดโรค เกิดจากเชื้อ Mycobacterium Tuberculusis

คอตีบ ( Diptheriae) เกิดจากเชื้ อ Conynebacterium Diptheriae อาการ จะพบอาการบวมของ เนื้อเยือ่ รอบกล่องเสี ยง

Pharyngitis มีไข้ เจ็บคอ เบื่ออาหาร ไอ

Tonsullitis ไอ เจ็บคอ มีไข้ กลืนอาหารลําบาก Otitis มีไข้ ปวดหู

9

1/22 22//2009

Croup Syndrome กระเพาะอาหารอักเสบ ลําไส้อกั เสบ Bronchitis

เกิดได้ท้ งั จากไวรัสและแบคทีเรี ย Shigellosis, Samonella ,Amebic ,Entameba histolitika อาการ

Pneumonia

มีไข้ รวมกั บถาย ่ ่ เหลว ต่อมาอาจมีถ่ายเป็ นมูกเลือด

Deficit Therapy

การักษา • Maintenance Therapy ทดแทนหน้าที่ทวั่ ไป BW 0-10 kgs ให้ 100 cal/kg ((100 100ml/ ml/100 100cal) cal) 10--20 kgs ใช้ 1000+ 10 1000+50 50cal/kg cal/kg นน นน..ที่เกิน 10 kg >20 1500+ 1500+20 cal/kg นน. นน.ทิ่เกิน 20 kg

• Mild Dehydration นน นน..ลดลง 3-5% มีการขาด นํ้า 30 30--50 ml/kg อาการปากแห้ง skin turkor เล็กน้อย • Moderate Dehydration นน นน..ลด 5-7% ขาดนํ้า 50--70 ml/kg ซึมปากแห้ง pulse เบาเร็ ว ปั สสาวะ 50 ออกน้อย • Severe Dehydration นน นน..ลด ลด>>7% ขาดนํ้า 70 70-100 l/k ไม่ร้สึกตัว

Replacement Therapy การให้สารนํ้าทดแทนอย่างเร็ ว ใน 4 ชม ชม..แรก เด็กเล็ก 6 ชม ชม..

• นน นน..ลด ลด<<5%(Mild) ให้ 50 ml/kg

หลักการทดแทน • ถ้าขาดนํ้ามาก ใน 24 24hrs hrs แรก ให้ได้ไม่เกิน 10 10% %

นน..ลด 5-10 10% % • นน

ให้ 50 ให 50--100 ml/kg

• นน นน..ลด ลด10 10% %

ให้ 100100-200 ml/kg

ให้ 5%( %(50 50ml/kg) ml/kg)

• นน นน..ลด 15 15% %

ให้ 150 ml/kg

• Maintenance เท่ากับ 100 100ml/ ml/100 100 cal

ถ้าไมขาดนํ ้า ่

• ทดแทนส่ วนที่เสี ยไปเรื่ อยๆ เช่นถ้ายังถ่ายอยู่

10

1/22 22//2009

หลักการให้ ORS

การให้ ORS ทดแทนครั้งที่ถ่าย

• mild ถ่าย 1 ครั้งทุก 2 ชม ชม.( .(55ml/kg/hr) •Moderate ถ่าย > 1 ครั้งใน 2 ชม ชม.( .( 10 10ml/kg/hr) ml/kg/hr) • รุ นแรงมาก ถ่ายตลอดเวลา (20 20ml/kg/hr) ml/kg/hr) ต้องคิด Deficit + Maintenance

Meaningitis เยือ่ หุ ม้ สมองอักเสบ เกิดไดทั ้ ง้ จาก Bacterial และ Virus จากทางเดนหายใจแลวเขาสู จากทางเดินหายใจแล้วเข้าส่ ระบบ ไหลเวี ย น แบคทีเรี ยที่พบบ่อยคือ Hemofhilus Influenza Type ,Neisseria meningitides เกิดจากเชื้อ Herpes virus หัด คางทูม

