1
สรุปกฎหมายลักษณะพยาน *
. .
.
.
93, 94, 95
226, 232 *
1 พยานบุคคลหมายถึง บุคคลที่มาเบิกความต่อศาลและการเบิกความของพยาน บุคคลจะเป็นการเบิกความจากความทรงจำาของตนจากสิ่งที่ตัวเองได้ประสบ พบเห็นมา (1) พยานบุคคลอาจเป็นพยานวัตถุก็ได้ (2) บุคคลที่มาพูดหรือติดต่อศาลไม่ได้หมายความว่าเป็นพยานบุคคลเสมอไป เพราะจะเป็นพยานได้ต้องยื่นระบุบัญชีพยานด้วย(ฎ.145/2522,3130/2523) วินิจฉัยว่า โจทก์หรือจำาเลย ไม่ได้ยื่นระบุบัญชีพยาน แต่อ้างตนเองเป็น พยานและนำาตัวเองเข้าสืบ ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า ศาลไม่ยอมให้สืบเพราะไม่ได้ ระบุบัญชีพยาน แม้จะอ้างว่าเป็นโจทก์หรือคู่ความก็ตาม พยานบุคคลจะเบิกความถึงเหตุการณ์ในอดีต ตรรกของการเบิกความของพยานบุคคลประกอบด้วย 3 ขั้นตอน • การสัมผัสกับเหตุการณ์ทเี่ กิดขึ้น • การจดจำา • การถ่ายทอด หลักเกณฑ์ในการรับฟังพยานบุคคลแบ่งได้ 3 หลักคือ • ความสามารถในการที่จะเป็นพยาน • ลักษณะของความใกล้ชิดกับข้อเท็จจริงของพยาน • ลักษณะของการถ่ายทอดข้อเท็จจริง พยานบอกเล่าตามกฎหมายไทย 95 ห้ามมิให้ยอมรับฟังพยานบุคคลใด เว้นแต่บุคคลนั้น (1) สามารถเข้าใจและตอบคำาถามได้ และ (2) เป็นผู้ที่ได้เห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความเกี่ยวในเรื่องที่จะให้การ เป็นพยานนั้นมาด้วยตนเองโดยตรง แต่ความในข้อนี้ให้ใช้ได้ตอ ่ เมือ ่ ไม่มี บทบัญญัติแห่งกฎหมายโดยชัดแจ้งหรือคำาสั่งศาลว่าให้เป็นอย่างอื่น
2
บทบัญญัติว่าด้วยการห้ามรับฟังพยานบอกเล่าของไทยต่างจากหลักสากลอยู่ หลายประการ 1 มาตรา 92 ใช้กับพยานบุคคลเท่านั้น ไม่ใช้กับพยาน เอกสารหรือพยานวัตถุ พยานบอกเล่าจะมีสิ่งที่สำาคัญเกี่ยวเนื่อง 3 สิ่ง • ตัวบุคคลที่ไปประสบพบเห็นข้อเท็จจริงหรือที่เรียกว่าผู้บอกเล่า • ข้อความที่เขาบอกเล่าซึ่งมีลักษณะเป็นการติดต่อสื่อวารระหว่างผู้ บอกเล่ากับพยานบอกเล่า • ตัวพยานบอกเล่า มาตรา 95(2) ห้ามรับฟังพยานบอกเล่าเฉพาะสื่อทีเ่ ป็นบุคคลเท่านั้น แต่ถ้า บุคคลที่ไปประสบพบเห็นเหตุการณ์และถ่ายทอดลงสื่ออื่นเช่นในเอกสารหรือ วัตถุตา่ งๆ ก็ไม่ตอ ้ งห้ามรับฟังตามมาตรา 95(2) เพราะบันทึกดังกล่าวไม่ใช่พยาน บุคคล • แนวฎีกาถือว่า คำาให้การชั้นสอบสวน เป็นพยานบอก เล่า(ฎ.3825/2524,2957/2532) 2 การที่บุคคลมาเป็นพยานแล้วเบิกความถึงคำาบอกเล่าของ ผู้อื่น หรือเบิกความถึงคำากล่าวหรือคำาพูดของคนอื่นไม่ได้หมายความว่าพยาน บุคคลนั้นจะเป็นพยานบอกเล่าเสมอไป ต้องดูจุดประสงค์การนำาพยานนั้นมา สืบด้วย เพราะถ้าพยานนั้นเบิกความถึงคำาพูดหรือคำากล่าวของคนอื่นเพียงเพื่อ พิสูจน์ว่ามีการกล่าวคำาพูดนั้นจริงๆเช่นนี้ การนำาสืบเพื่อพิสูจน์ความมีอยู่ของ คำาพูดหรือคำากล่าวนั้น ดังนั้น เมื่อตัวพยานบุคคลได้ยินการกล่าวข้อความมา ด้วยตนเอง พยานบุคคลนั้นก็จะเป็นประจักษ์พยาน ไม่ใช่พยานบอก เล่า(ฎ.266/2488) 3 คำาบอกเล่าซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเหตุการณ์ที่เป็นประเด็น แห่งคดีหรือเกี่ยวเนื่องกับประเด็นแห่งคดี ไม่ถือว่าเป็นพยานบอกเล่า 304/2500 ตำารวจเป็นพยานเบิกความว่าพอเกิดเหตุแล้ว จำาเลยได้ออกมาจากที่เกิดเหตุฆาตกรรมมีผู้ดเดินตามจำาเลยออกมาและชี้บอก แก่ตำารวจให้จับจำาเลยเป็นคนแทงผู้ตาย คำาของตำารวจเป็นพยานชั้นหนึ่ง ไม่ใช่พยานบอกเล่าเพราะคำาบอกเล่าของผู้ที่ตามจำาเลยออกมานั้นเป็นคำาบอก เล่าในขณะที่กระชั้นชิดทันทีซึ่งตามธรรมชาติยังไม่ทันมีช่องโอกาสแกล้ง ปรักปรำา ศาลรับฟังประกอบพฤติเหตุอื่นๆลงโทษจำาเลยได้
3 308/2510 ผู้ตายคิดว่าตนเองจะยังไม่ตายได้บอกกำานัน ระบุชื่อจำาเลยว่าเป็นคนร้ายที่ยงิตนโดยไม่ปรากฏว่าในขณะนั้นผู้ตายมีสติ ฟั่นเฟือนเพราะความเจ็บปวดหรือสำาคัญผิดในตัวคนร้ายหรือคาดคะเน คนร้ายโดยพลการแต่ประการใด คำาบอกเล่าเช่นนี้รับฟังได้ในฐานะเป็นคำา บอกกล่าวในเวลากระชั้นชิดกับเหตุการณ์ที่ยังไม่มีโอกาสที่ผู้บอกเล่าจะคิด ใส่ความได้ทัน เป็นพฤติการณ์ประกอบพยานโจทก์นำาไปสู่การติดตามรูต ้ ัว ผู้กระทำาผิดและได้พยานหลักฐานอื่น(
4418/2533
)
2 ให้ดูมาตรา 85, 86, 87, 93, 94, 95 ระบบคอมมอนลอร์การนำาพยานเข้าสู่ศาลและการใช้พยานในการวินิจฉัย คดีมข ี ั้นตอนทีส ่ ำาคัญ 2 ขัน ้ ตอน คือ ขั้นตอนแรก เป็นการวินิจฉัยว่า พยานหลักฐานนั้นจะรับฟังได้หรือ ไม่(ADISSIBILITY) ขั้นตอนทีส ่ อง การชั่งนำ้าหนักพยานหลักฐาน การห้ามมิให้รับฟัง ตามมาตรา 86,87,93,94,95 ไม่ได้หมายความว่า ห้าม รับฟังโดยเด็ดขาด แต่ศาลมีดุลพินิจที่จะนำาพยานมาประเมินหรือชั่งนำ้าหนัก ได้ แต่ต้องให้นำ้าหนักน้อยกว่าพยานที่รับฟังได้
4 3825/2524 คำาให้การของพยานในชั้นสอบสวนเป็นพยาน หลักฐานอย่างหนึ่งทีจ ่ ะนำามาประกอบการวินิจฉัยในการรับฟังเกี่ยวกับข้อเท็จ จริงแห่งพฤติการณ์ และการกระทำาทั้งหลายนั้นได้ ไม่มีบทบัญญัติกม.ใดห้าม ไว้โดยเด็ดขาด(ฎ.3620/2524) 2957/2532 คำาให้การของผูร ้ ู้เห็นเหตุการณ์ในชั้นสอบสวน ไม่มีกม.บัญญัตม ิ ิให้รับฟังประกอบพยานหลักฐานอื่น ดังนั้น ศาลรับฟังคำา ให้การชั้นสอบสวนของพยานดังกล่าวประกอบพยานหลักฐานอื่นและ พฤติการณ์ในคดีลงโทษจำาเลยได้ 3 ตามมาตรา 95(2) ตอนท้ายได้บัญญัติว่า แต่ความข้อนี้ให้ใช้ได้ต่อเมื่อไม่มี บทบัญญัติแห่งกม.โดยชัดแจ้งหรือคำาสั่งศาลว่าให้เป็นอย่างอื่น ความข้อนี้ก็คือบทบัญญัติที่ห้ามรับฟังพยานบุคคลเว้นแต่ จะเป็นผู้ที่ได้ เห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความในเรือ ่ งที่จะให้การเป็นพยานนั้นมาด้วย ตนเองโดยตรง ป.วิ.อาญามีมาตรา 134 เท่านั้นที่เป็นบทบัญญัติของกม.ที่บัญญัติให้รับฟัง พยานบอกเล่าได้
หมายถึง ข้อความซึ่งคู่ความฝ่ายหนึ่งได้บอกเล่า(ด้วยวาจา,ลายลักษณ์ อักษร,หรือการสือ ่ ความหมายอย่างใด) ต่อบุคคลอื่น แล้วคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง อ้างบุคคลอื่นนั้นเป็นพยาน 1057/2525 โจทก์จำาเลยพิพาทกันว่าใครมีสท ิ ธิครอบครองที่ พิพาท ข้อความที่จำาเลยเคยกล่าวต่อบุคคลภายนอกว่าจำาเลยรับจำานำาที่นา พิพาทไว้จากโจทก์ เป็นคำากล่าวที่เป็นปฏิปักษ์ต่อผลประโยชน์ของตนใช้ยัน จำาเลยได้ เพราะการที่จำาเลยเคยพูดยอมรับว่าตนรับจำานำาที่นาไว้จากโจทก์ ย่อมเท่ากับจำาเลยยอมรับว่าตนไม่ใช่เจ้าของ เพราะเจ้าของจะรับจำานำาทรัพย์ ของตนเองไม่ได้ ดังนั้น พยานบุคคลปากนี้จึงมีประโยชน์แก่ฝ่ายโจทก์ที่จะ พิสูจน์ว่าจำาเลยไม่ใช่เจ้าของที่พิพาท 1819/2532 จำาเลยยอมรับต่อเจ้าพนักงานตำารวจที่กรม ตำารวจว่าจำาเลยเป็นผู้แก้ไขตำาแหน่งและเลขประจำาตำาแหน่งในบันทึกขอบรรจุ ข้าราชการตำารวจ ซึ่งผู้บังคับบัญชาของจำาเลยเคยเสนอแต่งตั้งจำาเลยให้เลื่อน
5 ตำาแหน่งสูงขึ้น คำาบอกเล่าเช่นนี้ ทำาให้ตนเสียเปรียบหรือเสียประโยชน์ สามารถรับฟังได้ 2 หมายความว่าเป็นคำาบอกเล่าหรือเป็นคำากล่าวซึ่งบุคคลคนหนึ่งได้บอก เล่าไว้แก่บุคคลอื่นอาจจะด้วยวาจาหรือลายลักษณ์อักษรแล้วต่อมาผู้บอกเล่า ถึงแก่ความตายก่อนทีจ ่ ะเข้าเบิกความเป็นพยาน เงื่อนไขที่จะรับฟังคำาบอกเล่าของบุคคลทีต ่ ายไปแล้ว มีหลายกรณีด้วยกันดังนี้ ( ) ที่รับฟังได้เพราะบุคคลทั่วไปไม่มม ี ูลเหตุจูงใจทีจ ่ ะกล่าวเท็จให้ตรง เองเสียประโยชน์ แต่บุคคลอาจจะกล่าวเท็จให้ตัวเองได้ประโยชน์ได้ ( ) หมายถึงคำาบอกเล่าหรือคำากล่าวของบุคคลซึ่งทำาขึ้นในหน้าที่การ งานของเขาและต่อมาผู้บอกเล่าถึงแก่ความตาย โดยมีเงือ ่ นไขสำาคัญ 3 ประการ 2.1 เป็นคำาบอกเล่าเกี่ยวกับกิจการซึ่งผู้บอกเล่ากระทำาอยู่เป็นปกติ 2.2 ผู้บอกเล่าจะต้องมีหน้าที่ในการบอกเล่าหรือทำาบันทึกนั้น 2.3 คำาบอกเล่านั้นทำาขึ้นในระยะใกล้เคียงกับข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ( ) สิทธิสาธารณะหมายถึงสิทธิที่ประชาชนมีอยู่ในสาธารณสมบัตข ิ องแผ่น ดินที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน สิทธิที่ประชาชนมีอยู่ร่วมกันหมายถึง ทรัพย์สินนั้นอาจจะไม่ใช่สาธารณ สมบัติแผ่นดินแต่เป็นทรัพย์สินที่เป็นส่วนกลางและประชาชนสามารถเข้าไป ใช้สอยได้ร่วมกันเช่น ทีด ่ ินของวัด ศาลาประชาคม ห้องสมุดประจำาหมู่บ้าน ส่วนมากคำาบอกเล่าประเภทนี้จะเป็นคำาบอกเล่าเกี่ยวกับเขตของที่วัดหรือ สาธารณสมบัตข ิ องแผ่นดินว่ามีอาณาเขตอย่างไร(ฎ.1758-9/2516,863-5/2519) 863-5/2519 กรมศิลปากรเป็นโจทก์ฟ้องขับไล่จำาเลยหลายคน ที่เข้ามาอยู่ในเขตวัดศรีดอนคำา จังหวัดแพร่ กรมศิลปากร ได้นำาสืบตำานาน พระธาตุร่องอ้อซึ่งในตำานานดังกล่าวได้กล่าวถึงวัดห้วยอ้อซึ่งศร้างมาตั้งแต่ โบราณกาลแล้วต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นวัดศรีดอนคำา ตำานานนี้เขียนขึ้นเมือ ่ ประมาณ 2403 โดยคัดลอกจากตำานานเดิมซึ่งเก็บอยู่ ณ หอพระแก้ว จังหวัด เชียงใหม่ โดยตำานานได้พูดถึงอาณาเขตของวัดห้วยอ้อ นอกจากนี้ กรม
6 ศิลปากรยังนำาสืบพยานบุคคลซึ่งรับฟังเรือ ่ งต่อๆกันมาและรู้ถึงบันทึกและการ จัดทำาตำานานด้วย ศาลฎีกาจึงเชื่อว่าวัดห้วยอ้อมีอาณาเขตตามที่บันทึกไว้ใน ตำานานนั้นจริง ( ) คำาบอกเล่าเกีย ่ วกับความเป็นญาติในวงศ์ตระกูลของ บุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งได้มีการบอกเล่ากันไว้ หรือไม่สามารถนำาตัวมาเป็นพยาน ได้ ( ) คำาบอกเล่าถึงสาเหตุ พฤติการณ์ของการถูกทำาร้ายซึ่งผู้ถูกทำาร้ายเล่าให้ ผู้อื่นฟัง โดยอาจจะเป็นการระบุนามคนร้าย สาเหตุแห่งการร้าย พฤติการณ์ ในการทำาร้ายซึ่งจะเป็นพยานหลักฐานที่ใช้ในคดีอาญาในความผิดต่อชีวิต
เหตุผลเพราะคำาพูดทั้งหลายที่เขาพูดในตอนนั้นถือได้ว่าเป็นการพูดภาย ใต้สถานการณ์อันศักดิ์สท ิ ธิ์เสมือนการสาบานเพราะคนที่กำาลังจะตายคงจะไม่ กล่าวเท็จให้เป็นบาปกรรมติดตัวต่อไป (ฎ.411/2513,314/2515,2414/2515,1612/2537) 314/2515 ผู้ตายถูกยิงที่หน้าอกและแขนยังไม่ตายทันที แต่ ร้องว่าปวดแขนเหลือเกินและพูดต่อหน้าพยานโดยระบุชื่อจำาเลยว่าเป็นคน ทำาร้าย มีคนหามไปลงเรือแล้วยังพูดอีกว่าคงจะต้องตายแน่ คำาพูดของผูต ้ าย ที่ระบุว่าจำาเลยเป็นคนร้ายนั้นรับฟังได้ 1612/2537 คำาบอกเล่าของผู้ตายที่บอกกับภริยาขณะที่พยาน เข้าไปช่วยห้ามเลือดที่คอของผู้ตายว่าจำาเลยทั้งสามเป็นผู้ทำาร้ายนั้น
( )
7 เป็นข้อยกเว้นในกม.คอมมอนลอร์ ยังไม่มีบรรทัดฐานในกม.ไทย ( ) เป็นคำาเบิกความของบุคคลที่เคยเป็นพยานในศาลมาแล้ว ครั้งหนึ่งอาจเป็นคดีเดียวกันหรือคนละคดีกับคดีในปัจจุบันก็ได้ แต่ปรากฏว่า ก่อนที่พยานจะเข้าเบิกความในคดีหลังพยานถงแก่ความตายไปเสียก่อน 1781/2522 คดีที่ผู้เสียหายในความผิดฐานข่มขืนกระทำา ชำาเราให้การในชั้นสอบสวน แต่โจทก์นำามาเบิกความในชั้นศาลไม่ได้ เพราะ ว่าหายไปจากบ้านหาตัวไม่พบ ศาลสามารถรับฟังคำาให้การชั้นสอบสวนของผู้ เสียหายประกอบพยานโจทก์และคำารับของจำาเลยในชั้นสอบสวนลงโทษจำาเลย ได้ 3 . . 127 เอกสารมหาชนซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ทำาขึ้น หรือรับรอง หรือสำาเนาอันรับรองถูกต้องแห่งเอกสารนั้น และเอกสารเอกชน ที่มค ี ำาพิพากษาแสดงว่าเป็นของแท้จริงและถูกต้องนั้น ให้สันนิษฐานไว้ก่อน ว่าเป็นของแท้จริงและถูกต้อง เป็นหน้าทีข ่ องคู่ความฝ่ายที่ถูกอ้างเอกสารนั้น มายันต้องนำาสืบความไม่บริสท ุ ธิ์หรือความไม่ถูกต้องแห่งเอกสาร เอกสารมหาชนมีลักษณะสำาคัญ 3 ประการคือ 1. เป็นเอกสารซึ่งทำาขึ้นหรือรับรองโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ 2. ข้อความในเอกสารนั้นเป็นเรื่องที่พาดพิงถึงประชาชน ไม่ใช่ข้อมูล เฉพาะภายในวงราชการ 3. ประชาชนมีสิทธิที่จะเข้าถึง ตรวจสอบ ใช้ อ้างอิงเอกสารนั้นได้ 4 ตามระบบกม.คอมมอนลอร์ จะมี 3 เรื่องทีร ่ ับฟังพยานหลักฐานลักษณะนี้ • ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับชีวประวัติของบุคคลหรือครอบครัว • ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิทธิสาธารณะหรือจารีตประเพณีท้องถิ่น • ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคลิกของบุคคลในชุมชนซึ่งเป็นลักษณะเด่น 5 ป.วิ.แพ่งมาตรา 145(1)(2) ป.วิ.อาญามาตรา 46