• อายุตา่ํ กวา่ 2 ปี ให้ 1/4-1/2 แก้ว( 24 ออนซ ออนซ์) ออนซ) •อายุ 2-10 ปี ให้ 1/2-1 แก้ว(4-8 ออนซ์) • อายุมากกวา่ 10 ปี ให้ 1-2 แก้ว (816 ออนซ์)

อาการ มีไข้หนาวสั่ น ซึม ไม่ ค่อยดูดนม ชัก คอแข็ง Kernic and Brudzinski sign ได้ผล บวก อาจพบจุดเลือดออกเล็กๆ Petechia ไวต่อการตอบสนอง ปวดกล้ามเนื้ อ กลัวแสง กลวแสง Lab Lumbar Puncture พบมี Lymphocyte และ Mononuclear มากขึ้น

การรักษา ยาลดไข้ ยาคลาย กล้ามเนื้อ Acetaminophen(Junifen) และยา ปฏิชีวนะ

Encephalitis (สมองอักเสบ) เสบ) สาเหตุ ติดเชื้อ ไวรัส แบคทีเรี ย โปรโตซัว หลังจากฉี ดวัคซีนหัด หัดเยอรมัน อาการ มีไข้ ซึม คลื่นไส้ อาเจียนพุง่ เคี้ยวกลืน ลําบาก ชัก คอแข็ง กล้ามเนื้อทํางานไม่ประสานกัน

Sepsis เกิดจากการติดเชื้อเข้ าสู่ กระแสเลือด อาจเกิด จากการติดิ เชืื้อในระบบต่ ใ ่ างๆนํามาก่่ อน หรืือติิดจาก มารดาเมือ่ อยู่ในครรภ์

11

1/22 22//2009

ทารกที่มภี าวะติดเชื้อหลังคลอด

ภาวะsepsis แบ่ งออกได้ เป็ น 2 ระยะคือ • Early sepsis เป็ นทารกที่มอี ายุตํ่ากว่ า 4 วัน อาการรุนแรงและมีอตั ราการตายค่ อนข้ างสู ง เกิดจา การติดเชื้อจากมารดาตั้งแต่ อยู่ในครรภ์ หรือขณะ คลอด

เป็ นปัญหาที่พบบ่ อยและเป็ นสาเหตุสําคัญอันดับ หนึ่งที่ทําให้ ทารกตายได้ สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อพวกกรัมบวกและกรัมลบ

• Late Sepsis เป็ นอายุ 4 วันขึน้ ไป สาเหตุเกิดจา การติดเชื้อจากการคลอดหรือช่ องคลอด และเชื้อจาก ภายนอก

เชื้อที่พบได้ บ่อยคือเชื้อพวก E.Coli, Pseudomonas,Samonella

ปัจจัยเสี่ ยงต่ อการเกิด nepnatal sepsis • ปัจจัยเกีย่ วกับมารดา เช่ น ฐานะทางเศรษฐกิจ, สุ ขภาพ,การเจ็บป่ วยที่สามารถติดไปสู่ ทารก,ปัญหา ระหว่ างการคลอดเช่ น PROM •ปัจจัยเกีย่ วกับตัวทารก เช่ นกลไกการป้องกัน ทารก คลอดก่ อนกําหนด,เพศ,ทารกพิการแต่ กาํ เนิด •ปัจจัยเกีย่ วกับเชื้อโรค

การวินิจฉัย •ตรวจเลือด CBC,ESR เป็ นต้ น

อาการ • ง่ วงซึม ตัวร้ อนหรือตัวเย็น , ดูดนมได้ น้อยลง •ระบบทางเดินหายใจ หายใจผิดปกติ,ตัวเขียว •ระบบไหลเวียน หัวใจเต้ นช้ าหรือเต้ นเร็ว ความดันตํ่า ช็อค •ระบบทางเดินอาหาร ท้ องอืด,ตับม้ ามโต,อาเจียน,ท้ องเสี ย •ระบบประสาท ซึม, ชัก,กระวนกระวาย รีเฟลกซ์ ไวหรือช้ า •ระบบโลหิต ซีด, เหลือง,จํา้ เลือดตามตัว,เลือดออกง่ าย