8 6 หมายถึงคำาเบิกความของพยานในคดีอื่นที่ศาลจดบันทึกไว้ ปกติศาลในคดีปัจจุบันนั้นจะไม่รับฟังคำาเบิกความของพยานที่มีการ บันทึกในคดีเรื่องอื่น แต่มีข้อยกเว้น จะรับฟังได้ในคดีแพ่งและคู่ความทั้งสอง ฝ่ายตกลงกันยอมให้ศาลถือเอาคำาเบิกความในคดีเรื่องอื่นมาเป็นพยานในคดี ปัจจุบันได้(ฎ.1351/2505,1043/2531) 7 หมายถึงคำาบอกเล่าของพยานต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือทำาไว้เป็นลาย ลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นคำาบอกเล่าทีท ่ ำาไว้ต่อศาลในคดีอื่น ต่อเจ้าพนักงาน หรือต่อบุคคลธรรมดา แล้วต่อมาผู้บอกเล่าได้มาเป็นพยานเบิกความในศาล เกี่ยวกับเรื่องที่เคยบอกเล่าไว้นั้น เช่น คำาให้การของพยานในชั้นสอบสวน หรือคำาให้การของพยานต่อคณะกรรมการสอบสวนของทางราชการหรือ จดหมายที่พยานเขียนไปถึงบุคคลอื่น(ฎ.1937/2522,1189/2523,63/2533) 63/2533 ในชั้นสอบสวนพยานโจทก์ทั้งสองคนให้การว่า พยานอยู่ในเหตุการณ์และยืนยันว่าจำาเลยเป็นคนใช้อาวุธปืนสั้นยิงผูเ้ สียหาย แม้คำาให้การในชั้นสอบสวนจะเป็นเพียงพยานบอกเล่าและในชั้นศาลพยานทั้ง สองปากเบิกความบ่ายเบี่ยงเป็นทำานองช่วยเหลือจำาเลย แต่คำาให้การชั้น สอบสวนดังกล่าวพนักงานสอบสวนได้ทำาการสอบสวนในวันรุ่งขึ้นจากวันเกิด เหตุอันถือได้ว่าเป็นระยะเวลากระชั้นชิดกับเวลเกิดเหตุ พยานยังไม่น่าจะทัน มีโอกาสไตร่ตรองเพื่อบิดเบือนข้อเท็จจริงเป็นอย่างอื่น และคำาให้การดังกล่าว ก็สอดคล้องกับคำาเบิกความผูเ้ สียหายจึงรับฟังประกอบคำาของผูเ้ สียหายได้ ( ) ข้อความใดๆในเอกสารทีม ่ ีการอ้างอิงเป็นพยานโดยอาศัยการสื่อความ หมายของข้อความในเอกสารนั้นเพื่อพิสูจน์ความจริง
. เอกสารจะประกอบด้วย 2 ส่วนคือ • วัตถุรองรับ
9 • เครือ ่ งหมาย ข้อความหรือสัญญลักษณ์ที่เป็นการสือความหมายที่ ปรากฏอยู่บนวัตถุที่รองรับ การใช้ข้อความ สัญญลักษณ์ที่อยู่บนวัตถุรองรับ เพื่อพิสูจน์ขอ ้ เท็จจริง โดยพิสจ ู น์ว่ามีเหตุการณ์หรือมีข้อเท็จจริงเกิดขึ้นตามที่ มีการบันทึกไว้ในเอกสารนั้น . 93
.
93
(1)
(2)
(3) จะนำามาแสดงได้ต่อเมื่อได้รับ อนุญาตของรัฐมนตรี หัวหน้ากรม กอง หัวหน้าแผนกหรือผูร ้ ักษาการแทน ในตำาแหน่งนั้นๆ ที่เกี่ยวข้องแล้วแต่กรณีเสียก่อน อนึ่ง นอกจากศาลจะได้ กำาหนดเป็นอย่างอื่น สำาเนาเอกสารหรือข้อความที่คด ั จากเอกสารเหล่านั้น ซึ่งรัฐมนตรี หัวหน้ากรม กอง หัวหน้าแผนกหรือผู้รักษาการแทนในตำาแหน่ งนั้นๆได้รับรองถูกต้องแล้ว ให้ถือว่าเป็นอันเพียงพอในการที่จะนำามาแสดง
• ในการพิสูจน์ขอ ้ เท็จจริงด้วยพยานเอกสารจะต้องอ้างเอกสารที่ เป็นต้นฉบับ(ป.วิ.แพ่งมาตรา 93 หลักการจะตรงกับ ป.วิ.อาญา มาตรา 238)
10 • การอ้างต้นฉบับเอกสารกับการนำาสืบต้นฉบับเอกสาร เป็นคนละ ขั้นตอนกัน • การอ้างเป็นการแสดงความประสงค์ทจ ี่ ะนำาสืบว่าต้องการจะ นำาสืบพยานชิ้นใด ทั้งนี้ การอ้างนั้น จะแสดงออกได้โดยการระบุ ในบัญชีระบุพยาน • พยานเอกสาร เอกสารทีเ่ ป็นต้นฉบับกับสำาเนาเอกสารในทาง ปฎิบัติถือว่าเป็นพยานคนละชิ้น เพราะฉะนั้น คู่ความจะต้องอ้าง ให้ชัดเจนว่าประสงค์จะอ้างต้นฉบับหรือสำาเนา • กม.บัญญัติว่าให้ยอมรับฟังแต่ต้นฉบับเท่านั้น โดยปกติก็ต้องอ้าง ต้นฉบับและนำาสืบด้วยต้นฉบับเอกสาร เว้นแต่บางกรณีที่กม. ยกเว้นให้รับฟังสำาเนาเอกสารเป็นพยานได้โดยไม่ต้องอ้างต้นฉบับ ก็อาจอ้างสำาเนาในบัญชีระบุพยานเลย
ประเด็นที่ว่าการทำาเอกสารโดยมีคู่ฉบับหลายๆฉบับ โดยการใช้กระดาษ คาร์บอนคั่น ถือว่าทั้งสองเป็นต้นฉบับ(ฎ.4529/2541) 4529/2541 ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า การที่โจทก์จำาเลยทำาเอกสาร สัญญาซื้อขายโดยใช้กระดาษคาร์บอนคั่นกลางเมื่อเขียนและลงชื่อแล้ง จึง มอบฉบับล่างให้โจทก์ โดยคู่กรณีถือว่าฉบับล่างเป็นหนังสือสัญญาเช่นเดียว กับฉบับบน ส่วนฉบับบนจำาเลยเก็บไว้ การทำาเอกสารลักษณะเช่นนี้เห็น เจตนาของคูส ่ ัญญาได้ว่าประสงค์จะให้ถือเอาเอกสารฉบับล่างเป็นคู่ฉบับของ เอกสารฉบับบนไม่ถือว่าเอกสารฉบับล่างเป็นสำาเนาเพราะไม่ใช่ข้อความที่คด ั ลอกหรือถ่ายเอกสารมาจากต้นบับ แต่ทำาขึ้นพร้อมกับเอกสารฉบับบนหรือ ต้นฉบับเพื่อใช้เป็นหนังสือสัญญาสองฉบับ จึงมีผลเท่ากับเป็นต้นฉบับ ดังนั้น เมือ ่ ไม่เป็นสำาเนาเอกสารแล้วก็ไม่ต้องห้ามที่ศาลจะรับฟังเป็นพยานหลักฐาน 254/2520 สำาเนาเอกสารที่จำาเลยส่งเป็นพยานต่อศาลแต่ไม่ ได้ส่งสำาเนาให้โจทก์และไม่ได้เรียกต้นฉบับจากผู้ครอบครองเอกสารมา รับฟัง เป็นพยานไม่ได้ตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 93(กรณีนี้ยังมีต้นฉบับอยู่ เพราะฉะนั้น การอ้างอิงจะต้องอ้างอิงต้นฉบับแต่ต้นฉบับอยู่ที่บุคคลอื่น ซึ่งในการนำาสืบผู้ อ้างจะต้องหาทางนำาต้นฉบับนั้นมาสู่ศาลโดยให้ศาลออกหมายเรียกมา) 2453/2523 ศาลชั้นต้นวินิจฉัยให้จำาเลยรับผิดชดใช้เงินแก่ โจทก์โดยอาศัยเอกสารหมายเลข จ.8 เป็นพยาน(เอกสารหมาย จ.8 นี้เป็นสำาเนา ภาพเอกสาร) เมื่อจำาเลยไม่ได้ตกลงด้วยว่าสำาเนาเอกสารนี้ถูกต้องจึงไม่อาจรับ ฟังเอกสารดังกล่าวเป็นพยานได้ และเมื่อเอกสารนี้ต้องห้ามรับฟังเสียแล้ว ก็ ไม่มีพยานหลักฐานอื่นทีจ ่ ะวินิจฉัยให้จำาเลยรับผิดชดใช้โจทก์อีก
11 5963/2539 การส่งเอกสารด้วยวิธีโทรสารเป็นวิทยาการแบบ ใหม่ เป็นข้อเท็จจริงที่รู้กันทั่วไปว่าผู้ส่งจะนำาต้นฉบับของเอกสารทีจ ่ ะทำาการ ส่งให้ในเครือ ่ งโทรสารแล้วจัดการส่งไปยังเครื่องโทรสารของผู้รับโดยต้นฉบับ ผู้ส่งจะเป็นผู้เก็บไว้ โทรสารที่โจทก์จำาเลยยอมรับความถูกต้องแล้วจึงรับ ฟังได้(ฎ.3395/2542 วินิจฉัยทำานองเดียวกัน) . .
93
. หมายความว่า คู่ความที่จะนำาสืบสามารถที่จะแสดงความประสงค์ทจ ี่ ะ นำาสืบสำาเนาเอกสารได้และสำาเนาเอกสารที่อา้ งอิงนั้น สามารถทีจ ่ ะรับฟังได้ 1
2295/2543 เอกสารหมาย ล.1 ถึง ล.7 และ ล.12 เป็นเอกสาร โต้ตอบกันระหว่างโจทก์และจำาเลยระบุถึงความชำารุดบกพร่องของรองเท้า พิพาทและการตรวจสอบความชำารุดบกพร่องโดยตัวแทนของโจทก์และจำาเลย เมือ ่ ฟ้องแย้งของจำาเลยเป็นการฟ้องเรียกค่าเสียหายเกีย ่ วกับการที่โจทก์ส่ง มอบรองเท้าพิพาทไม่ตรงตามแบบทีจ ่ ำาเลยกำาหนด จึงเป็นเอกสารที่เกี่ยวกับ ประเด็นสำาคัญในคดีอันเป็นข้อที่ทำาให้แพ้ชนะกันระหว่างคู่ความ แม้จำาเลยจะ ไม่ได้ส่งสำาเนาเอกสารดังกล่าวให้แก่โจทก์อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 90 แต่ จำาเลยก็ได้ใช้เอกสารดังกล่าวในการถามค้านพยานปากแรกของโจทก์ โจทก์ ย่อมมีโอกาสทีจ ่ ะหักล้างข้อเท็จจริงหรือโต้แย้งดังกล่าวได้ การไม่ส่งสำาเนา เอกสารของจำาเลยไม่ทำาให้โจทก์เสียเปรียบ เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ศาลมีอำานาจรับฟังพยานเอกสารดังกล่าวได้ตามมาตรา 87(2) โจทก์ไม่ได้คัดค้านความถูกต้องแท้จริงของ เอกสาร คงคัดค้านเพียงว่าจำาเลยไม่ได้ส่งสำาเนาเอกสารให้แก่โจทก์ จึงต้อง ถือว่าโจทก์ยอมรับว่าเอกสารดังกล่าวถูกต้อง ศาลย่อมรับฟังสำาเนาเอกสารดัง กล่าวได้ 4861/2543
12
93(1)
2
2 •
•
3
:
:
•
• สูญหายเพราะความประมาทเลินเล่อของผู้ครอบครองเอกสาร ศาลก็รับ ฟังพยานบุคคลได้(ฎ.693/2487) • หนังสือกู้หายไป ผู้ให้กู้สามารถนำาผู้เขียนสัญญาและผู้ลงชื่อเป็นพยาน มาสืบแทนได้(ฎ.34/2476)
13 • ถูกโจรปล้นสัญญากู้ไป ฟ้องและพิสูจน์ด้วยพยานบุคคลได้(ฎ.354/2470) •
• โจทก์ระบุพยานอ้างสัญญาก่อนสมรสเป็นพยานหลักฐาน โจทกืนำาส่ง ต้นฉบับต่อศาลไม่ได้เนื่องจากโจทก์ส่งต้นฉบับไว้ที่ศาลอื่นในคดีเรือ ่ ง หนึ่ง ดังนี้ โจทก์นำาสำาเนาสัญญาก่อนสมรสมาสืบแทนได้(ฎ.574/2508) • โจทก์ฟ้องอ้างสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างมารดาโจทก์กับ จำาเลยว่ามีหลักฐานเป็นหนังสืออยู่อำาเภอ โจทก์ไม่ได้รับว่าไม่มีหลักฐาน เป็นหนังสือ ฉะนั้น จึงไม่หา้ มศาลทีจ ่ ะรับฟ้องไว้พิจารณา โจทก์ขอ อ้างหนังสือดังกล่าวมาประกอบการพิจารณาในภายหลังได้ เมื่ออำาเภอ แจ้งมายังศาลว่าสัญญาประนีประนอมยอมความหาไม่พบเนื่องจากเป็น เวลานานมาแล้ว และมีการย้ายที่ว่าการอำาเภอไม่อาจนำาส่งได้ ย่อมถือ ได้ว่าเอกสารที่โจทก์อา้ งสูญหาย เมื่อโจทก์อ้างพยานบุคคลและศาลยอม ให้นำาพยานบุคคลเข้าสืบแทน ก็ถือได้ว่าศาลชั้นต้นอนุญาตแล้วโดย ปริยาย ศาลรับฟังพยานบุคคลของโจทก์ได้(ฎ.727/2513) • ผู้ร้องนำาสืบแสดงสำาเนาคำาสั่งที่มอบอำานาจให้ผููู้อำานวยการเขตปฏิบัติ ราชการต่อศาล ผู้คัดค้านไม่ได้นำาสืบโต้แย้งว่าผูร ้ ้องไม่ได้ส่งต้นฉบับคำา สั่งแต่อย่างใด เมื่อศาลวินิจฉัยรับฟังพยานตามสำาเนาเอกสารดังกล่าว ถือได้ว่าศาลอนุญาตให้นำาสำาเนาเอกสารมาสืบได้ในกรณีทีไม่สามารถ นำาต้นฉบับมาได้ด้วยประการอื่นตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 93(2) แล้ว โดยผู้ ร้องไม่จำาต้องขออนุญาตต่อศาลก่อนและการที่ ส.หัวหน้าเขตหรือผู้ อำานวยการเขตมาเบิกความยืนยันว่าได้รับมอบอำานาจตามสำาเนาคำาสั่ง จากผูร ้ ้องก็เป็นอันเพียงพอให้รับฟังได้โดยไม่จำาต้องนำาตัวผู้ร้องซึ่งเป็นผู้ มอบอำานาจมาสืบถึงการออกคำาสั่งดังกล่าวถึง(ฎ.6061/2541) • 93(2) พยานบุคคลใดๆที่ รููู้เห็นหรือทราบความสูญหายแห่งต้นฉบับนั้นสามารถนำาสืบได้ ฉะนั้น การที่โจทก์นำาผู้รับมอบอำานาจของโจทก์ผส ู้ ร้างความสูญหาย แห่งต้นฉบับเอกสารมาเบิกความยืนยันว่าหนังสือกู้ยืมหายไปเพราะ
14
•
โจทก์เก็บเอกสารไม่เป็นระเบียบและเกิดนำ้าท่วมภูมิลำาเนาทีอ ่ ยู่ของโจทก์ ย่อมเป็นการเพียงพอให้รับฟังได้ว่าหนังสือดังกล่าวได้สูญหายไปจริง และโจทก์ชอบที่จะฟ้องร้องให้บังคับคดีได้โดยไม่จำาเนต้องมีหนังสือกู้ยืม มาแสดงต่อศาล( .6048/2541 )
93(2) ( .313/2512) 3 ส่วนราชการได้แก่ราชการส่วนกลาง และราชการส่วนภูมิภาค ไม่คลุม ไปถึงรัฐวิสาหกิจและราชการส่วนท้องถิ่น • ในคดีอาญา จำาเลยอ้างเอกสารซึ่งอยู่ในความครอบครองของจำาเลย และโจทก์ไม่รับรองความถูกต้อง เมื่อจำาเลยไม่สืบพยานประกอบ พยาน เอกสารนั้นก็รับฟังไม่ได้ แต่ถา้ พยานเอกสารนั้นเป็นหนังสือราชการ ซึ่งต้นฉบับอยู่ในความครอบครองของทางราชการและที่จำาเลยอ้างส่งต่อ ศาลเป็นสำาเนาซึ่งเจ้าหน้าที่ตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 93(3) รับรองความถูก ต้อง ก็รับฟังได้ ไม่ต้องสืบพยานประกอบ( .1322-4/2510) • สำาเนาของเอกสารมหาชน ซึ่งเจ้าพนักงานผู้รับผิดชอบในการทำาหรือ เก็บรักษาได้รีบรองความถูกต้อง ย่อมใช้เป็นพยานได้ ไม่ต้องอ้าง ต้นฉบับ( .484/2486,120/2499,536/2501,225/2518) 93
.
238 238 ต้นฉบับเอกสารเท่านั้นที่อ้างเป็นพยานได้ ถ้าหาต้นฉบับไม่ ได้ สำาเนาทีร ่ ับรองว่าถูกต้องหรือพยานบุคคลที่ ความก็อา้ งเป็น พยานได้ ถ้าอ้างหนังสือราชการเป็นพยาน แม้ต้นฉบับยังมีอยู่จะส่งสำาเนาที่เจ้า หน้าที่รับรองว่าถูกต้องก็ได้ เว้นแต่ในหมายเรียกจะบ่งไว้เป็นอย่างอื่น • จำาเลยอ้างต้นฉบับรายงานเบ็ดเสร็จประจำาวันของสถานีตำารวจเป็น พยานชั้นศาลเพื่อประกอบข้อต่อสู้ของจำาเลยว่าจำาเลยถูกจับอยู่ที่
15 สถานีตำารวจตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุเรื่อยมาจนถึงวันเกิดเหตุ แต่ผู้บังคับ กองตำารวจคัดสำาเนาส่งมาโดยรับรองว่าเป็นสำานวนอันแท้จริง ดังนี้ เมือ ่ โจทก์ไม่ได้คัดค้านว่าเจ้าหน้าที่คัดสำาเนาผิดจากต้นฉบับ ศาล ย่อมรับฟังสำาเนาเอกสารนั้นเป็นพยานลักฐานได้( .1719/2494) • สำาเนารายงานของสารวัตรตรวจท่าเรือในต่างประเทศซึ่งรายงานว่า มีเรือลำาใดเข้าออกจากท่าเมือ ่ ใด เมือ ่ ปรากฏว่าสำาเนารายวานนั้นมี ผู้รับรองว่าเป็นสำาเนาอันถูกต้อง ทั้งกงสุลใหญ่ของไทยในเมืองต่าง ประเทศนั้นก็เป็นผู้นำาส่งเอกสารนั้นมาในทางราชการ อันเป็นการ รับรองอยู่ในตัวว่าเป็นสำาเนาถูกต้องเช่นนี้ย่อมรับฟังพยานหลักฐาน นั้นได้ตามมาตรา 238( .1868-9/2494) • ในคดีอาญาจำาเลยอ้างเอกสารซึ่งอยู่ในความครอบครองของจำาเลย และโจทก์ไม่รับรองความถูกต้อง เมื่อจำาเลยไม่สืบพยานประกอบ พยานเอกสารนั้นก็รับฟังไม่ได้ แต่ถา้ พยานเอกสารนั้นเป็นหนังสือ ราชการต้นฉบับอยู่ในความครอบครองของทางราชการ และที่จำาเลย อ้างส่งต่อศาลเป็นสำาเนาซึ่งเจ้าหน้าที่รับรองความถูกต้องก็รับฟังได้ ไม่ต้องสืบพยานประกอบ( .1322-4/2510) • โจทก์ระบุคำาให้การของจำาเลยชั้นสอบสวนไว้ในบัญชีระบุพยานโจทก์ แล้ว ในขณะที่พนักงานสอบสวนซึ่งเป็นพยานโจทก์เข้าเบิกความ โจทก์จึงส่งคำาให้การจำาเลยชั้นสอบสวนนี้ต่อศาลประกอบคำาพยาน ศาลได้ให้ตัวจำาเลยตรวจดูแล้ว ดังนี้ จึงรับคำาให้การชั้นสอบสวน ของจำาเลยดังกล่าวไว้เป็นพยานหลักฐานได้ ไม่จำาต้องคัดสำาเนาให้ จำาเลยก่อนวันพิจารณา เพียงแต่ให้จำาเลยดู หรืออ่านให้ฟังก็ พอแล้ว( .1068/2496)
.