การรักษา •ยาปฏิชีวนะ •รักษาตามสาเหตุ

•เพาะเชื้อโดยตรง

•รักษาแบบประคับประคอง เชนใหออกซเจนถาตวเขยว •รกษาแบบประคบประคอง เช่ นให้ ออกซิเจนถ้ าตัวเขียว

•เจาะหลัง

•รักษาภาวะแทรกซ้ อน

•VDRL,HIV,Hepatitis ,IgM หลังคลอด

•ควบคุมไม่ ให้ มกี ารระบาดของโรค เช่ นแยกห้ อง

12

1/22 22//2009

ภาวะติดเชื้อที่พบได้บ่อย Syphilis เกิดจากเชื้อ Treponema pallidum Intra-Uterine-Infection เป็ น Congenital Syphilis และมีความพิการแต่ กาํ เนิดได้ อาการแสดง ม2 มี2 ระยะคอ ระยะคือ •Early congenital syhpilis พบในสองขวบแรก พยาธิสภาพคล้ ายกับผู้ใหญ่ ในระยะที่สอง •Late congenital syhpilis พบในเด็อายุมากกว่ า 2 ปี พยาธิสภาพตรง กับที่พบในผู้ใหญ่ ระยะที่ 3 ซึ่งในบางครั้งอาจดําเนินไปตลอดชีวติ

•Congenital Herpes simplex อาการที่พบในทารก ซึม ไม่ ดูดนม สํ ารอก อาจพบ ผิวหนังมีต่ ุมพอง •Congenital toxoplasmosis มารดามีปี ระวัตั ิกนิ เนืือ้ ดิบิ ๆ หรืือเปรอะเปื ป ปื้ อนมูลแมว มีี ไข้ ตํ่าๆ ปวดกล้ ามเนือ้ มาก่ อน อาจมีผนื่ เป็ น maculepapular อาการที่พบในทารก ซีด มีจาํ้ เลือดตามผิวหนัง ดีซ่าน ม้ ามโต ศีรษะเล็กคล้ าย CMV ทดสอบโดยหา IgM ได้ ผลบวกต่ อ toxoplasma gondii

Hydrops fetalis ทารกมีอาการบวมทัว่ ตัว ซีด ตับม้ ามโต สาเหตุ เกิดจากโรคเม็ดเลือดแดงแตกง่ ายในทารกแรกเกิด Rh incompatibility มารดามี Rh type ลบ ในขณะที่บิดามี Rh type บวก บุตรมี Rh type บวก ทําให้ เลือดแม่ และลูกไม่ เข้ ากันเกิดภาวะเม็ดเลือด

การวินิจฉัยแยกจากโรค • Investigate จาก Congenital rubella ซึ่งจะพบว่ ามารดาประวัติ มีไข้ มผี ื่นขึน้ มาก่ อน และทารกที่เกิดจากมารดาที่เป็ นหัดเยอรมันจะ พบว่ ามีลกั ษณะเด่ นชัดคือ มีจุดเลือดออกตามตัว,ศีรษะเล็ก, กระหม่ อมหน้ ากว้ าง,ตาเป็ นต้ อกระจก,กระจกตาขุ่นฝ้ า,ต้ อหิน, หัวใจพิการแต่ กาํ เนิด,อาจมีความพิการทางปัญญาและโครสร้ าง ของกระดูกได้ ไ้ •Congenital cytomeglovirus มักพบว่ าทารกมีศีรษะเล็กกว่ าปกติ มีจาํ้ เลือดตามผิดหนังเป็ นลักษณะเด่น(echymosis) ตัวเหลืองจัดภายใน 24 ชม. ซีดและตายได้