.
94
แนวคิด-เหตุผลของกม. 1.บทตัดพยานหรือห้ามรับฟังพยานตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94 เป็นหลัก กม.ปิดปากตามหลักกม.อังกฤษ เพื่อให้สอดคล้องกับกม.สารบัญญัติว่าด้วยแบบและหลักฐานแห่งนิติกรรมสัญญา(ไทย)
• การรับสภาพหนี้ไม่มีกม.บัญญัติบังคับให้ต้องมีเอกสารมาแสดง(ฎ.666/2541,1156/2537)
2.เพื่อให้เกิดความแน่นอนแก่นิติกรรมสัญญาที่ได้ทำากันไว้เป็นหนังสือ(อังกฤษ) มาตรา 94 เมื่อใดมีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง ห้ามมิให้ศาลยอมรับฟังพยานบุคคลในกรณี อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ แม้ถึงว่าคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งจะได้ยินยอมก็ดี
16 (ก) ขอสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร เมือ่ ไม่สามารถนำาเอกสารมาแสดง (ข) ขอสืบพยานบุคคลประกอบข้ออ้างอย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อได้นำาเอกสารมาแสดงแล้วว่า ยังมีข้อความ เพิ่มเติม ตัดทอน หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารนั้นอยู่อีก แต่บทบัญญัติแห่งมาตรานี้ มิให้ใช้บังคับในกรณีที่บัญญัติไว้ในอนุมาตรา (2) แห่งมาตรา 93 และมิให้ ถือว่าเป็นการตัดสิทธิคู่ความในอันที่จะกล่าวอ้างและนำาพยานบุคคลมาสืบประกอบข้ออ้างว่า พยานเอกสารที่แสดง นัน้ เป็นเอกสารปลอมหรือไม่ถูกต้องทั้งหมด หรือแต่บางส่วน หรือสัญญาหรือหนี้อย่างอื่นที่ระบุไว้ในเอกสารนั้น ไม่สมบูรณ์หรือคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งตีความหมายผิด ในการพิจารณาแบ่งประเด็นการพิจารณาเป็น 3 ประเด็นใหญ่ ดังนี้ ประเด็นที่ 1 กรณีใดบ้างที่ห้ามสืบพยานบุคคล ประเด็นที่ 2 เนื้อหาสาระของการห้ามสืบพยานบุคคล ประเด็นที่ 3 มีกรณีใดบ้างที่ยกเว้นให้สืบพยานบุคคลได้ ประเด็นที่ 1 กรณีใดบ้างที่ห้ามสืบพยานบุคคล หลักกม. เมื่อใดมีกม.บังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง นัน่ คือประเด็นข้อพิพาทที่มีการถกเถียงเป็นเรื่องที่กม.บังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง จึงต้องห้ามมิ ให้สืบพยานบุคคล กรณีที่กม.บังคับให้ต้องมีเอกสารมาแสดงได้แก่ • กรณีที่กม.บังคับว่าต้องทำาเป็นหนังสือ • ทำาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อ พนง.เจ้าหน้าที่ • ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดเป็นสำาคัญ ประเด็น กม.บังคับว่าต้องทำาเป็นหนังสือ
เรื่อง/ปพพ.มาตรา การโอนสิทธิเรียกร้อง ม.306 สัญญาเช่าซื้อ ม.572 สัญญาจำานอง ม.714 การบอกล่าวบังคับจำานอง ม.728 พินัยกรรม ม.1656 การโอนหุ้นชนิดระบุชื่อ ม.1129
ทำาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อ พนง.เจ้าหน้าที่
จำานอง ม.714 ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ อสังหาฯหรือสังหาฯ
17 ชนิดพิเศษ ม.456,519,525 กม.บังคับว่าต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือ สัญญาจะซื้อจะขายอสังหาฯหรือสังหาฯชนิด ชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด มิฉะนั้นจะฟ้องร้องมิได้ พิเศษ ม.456 สัญญาเช่าอสังหาฯ ม.538(ฎ.145/2533,6526/2538) แต่สัญญาเช่าต่าง ตอบแทนพิเศษยิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดา ไม่ จำาเป็นต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ ไม่ต้องห้ามมิ ให้สืบพยานบุคคล(ฎ.2582/2535,1547/2530,1002/ 2509 กู้ยืมเงินกว่า 50 บาทขึ้นไปและสืบการใช้เงินตาม ม.653 สัญญาประนีประนอมยอมความ ม.851 ประกันภัย ม.867 ส่วนกรณีที่กม.มิได้บังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดงเช่น
• สัญญาจำานำา(ฎ.1729/2512) • สัญญาจ้างทำาของ(ฎ.2186/2517,3107/2538) • การรับสภาพหนี้(ดู ปพพ.มาตรา 193/14(1) ประกอบด้วย) ฎีกาที่ 666/2541 การรับสภาพหนี้ไม่มีกม.บังคับให้ต้องมีเอกสารมาแสดง นำาสืบว่ามีการรับสภาพหนี้ ด้วยพยานบุคคลได้ไม่ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ก) และแม้จะทำากันเป็นหนังสือ ก็นำาพยาน บุคคลมาสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ ไม่ต้องห้ามตามาตรา 94(ข)
• นำาสืบพยานบุคคลว่าเป็นสัญญาเช่าต่างตอบแทนพิเศษได้(ฎ.2528/2535) • นำาสืบพยานบุคคลถึงการส่งมอบการครอบครองที่ดินมือเปล่า ในกรณีสัญญาซื้อขายเป็น โมฆะได้(ฎ.1212/2536)
ข้อสังเกตสำาหรับประเด็นที่ 1 นี้ มีหลายกรณีดังต่อไปนี้ กรณีที่กม.สารบัญญัติกำาหนดรูปแบบการทำานิติกรรมสัญญาได้หลายแบบ เช่นสัญญาจะซื้อจะ ขายอสังหาริมทรัพย์ตาม ปพพ.มาตรา 456 วรรคสอง จะฟ้องร้องบังคับคดีได้ต้องมี • มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือ
18
• ชำาระหนี้บางส่วน(ฎ.6443/2544) หรือ • วางมัดจำา (ฎ.935/2541) ดังนั้น ในกรณีที่สัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย์ กรณีที่ได้มีการชำาระหนี้บางส่วน หรือวางมัดจำา ย่อมสามารถ ฟ้องร้องบังคับคดีได้โดยไม่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ และกม.ไม่ได้บังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง คู่ สัญญาย่อมสามารถสืบพยานบุคคลได้(ฎ.2216/2515,3945/2535,935/2541,6204/2544,6443/2544) ฎีกาที่ 3945/2535 โจทก์ตกลงซื้อห้องชุดจากจำาเลยที่ 1 โดยวางมัดจำาไว้ 10,000 บาท ดังนี้ เป็นการทำา สัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย์โดยมีการวางมัดจำาไว้แล้ว ไม่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือก็ฟ้องบังคับคดีได้ จึง ไม่ใช่กรณีที่กม.บังคับให้มีพยานเอกสารมาแสดง แม้ต่อมาคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายทำาสัญญาจะซื้อจะขายเป็นหนังสือ โจทก์นำาพยานบุคคลมาสืบได้ว่าโจทก์กับจำาเลยที่ 1 ได้ตกลงกันแตกต่างจากที่ระบุไว้ในสัญญานั้นไม่ต้องห้ามตาม มาตรา 94 ฎีกาที่ 935/2541 สัญญาจะซื้อจะขายที่มีการวางมัดจำาเป็นการชำาระหนี้บางส่วน การฟ้องร้องบังคับตาม สัญญาไม่ต้องใช้เอกสารเป็นหลักฐาน ไม่ใช่กรณีที่กม.บังคับให้นำาเอกสารมาแสดงตามมาตรา 94 ศาลสามารถรับ ฟังพยานบุคคลหักล้างพยานเอกสารได้ ฎีกาที่ 4996-7/2542 โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการซื้อขายที่พิพาทระหว่างโจทก์กับจำาเลยที่ 1 และนำาสืบว่า มีเงื่อนไขที่จำาเลยที่ 1 ตกลงให้โจทก์ซื้อที่พิพาทคืนได้แม้จะมิได้ทำาหลักฐานเป็นหนังสือกันไว้ แต่ โจทก์ได้ชำาระหนี้บางส่วน จำานวน 30,000 บาท ให้แก่จำาเลยที่ 1 ไว้แล้ว ประเด็นข้อที่ว่า จำาเลยที่ 1 ได้รับชำาระหนี้ บางส่วนแล้วหรือไม่ โจทก์ย่อมมีอำานาจสืบพยานบุคคลได้ตาม ปพพ.มาตรา 456 หาใช่เป็นการนำาสืบพยานบุคคล แทนพยานเอกสารไม่ แต่ถ้าคู่สัญญาทำาสัญญาจะซื้อจะขายอสังหาฯโดยทำาสัญญาเป็นหนังสือและวางมัดจำา ด้วยนั้น ศาลฎีกา ถือว่าคู่สัญญามีความประสงค์มุ่งที่จะผูกมัดกันด้วยหนังสือ การวางมัดจำาเป็นแต่เพียงส่วนหนึ่งของข้อสัญญาข้อ หนึ่งเท่านั้น ดังนั้น คู่สัญญาจะนำาพยานบุคคลเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารไม่ได้ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่ง มาตรา 94(ฎ.3088/2536,667/2537,6718/2540) ฎีกาทึ่ 6718/2540 โจทก์และจำาเลยได้ตกลงกันทำาสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทในรูปแบบมีหลักฐานเป็น หนังสือ การวางมัดจำาเป็นเพียงข้อตกลงข้อหนึ่งที่ปรากฏในหลักฐานที่เป็นหนังสือดังกล่าวเท่านั้น นิติกรรมคือ สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทระหว่างโจทก์และจำาเลย จึงก่อตั้งขึ้นซึ่งสิทธิและมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ และบังคับในรูปแบบของหลักฐานเป็นหนังสือหาใช่เพียงการวางมัดจำาไม่ ฉะนั้น การที่จำาเลยนำาพยานบุคคลมาสืบ ว่าขณะทำาสัญญาโจทก์และจำาเลยมีข้อตกลงกันว่าหากจำาเลยไม่ประสงค์จะขายที่ดินให้แจ้งให้โจทก์ทราบก่อนวัน โอนและจำาเลยแจ้งให้โจทก์ทราบแล้ว ถือว่าสัญญาเลิกกัน จึงเป็นกรณีต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94 (ข) ห้ามมิ ให้ศาลรับฟังพยานบุคคลอันเป็นการเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักฐานที่เป็นหนังสือนั้นอีก เมื่อจำาเลยไม่ยอมโอน ที่ดินพิพาทให้แก่โจทก์ตามที่กำาหนดไว้ในสัญญาจึงเป็นฝ่ายผิดสัญญา สรุป ปัญหา:สัญญาจะซื้อขายที่ดิน หรือซื้อขายสังหาริมทรัพย์ราคา เกินกว่า 500 บาท ขึน้ ไป
19 (1) ดูเจตนาของคู่สัญญาว่า มุ่งจะถือเอกสารเป็นสำาคัญหรือมุ่งจะถือการวางมัดจำา หรือชำาระหนี้บางส่วน เป็นสำาคัญ ? หากถือเอกสารเป็นสำาคัญ ก็ต้องอยู่ในบังคับ ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ฎ.667/2537) ฎีกาที่ 667/2537 โจทก์จำาเลยตกลงกันทำาสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพิพาทเป็นหนังสือ แม้จะมีการวางมัดจำา ด้วย การวางมัดจำาก็เป็นแต่เพียงข้อสัญญาข้อหนึ่งเท่านั้น ไม่ใช่ตกลงกันทำาสัญญากันด้วยการวางมัดจำา การฟ้อง ร้องให้บังคับคดีจึงต้องอาศัยหลักฐานตามหนังสือสัญญาจะซื้อจะขายที่ทำาไว้ กรณีจึงต้องด้วย ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ข) ที่ห้ามมิให้คู่ความนำาสืบพยานบุคคลว่ายังมีข้อความเพิ่มเติมนอกเหนือจากสัญญาอยู่อีก การทีจ่ ำาเลยนำาสืบ พยานบุคคลว่ายังมีข้อตกลงว่า ถ้าผู้เช่าที่ดินพิพาทตกลงจะซื้อ โจทก์ยอมคืนเงินมัดจำาและถือว่าสัญญาเป็นอัน ยกเลิกกันนอกเหนือข้อกตลงในสัญญา จึงต้องห้ามมิให้รับฟังและถือไม่ได้วามีข้อตกลงดังกล่าว (2) แต่ถา้ ถือการวางมัดจำาหรือการชำาระหนี้บางส่วนเป็นสำาคัญ ก็ไม่อยู่ในบังคับ มาตรา 94 (ฎ.935/2541) ฎีกาที่ 935/2541 สัญญาจะซื้อขายที่มีการวางมัดจำาเป็นการชำาระหนี้บางส่วน การฟ้องร้องบังคับตาม สัญญาไม่จำาต้องใช้เอกสารเป็นหลักฐาน และไม่ใช่กรณีที่กม.บังคับให้นำาเอกสารมาแสดง ตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94 ศาลจึงรับฟังคำาพยานบุคคลหักล้างพยานเอกสารได้
ประเด็นที่ 2 เนื้อหา สาระของการห้ามสืบพยานบุคคล มี 2 ลักษณะด้วยกันคือ (1) ห้ามมิให้สืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร หมายความว่าเมื่อคู่ความฝ่ายหนึ่งตั้งประเด็นคดีซึ่งกม.บังคับว่าต้องมีเอกสารมาแสดง คู่ความฝ่ายนั้นจะนำา พยานบุคคลมาสืบโดยไม่มีเอกสารมาแสดงไม่ได้ การสืบแทนคือการสืบพยานบุคคลว่ามีการทำาเอกสารหรือมีการ ตกลงตามเอกสารนั้น โดยไม่มีเอกสารมาแสดงเรียกว่าการสืบแทนซึ่งต้องห้าม (2) ห้ามนำาสืบพยานบุคคลถึงข้ออ้างอย่างใดอย่างหนึ่งว่ายังมีข้อความเพิ่มเติม ตัดทอน หรือเปลี่ยนแปลง แก้ไขข้อความในเอกสารนั้นอยู่อีก หมายความว่าในกรณีที่กม.บังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง เมื่อคูคู่ วามฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งนำาเอกสารมา แสดงแล้ว ห้ามคูคู่ วามทุกฝ่ายนำาพยานบุคคลมาสืบเพิ่มเติม ตัดทอน หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร นัน้
• การสืบเพิ่มเติมคือสืบว่ายังมีข้อตกลงอื่นที่ยังไม่ได้ระบุไว้ในเอกสาร • การสืบตัดทอนคือสืบว่าข้อความในเอกสารบางส่วนนั้นไม่จริง • การสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขคือสืบว่ามีการตกลงแตกต่างไปจากข้อความที่ ปรากฏในเอกสาร
กรณี (1) ห้ามมิให้สืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร ตัวอย่าง
20
• ตามหนังสือสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์กำาหนดค่าเช่าไว้เดือนละ 1,500 บาท ผู้เช่าจะขอ สืบพยานบุคคลว่าได้มีการตกลงกันใหม่ลดค่าเช่าลง ดังนี้ เมื่อการตกลงลดค่าเช่าไม่ได้ ทำาเป็นเอกสารจะขอสืบพยานบุคคลเช่านี้ไม่ได้(ฎ.736/2494 ออกสอบเนติ สมัย 55)
• ในสัญญากู้มีข้อความว่ายอมให้ดอกเบี้ยตามกม. ดังนี้ต้องตีความว่าร้อยละ 7.5 ตาม ปพพ.มาตรา 7 คูคู่ วามจะสืบพยานบุคคลเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเป็นอย่างอื่นไม่ ได้(ฎ.1124/2511)
• สัญญาจะซื้อจะขายระบุว่า ผูข้ ายขายที่พิพาทราคา 140,000 บาท แล้วผู้ขายได้รับเงินจาก ผู้ซื้อครบถ้วนแล้วในวันทำาสัญญา ดังนี้ ผูข้ ายจะนำาพยานบุคคลมาสืบว่าผู้ขายรับเงินไป เพียง 3,800 บาทหรือยังไม่ได้รับเงิน ย่อมเป็นการนำาพยานบุคคลมาสืบเปลี่ยนแปลง เอกสารต้องห้ามตามมาตรา 94(ฎ.1402/2530,ให้ดูฎีกาที่ 2829/2517,160/2518,1842/2524 เพิ่มเติม)
• โจทก์ฟ้องจำาเลย ว่ากู้ยืมเงินโจทก์ไป 4,000 บาท และรับเงินไปแล้วตามเอกสารการกู้
ท้ายฟ้อง จำาเลยให้การว่ากู้เงินโจทก์จริง แต่รับเงินไปเพียง 3,850 บาท เพราะโจทก์คิด ดอกเบี้ย 150 บาท แล้วหักเอาไว้เลย ดังนี้ คดีต้องห้ามไม่ให้นำาสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไข ข้อความในเอกสารการกู้(ฎ.779/2497)
• สัญญาจะซื้อขายที่ดินมิได้กำาหนดว่าฝ่ายใดต้องออกค่าธรรมเนียมการโอน ค่าภาษีและ
อากรไว้ในสัญญาด้วย จะนำาสืบพยานบุคคลว่าได้ตกลงกันให้ฝา่ ยใดเป็นผู้ออกค่า ธรรมเนียม ค่าภาษีและค่าอากรแต่ฝา่ ยเดียวไม่ได้ เพราะเป็นการสืบพยานบุคคลเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อคความในเอกสาร ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ข) (ฎ.2955/2532,3687/2525) เพราะ ปพพ.มาตรา 457 กำาหนดไว้วา่ เมื่อสัญญาจะซื้อจะขาย ไม่ได้กำาหนดค่าธรรมเนียมในการโอนไว้ ผูจ้ ะซื้อและผู้ จะขายต้องออกคนละครึ่ง
• การให้โดยเสน่หาซึ่งอสังหาริมทรัพย์เป็นกรณีที่ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง หนังสือ
สัญญาให้ที่ดินที่จำาเลยทำาให้โจทก์ในการจดทะเบียนโอนที่ดินดังกล่าวไม่ปรากฏว่ามี เงื่อนไขเป็นค่าภาระติดพันตามที่จำาเลยกล่าวอ้างแต่อย่างใด จำาเลยจึงนำาพยานบุคคลมา สืบเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงข้อความในสัญญาหาได้ไม่(ฎ.1649/2524)