•ติดเชื้อในทารกแรกเกิดมารดามักมีประวัติ มีไข้ ในระยะใกล้ คลอด เป็ นเบาหวาน ครรภ์ เป็ นพิษ มีถุงนํา้ ครํ่าแตกก่ อนคลอด นานๆ ทําให้ ทารกที่คลอดออกมาอาจมีอาการซีด ตัวร้ อนหรือ เย็นผิดปกติ ซึม ไม่ ดูดนม หายใจไม่ สมํา่ เสมอ ท้ องเดิน แขนขา อ่ อนเพลีย จํานวนเกร็ดเลือดตํ่า Congenital Leukemia พบไม่ บ่อย จะพบว่ าทารกจะเลีย้ งไม่ ค่อยโต ซีด ตับม้ ามโต พบจํา้ เลือดและผืน่ ทัว่ ไปตามร่ างกาย ตรวจพบ เซลล์ เม็ดเลือดขาว อ่ อนจํานวนมาก

การวินิจฉัย •

อาการและอาการแสดงในทารก

•การทดสอบ serum จาก cord blood คือตรวจ VDRL ถ้ ามารดาติดเชื้ ในระยะใกล้ คลอดอาจไม่ พบในทารก ตรวจซํ้าอีกครั้งเมือ่ ทารกอาย 3 เดอน ตรวจซาอกครงเมอทารกอายุ เดือน

แดงแตกง่ าย เกิดจาก Abnormal Hemoglobonopathy พบบ่ อยใน

•ประวัติมารดา

เด็กไทย

•การถ่ ายภาพรังสี พบว่ ามีการเปลีย่ นแปลงของกระดูกชนิดยาว

และชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดจากทารกสร้ าง y chain ของ

มีการเปลีย่ นแปลงเป็ นแถบกว้ างมองเห็นรังสี เป็ นแนวขวาง

hemoglobin อย่ างเดียวโดยไม่ สร้ างอัลฟา chain ของ hemoglobin

13

1/22 22//2009

การรักษา รักษาทันทีที่พบว่ าเป็ น โดยให้ ยาปฏิชีวนะกลุ่ม เพนนิซิลลิน การรักษาแบบประคับประคอง การป้ องกัน

บาดทะยักในทารกแรกเกิด

สาเหตุ เกิดจากทารกติดเชื้อติดเชื้อทางบาดแผล หรือทางสาย สะดือที่ตัดจากอุปกรณ์ ที่ไม่ สะอาด ระยะฟักตัวโดยเฉลีย่ 3-21 วัน

ตรวจ VDRL ในหญิงมีครรภ์ ทุกราย

การวินิจฉัย

การรักษา

•จะพบว่ าทารกมีลกั ษณะขากรรไกรแข็ง แสยะปาก •ชักเกร็ง ที่คอ ท้ อง แขนขาเกร็งแม้ จะหยุดชักแล้ วก็ตาม

ให้ Antitoxin ชนิด TAT หรือ TIG

•วิวนจฉยแยกออกจากภาวะ นิจฉัยแยกออกจากภาวะ septicemia ซงทารกจะมาดวย ซึ่งทารกจะมาด้ วย

( tetanus immune globulin) ให้ ยาคลายกล้ ามเนือ้

ไม่ ดูดนมเหมือนกัน แต่ ทารกจะไม่ มอี าการเกร็ง ไม่ มขี า กรรไกรแข็ง โรคเยือ่ หุ้มสมองอักเสบ ซึ่งต้ องตรวจนํา้ ไขสั น หลังดู ภาวะแคลเซียมตํ่าในเลือด ซึ่งมักจะชักทีบ่ ริเวณปลาย

การรักษาแบบประคับประคอง ให้ Antibiotic

มือปลายเท้ า

การป้ องกันและการพยาบาล •ให้ สุขศึกษาแก่ หญิงมีครรภ์ •ให้ วคั ซีนป้ องกันบาดทะยักแก่ หญิงมีครรภ์ •แนะนําเรื่องการคลอดที่ถูกสุ ขลักษณะ

ทารกที่มารดาเป็ นวัณโรค

พบ Congenital tuberculosis ได้ น้อย เกิดจากการที่ทารกติด มารดาตั้งแต่ อย่ ในครรภ มารดาตงแตอยู นครรภ์ หรอขณะคลอดหรอในระยะหลงคลอดได หรือขณะคลอดหรือในระยะหลังคลอดได้ ในกรณีที่มารดาอยู่ในระยะติดต่ อ