• กรณีที่คู่ความรับกันว่าราคาที่ซื้อขายที่ดินสูงกว่าทีร่ ะบุไว้ในสัญญาซื้อขาย ผูข้ ายนำาสืบ ได้ว่ายังไม่ได้รับเงินค่าที่ดินตามราคาที่แท้จริง ดังนี้ แม้สัญญาซื้อขายจะระบุว่าผู้ซื้อได้ ชำาระค่าที่ดินแล้ว ก็ไม่เป็นการนำาสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไข(ฎ.228/2538,1102/2539)
21 ฎีกาที่ 1102/2539 แม้หนังสือสัญญาขายที่ดินระบุว่าทีดินราคา 9.5 ล้านบาท โดยผู้ซื้อได้ชำาระและผู้ขาย ได้รับเงินค่าที่ดินเรียบร้อยแล้ว แต่เมื่อผู้ซื้อผู้ขายรับกันว่าซื้อขายกันจริงในราคา 20.0 ล้านบาท การที่ผู้ขายนำาสืบ ว่าได้รับชำาระค่าที่ดินยังไม่ครบถ้วนหาเป็นการนำาสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในหนังสือสัญญาขายที่ดินไม่ จึง ไม่ต้องห้ามตาม มาตรา 94(ข) กรณีทไี่ ม่มีกม.บังคับให้ต้องมีเอกสารมาแสดง
• การนำาสืบถึงการชำาระเงินที่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ให้กู้มาแสดงหรือมีการ เวนคืนเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมหรือแทงเพิกถอนในเอกสาร ตาม ปพพ.มาตรา 653 วรรคสอง หมายถึง การนำาสืบถึงการชำาระหนี้เงินต้นเท่านั้น ไม่รวมถึงการชำาระดอกเบี้ย จำาเลย มีสิทธินำาพยานบุคคลมาสืบถึงจำานวนดอกเบี้ยที่ชำาระไปได้ ไม่ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ข) (ฎ.1355/2532,1332/2531,1084/2510,4755-6/2536)
• การชำาระหนี้เงินกู้ด้วยอย่างอื่น ซึ่งมิใช่การชำาระหนี้ด้วยเงินตาม ปพพ.มาตรา 321 แม้จะไม่มีหลัก ฐานเป็นหนังสือตาม ปพพ.มาตรา 653 ศาลรับฟังพยานบุคคลที่นำาสืบเรื่องการชำาระหนี้ได้เช่น การชำาระหนี้เงินกู้ด้วยการโอนที่ดินให้เจ้าหนี้(ฎ.2965/2531) การชำาระหนี้ด้วยเช็คเป็นการชำาระหนี้ด้วยตั๋วเงิน มิใช่การชำาระหนี้ด้วยเงิน(ฎ.1084/2510) การโอนเงินทางโทรศัพท์หรือโทรเลขของธนาคารเข้าบัญชีเงินฝากของผู้ให้กู้ เป็นการชำาระ อย่างอื่น(ฎ.230/2542) การมอบบัตร ATM ให้เจ้าหนี้ไปถอนเงินจากบัญชีของตน ถือเป็นการชำาระหนี้อย่าง อื่น(ฎ.4643/2539)
• การนำาสืบว่าได้มอบที่ดินให้ทำากินต่างดอกเบี้ย ไม่ต้องมีเอกสารมาแสดง(ฎ.1261-2/2518) • การนำาสืบกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง ในกรณี ส.ค. 1 ไม่ใช่เอกสารที่กม.บังคับให้ต้องมี มาแสดง(ฎ.90/2532)
• สัญญาจำานำาไม่ต้องทำาเป็นหนังสือ จึงสืบพยานบุคคลได้(ฎ.1729/2512) การนำาสืบพยานบุคคลทีไ่ ม่ได้เปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร(อยู่นอกกฎเกณฑ์มาตรา 94) แต่มีผลกระทบ ถึงความรับผิดหรือผลผูกพันตามข้อความในเอกสาร 6 กรณีดังนี้ (๑) การนำาสืบพยานบุคคลถึงที่มาแห่งหนี้ตามเอกสาร การนำาสืบถึงที่มาแห่งหนี้หมายความว่า เป็นการนำาสืบข้อเท็จจริงว่าที่ คูคู่ วามมา ตกลงทำาสัญญาตามเอกสารนั้นเกิดมาจากเหตุใด มีการเจรจาตกลงหรือมีนิติสัมพันธ์อะไรมาก่อน ซึ่งนำาเป็นสู่นิติ สัมพันธ์ที่เป็นข้อพิพาท เพราะฉะนัน้ การนำาสืบถึงที่มาแห่งหนี้ว่ามีความเป็นมาอย่างไร ไม่ถือว่าเป็นการนำาสืบ
22 เพิ่มเติมข้อความในเอกสารให้ดูในฎีกาที่ 2469/2535,1631/2535,1066/2535,4522/2530,522/2505,452/2507,190/2510,548/2517,1976/2518,3481/2543 ฎีกาที่ 3481/2543 หนังสือสัญญาขายที่ดินมีการกรอกข้อความและมีลายพิมพ์นิ้วมือของจำาเลยในช่องผู้ ขาย แต่ไม่มีผู้ใดลงลายมือชื่อผู้ซื้อ การทีจ่ ำาเลยนำาสืบว่า ว. และ ส. เคยมาขอซื้อที่ดินอีกแปลงหนึ่งของจำาเลย จำาเลยได้พิมพ์ลายนิ้วมือในเอกสารซื้อขายจำานวน 2 ฉบับ ที่ดนิ ที่ขายไม่ใช่ที่ดินพิพาท จำาเลยมีสิทธินำาสืบได้ เพราะเป็นการนำาสืบเพื่อแสดงความเป็นมาอันแท้จริงของหนังสือสัญญาที่ดินว่า จำาเลยลงลายพิมพ์นิ้วมือใน เอกสารดังกล่าวเพราะเหตุใด มิใช่เป็นการสืบเพิ่มเติม ตัดทอนหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไข ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 94 เพราะเป็นการสืบถึงที่มาแห่งมูลหนี้ (๒) การนำาสืบพยานบุคคลถึงข้อตกลงระหว่างคู่กรณี ซึ่งเกิดขึ้นภายหลังคู่กรณีได้ทำานิติกรรมสัญญาที่มี กม.บังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง
• ถ้าเป็นข้อตกลงใหม่ที่เกี่ยวพันกับกรณีเดิมที่กม.บังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดงเช่น ข้อ
ตกลงเลิกสัญญาเดิม หรือข้อตกลงนัน้ เป็นสัญญาใหม่แยกต่างหากจากสัญญาเดิม และข้อตกลง ใหม่นี้ไม่อยู่ในบังคับต้องมีพยานเอกสารมาแสดงก็ย่อมนำาพยานบุคคลเข้าสืบได้ ไม่ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94 แต่เป็นกรณีที่กม.บังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง ก็ตกอยู่ในมาตรา 94(ฎ.468/2506,505/2507)
• ถ้าเป็นข้อตกลงใหม่ที่เป็นการแก้ไข เพิ่มเติมหรือตัดทอนสัญญาเดิม ดังนี้ การพิจารณาว่าข้อ
ตกลงใหม่นนั้ เป็นสาระสำาคัญของกรณีเดิมจนไม่อาจแยกจากเป็นอีกส่วนหนึ่งได้ ใช่หรือไม่ ถ้า เป็นเช่นนั้น ก็ต้องถือว่าแม้จะมีข้อตกลงใหม่ ข้อตกลงนั้นก็เป็นส่วนหนึ่งของกรณีเดิมนั่นเอง ถ้า กรณีเดิมมีกม.บังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง ข้อตกลงใหม่ก็ต้องมีเอกสารมาแสดง ด้วย(ฎ.1366/2497,1550/2500,1330/2504,505/2507,847/2505,775/2533) ฎีกาที่ 775/2533 สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินข้อหนึ่งระบุถึงเรื่องการปรับปรุงที่ดินว่า ผูซ้ ื้อยินดีจะจ่ายส่วน หนึ่งของค่าที่ดินให้แก่ผู้ขายเป็นค่าปรับปรุงที่ดิน ข้อความดังกล่าวบ่งถึงข้อตกลงระหว่างโจทก์ซึ่งเป็นผู้จะซื้อกับ จำาเลยซึ่งเป็นผู้จะขายเกี่ยวกับการปรังปรุงที่ที่จะซื้อขายกัน แต่ข้อตกลงนั้นจะมีจริงหรือไม่ หรือมีสาระสำาคัญ อย่างไร จำาต้องพิจารณาพยานหลักฐานทีค่ ู่ความนำาสืบ การนำาสืบข้อตกลงลักษณะเช่นนี้ไม่มีกม.บังคับให้ต้องมี พยานเอกสารมาแสดง จำาเลยจึงมีสิทธินำาสืบพยานบุคคลได้ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 94 (๓) การนำาสืบพยานบุคคลถึงรายละเอียดปลีกย่อยเกี่ยวกับวิธีการชำาระหนี้ตามสัญญาซึ่งมีกม.บังคับ ให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง กรณีเช่นนี้ ถือว่าเป็นการนำาสืบซึ่งไม่ได้กระทบกระเทือนเนื้อความใน เอกสารและไม่ต้องห้ามตามมาตรา 94(ฎ.693/2490,1838/2499,525/2517,4134/2529,11745/2533,5045/2538