ดูแลเรื่องอุบัติเหตุ และภาวะขาดออกซิเจนขณะชัก

14

1/22 22//2009

การติดเชื้อ ไวรัสในทารกแรกเกิด

การดูแลป้ องกัน •

ให้ วคั ซีน BCG แก่ ทารกหลังคลอดทุกราย

สาเหตุ



ไม่ จําเป็ นต้ องแยกมารดาและทารกในกรณีที่มารดารักษาครบ

เกิดจากการติดเชื้อตั้งแต่ อย่ ในครรภ เกดจากการตดเชอตงแตอยู นครรภ์ หรอการตดเชอ หรือการติดเชื้อ ในระยะหลังคลอด เชื้อที่พบได้ บ่อยคือ HIV ,Hepatitis, CMV,เริม,อีสุกอีใส,หัดเยอรมัน, โปลิโอ เป็ นต้ น

ติดตามดูอาการอย่ างใกล้ ชิดในระยะ 3 เดือนหลังคลอด •รักษาโดยให้ ยามารดาและทารกควบคู่กนั ไป

อาการและอาการแสดง หัดเยอรมัน พบว่ าทารกจะมีอาการตาเป็ นต้ อกระจก ต้ อ หิน ตาขุ่น หูหนวก หัวใจพิการ ปัญญาอ่ อน Cytomegalo virus พบทารกมีภาวะศีรษะเล็ก (microcephaly) หู หนวก ม่ านจอตาอักเสบ หินปูนเกาะในเนือ้ สมอง พบปัญญา อ่ อนได้ เริม พบคล้ ายกับการติดเชื้อแบคทีเรีย มักติดในระยะคลอดมากกว่ า ครรภ์ พบเม็ดนํา้ พองใสตามผิวหนัง ศีรษะ เยื่อบุปาก

การวินิจฉัยแยกโรค ต้ องซักประวัติมารดาให้ ชัดเจนตั้งแต่ ระยะตั้งครรภ์ หรือระยะคลอด

อีสุกอีใส(Chicken Pox) จะพบว่ าแขนขาทารกไม่ เจริ ญเติบโต เหมือนเด็กปกติ มีรอยแผลเป็ นที่ผิวหนัง บางรายอาจมีชัก ตาเป็ นต้ อ กระจก ศีรษะเล็กร่ วมด้ วย Toxoplasmosis พบทารกมีศีรษะเล็ก ม่ านจอตาอักเสบ มี หินปนน หนปู คางทูม ทําให้ ทารกเป็ นโรคหัวใจ ชนิด endocardial เกาะในเนือ้ สมอง fibroelastosis ไข้ หวัดใหญ่ ถ้ ามารดาติดเชื้อในระยะสามเดือนแรกอาจมีผลทํา ให้ ทารกพิการแต่ กาํ โปลิ เนิดโได้ อ ทําให้ ทารกแขนขาลีบได้

CMV พบได้ บ่อยในอเมริกาและยุโรป ทําให้ ทารกมีภาวะปัญญา อ่ อนตั้งแต่ เกิด อาการแสดงทารกจะมีภาวะศีรษะเล็ก ปัญญาอ่ อน

หัดเยอรมัน(Rubella)ถ้ ามารดาติดเชื้อตั้งแต่ อยู่ในไตรมาสแรกของ การตั้งครรภ์ จะทําให้ แท้ งบุตร ได้ ถ้ าไม่ แท้ งก็จะมีโอกาสเสี่ ยงที่จะทํา ให้ ทารกมีความพิการแต่ กาํ เนิดสู ง ความพิการที่พบได้บ่อยคือหูหนวก

สมอง

รองลงมาคือ ตาผิดปกติ ถ้ าติดเชื้อภายใน 8 สั ปดาห์ แรกก็จะทําให้ พบ

Herpes simplex virus เชื้อที่พบบ่ อยคือ HSV type 2 ติดในระหว่ าง

ภาวะPDA ร่ วมด้ วย นอกจากนั้นพบภาวะเกร็ดเลือดตํา่ ได้ ปอดและ สมอง

ตับม้ ามโต ตัวเหลือง จุดเลือดออกตามตัว จอตาอักเสบ หินปูนเกาะในเนือ้

การคลอด อาการจะพบคล้ ายๆกับ CMV คือมีไข้ หรือตัวเย็น ซึม ไม่ ดูดนม ตับม้ ามโต หายใจลําบาก ซึม อาจชักได้ ที่พบเด่ นๆคือ ผิวหนังมี vesicle

อักเสบได้

15

1/22 22//2009

อีสุกอีใส เกิดจาการติดเชื้อ vericella-zoster virus ถ้ ามารดาป่ วยเป็ น

ไวรัสตับอักเสบ บี(Hepatitis B) ทารกที่ตรวจพบว่ าเกิดจากมารดาที่เป็ น

อีสุกอีใสภายใน 4 เดือนแรก อาจทําให้ ทารกพิการแต่ กาํ เนิดได้ เช่ นกล้ าม

พาหะพบ HBeAg +ve มีโอกาสสู งที่จะได้ รับเชื้อจากมารดา ติดต่ อได้ ทางเลือด

เนือ้ แขนขาลีบ แผลเป็ นที่ผิวหนัง หัวเล็ก สมองฝ่ อ ตาอักเสบ และถ้ า

สารคัดหลัง่ เพศสั มพันธุ์ ผลต่ อทารกคือ Jaundice ตับแข็งและเป็ นมะเร็งที่

มารดามีการติดเชื้อในระยะ 5-10 วันใกล้ คลอดก็จะอันตรายทําให้ มีอตั รา

ตับได้ สูง

การตายได้ สูงเช่ นกัน Enterovirus พบได้ ในทางเดินอาหาร ได้ แก่ พวก โปลิโอ ค๊ อกแซคกี้

ไวรัสภูมิคุ้มกันบกพร่ อง (HIV) การติดต่ อคล้ าย HBV ทารกที่เกิดจากแม่ ที่ติดเชื้อ HIV จะแสดงอาการตั้งแต่ 4 เดือนขึน้ ไป ถ้ าติดในไตรมาสแรก ก็มี

เอและบี ไวรัสตับอักเสบ ซึ่งจะทําให้ มีผลต่ อโรคตับ หัวใจและระบบ

ผลต่ อความพิการแต่ กาํ เนิดในทารกได้ เช่ นเดียวกัน อาการที่พบคือ ทารกไม่

ประสาท

เจริญเติบโต ป่ วยบ่ อย ตับม้ ามโต ท้ องเสี ยเรื้อรั ง เป็ นเชื้อราในปาก

การรักษา •รักษาแบบประคับประคอง

ติดเชื้อทางเดินหายใจแต่มีอาการแสดงทางผิวหนัง

การพยาบาล

•ป้องกันการแพร่ กระจายเชื้อ •งดนมแม่ หลังคลอด

Dermatitis

•Hygine care •สั ญญาชีพ

Neprotic Syndrome UTI อาการ ปั สสาวะขัด ปวด Acute Pyelonephritis

AGN Acute Glomerulo Nephritis

16

1/22 22//2009

บทบาทการพยาบาลเมื่อเด็กมีไข้ • ดูแลให้ใส่เสื้ อผาที ่ บอุน ้ อ ่ • เช็ดตัวลดไขเมื ่ ไขมากกว า่ ้ อ ้ 37.5 37 5 องศาเซลเซยส องศาเซลเซี ยส •ให้ยาลดไข้เมื่อไข้สูงกว่า 38 องศาเซลเซี ยส

Hope you will get the good point

•ดูแลให้ได้รับนํ้า •ดูแลให้ทานอาหารที่มีประโยชน์ High Vit C

17

Related Documents

Fever Cause In Children
December 2019 10
Fever
May 2020 29
Fever
July 2020 21
Fever
November 2019 44
Fever
June 2020 21