23 2772/2538 สัญญาซื้อขายมีขอ ้ ความว่าผู้ขายได้ขายที่นา 2 ไร่ เศษให้แก่ผู้ซื้อและยอมส่งมอบทรัพย์สินที่ขายให้แก่ผู้ซื้อ ผู้ซื้อชำาระราคาให้ ไว้ 30,000 บาท ก่อนและยังค้างอยู่อีก 10,000 บาท ดังนี้ เป็นสัญญาซื้อขายที่ ไม่ได้ระบุจำานวนเนื้อที่ไว้แน่นอนและไม่ได้กำาหนดเวลาชำาระเงินที่เหลือไว้ จึงเป็นสัญญาที่ไม่ชัดแจ้ง การที่ผู้ซื้อนำาพยานบุคคลมาสืบว่ายังต้องทำาการ รังวัดจำานวนเนื้อที่ดินกันก่อน แล้วจึงจะชำาระราคาส่วนที่เหลือในวันโอน กรรมสิทธิ์ จึงเป็นการนำาสืบถึงข้อตกลงต่างหากจากสัญญาซื้อขาย เพื่อให้ สัญญาชัดเจนขึ้นและปฏิบัติตามสัญญาได้ โจทก์จึงมีสิทธินำาสืบพยาน บุคคลได้ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 94 525/2517 แม้ตามสัญญาเช่าซื้อและใบเสร็จรับเงินจะระบุว่า โจทก์ได้รับเงินดาวน์ไว้ถูกต้อง แต่เมื่อจำาเลยที่ 1 ชำาระเงินดาวน์ด้วยเช็ค และโจทก์รับเงินตามเช็คไม่ได้ โจทก์ก็นำาสืบได้ว่ายังไม่ได้รับเงินดาวน์ตาม เช็คนั้น หาใช่เป็นการสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสารไม่ ( ) ูู่ . . เช่น สัญญาซื้อขายที่ดิน สัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน เช่าซื้อ โดยคูส ่ ัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเช่น ผู้ซื้อมี หลายคน หรือผู้เช่าซื้อสองคน การนำาสืบระหว่างผู้ซื้อหรือผู้เช่าซื้อด้วย กันเอง ไม่ถอ ื ว่าเป็นการสืบแก้ไขเพิ่มเติมในสัญญาซื้อขายหรือสัญญาเช่า ซื้อ สามารถนำาสืบได้เสมอ แม้การนำาสืบนั้น จะไปขัดแย้งกับข้อความใน สัญญาหลักก็ตาม(ฎ.850/2493,491-2/2494,325/2524,2961/2529) 2961/2529 จำาเลยเป็นฝ่ายออกเงินซื้อที่ดินแปลงพิพาท ทั้งหมดในราคา 60,000 บาท แล้วใส่ชอ ื่ โจทก์เป็นเจ้าของร่วม เนื่องจาก โจทก์เป็นพี่ชายจำาเลย และเคยเป็นหัวหน้าคุมงานให้ผลประโยชน์แก่ จำาเลย การที่ในสัญญาซื้อขายระบุราคา 25,000 บาท แต่จำาเลยนำาสืบว่า จำาเลยซื้อมาในราคา 60,000 บาท เป็นการนำาสืบถึงความเป็นจริงระหว่างผู้ มีกรรมสิทธิ์ร่วมกัน ย่อมนำาสืบได้ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 94(ข)
24 325/2524 โจทก์จำาเลยและผู้ที่ร่วมซื้อทีด ่ ินเนื้อที่ 217 ตาราง วา ตามสัญญาซื้อขายได้ทำาความตกลงกันว่าให้กันที่ดิน 17 ตารางวา ไว้ เป็นทางสาธารณะ แต่ข้อตกลงเรื่องกันที่ดินไว้เป็นสาธารณะนี้ไม่ได้เขียน ไว้ในสัญญาซื้อขาย อย่างไรก็ดี
โจทก์จึงไม่ ต้องห้ามที่จะนำาสืบพยานบุคคลว่ามีขอ ้ ตกลงดังกล่าว ไม่ถือว่าเป็นการ แก้ไขสัญญาซื้อขาย ( )
การนำาสืบถึงฐานะบุคคลที่ปรากฏในเอกสารหมายถึง การที่คู่กรณีฝ่าย หนึ่งขอนำาสืบพยานบุคคลว่าที่ปรากฏฐานะในเอกสารเป็นคู่สัญญานั้น ความจริงไม่ได้มีฐานะเช่นนั้นจริงๆ แต่มีฐานะอย่างอื่น แยกพิจารณาได้ ดังนี้ 1. ในเรื่องความผูกพันระหว่างตัวการกับบุคคลภายนอกนั้น หากนิติกรรม ใดทีต ่ ้องทำาเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ การตั้งตัวแทนเพื่อ กระทำากิจการนั้นต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ ปพพ.มาตรา 798 วรรคสอง ฉะนั้น ถือว่าเป็นกรณีที่กม.บังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง ถ้า บุคคลภายนอกฟ้องตัวแทนให้รับผิดตามสัญญาที่กม.บังคับให้ต้องมี พยานเอกสารมาแสดงและในเอกสารระบุชื่อตัวแทนเป็นคู่สัญญา ตัวแทนจะขอนำาสืบพยานบุคคลว่า ตนเองเป็นเพียงตัวแทนหรือ ตัวแทนเชิดเพื่อให้ตนหลุดพ้นไม่ต้องรับผิดตามสัญญาไม่ได้ เป็นการ นำาสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร ต้องห้ามตามมาตรา 94(ข) (ฎ.65/2498,795/2495,2528/2538,,2016/2531,2085/2536,1897/2538) 2525/2538 ข้อความในสัญญาประนีประนอมยอมความแสดง ข้อความว่า จำาเลยลงชื่อในฐานะพยาน การที่โจทก์นำาพยานบุคคลมาสืบว่า จำาเลยลงชื่อในฐานะเป็นคู่สัญญาจึงต้องรับผิดตามสัญญาเท่ากับเป็นการ นำาสืบพยานบุคคลเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารต้องห้ามตามมาตรา 94 2016/2531 การที่จำาเลยและจำาเลยร่วมจะนำาสืบพยานบุคคลว่า จำาเลยลงชื่อในสัญญาเช่าตึกแถวพิพาทเป็นการกระทำาแทนจำาเลยร่วม จำาเลย เป็นตัวแทนเชิดของจูำเลยร่วม เท่ากับนำาสืบความจริงว่าจำาเลยไม่ใช่ผเู้ ช่า
25 จำาเลยร่วมเป็นผู้เช่าจึงเป็นการนำาสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในสัญญาเช่า ตึกพิพาทต้องห้ามตามมาตรา 94 2086/2536 หนังสือสัญญาจะซื้อจะขายทีด ่ ินและตึกแถวระบุว่า จำาเลยที่ 1 กระทำาการในฐานะกรรมการผู้จัดการของบริษัทจำาเลยที่ 2 โจทก์จะ นำาสืบพยานบุคคลว่าจำาเลยที่ 1 กระทำาการในฐานะส่วนตัวเพื่อให้ร่วมรับผิด กับจำาเลยที่ 2 ด้วยไม่ได้ เพราะเป็นการนำาสืบให้เห็นข้อเท็จจริงแตกต่างไป จากข้อความที่ระบุไว้ในเอกสารต้องห้ามตามมาตรา 94 2.การฟ้องคดีระหว่างตัวการตัวแทนตามสัญญาตัวแทนโดยเฉพาะ แม้ สัญญาตัวแทนทำากับบุคคลภายนอก กม.บังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง ตัวการตัวแทนย่อมนำาพยานบุคคลมาสืบได้เสมอว่า ชื่อของตัวแทนที่ลงไว้ใน เอกสารในฐานะคููู่สัญญานั้นความจริงเป็นตัวแทน นั่นคือการฟ้อง ระหว่างตัวการกับตัวแทนด้วยกันเองถึงข้อตกลงระหว่างกันเอง ไม่อยู่ภายใต้ บังคับมาตรา 94 เพราะสัญญาระหว่างตัวการตัวแทนไม่มีกม.บังคับให้ตอ ้ งทำา ตามแบบหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ(ฎ.261/2525,2610/2524,219/2535,12/2538,7125/2543) 7125/2543 การที่โจทก์นำาสืบพยานบุคคลเพื่อแสดงความเป็น มาอันแท้จริงว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ จำาเลยเป็นเพียงผู้มีชอ ื่ ในโฉนดที่พิพาท แทนโจทก์เท่านั้น และการนำาสืบเช่นนี้ยังเป็นการนำาสืบถึงการเป็นตัวแทน อีกส่วนหนึ่งด้วย ไม่จำาต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือเพื่อแสดงให้เห็นความ สัมพันธ์ระหว่างโจทก์จูำเลย ไม่ใช่การสืบพยานบุคคลแก้ไขเปลี่ยนแปลง ข้อความในเอกสาร • การนำาสืบว่าผู้มีชื่อในโฉนดถือกรรมสิทธิ์แทนผู้อื่นนั้นไม่ต้องห้าม ตามมาตรา 94 เพราะเป็นการนำาสืบข้อเท็จจริงระหว่างตัวการกับ ตัวแทน(ฎ.2796/2523,261/2525) • โจทก์ฟ้องว่าโจทก์และ ม.ซื้อที่ดินมีโฉนด ขณะที่โจทก์และ ม.อยู่กิน กันฉันท์สามีภริยาโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส ในการโอนทาง ทะเบียน โจทก์ให้ ม.ลงชื่อถือกรรมสิทธิ์แทนโจทก์ด้วย ตามฟ้อง ของโจทก์มิได้เป็นการบังคับกันระหว่างคู่สัญญาตามสัญญาซื้อขาย แต่เป็นกรณีที่โจทก์อา้ งว่ามีส่วนเป็นเจ้าของรวมในทีด ่ ิน โจทก์จึงมี สิทธินำาสืบได้ ไม่ต้องห้าม(ฎ.12/2538) 2342/2524 โจทก์จำาเลยมิได้พิพาทเกี่ยวกับหนี้ตามสัญญาซื้อ ขายอสังหาริมทรัพย์โดยอาศัยสัญญาตัวแทนเป็นมูลกรณี
798
26
.
( )
.
94
เป็นกรณีทม ี่ ีข้อความเป็นลายลักษณ์อักษรอยู่แล้วเพียงแต่ลายลักษณ์ อักษรไม่ชัดเจนก็สืบให้ชัดเจนมากขึ้น(ฎ.325/2486,1302/2535,1861/2535,5809/2537,41/2538,10 33/2543,851/2544,1742/2545) 851/2544 การที่โจทก์นำาแผ่นพับโฆษณามาสืบนั้น เป็นการ นำาสืบว่าแผ่นพับโฆษณาของจำาเลยซึ่งเป็นคำาโฆษณาขายของจำาเลยที่กำาหนด เวลาจะเริ่มก่อสร้างไว้และกำาหนดเวลาจะสร้างเสร็จด้วย เพือ ่ จะอธิบายให้ เห็นชัดเจนในสัญญาจะซื้อจะขายฯ กำาหนดเวลาแล้วเสร็จจะเป็นวันเวลาใด หาใช่เป็นการนำาพยานบุคคลมาสืบเพิ่มเติมตัดทอน หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไข ข้อความในเอกสารตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ข) ไม่ 41/2538 สัญญาเช่าและหนังสือต่อท้ายสัญญาเช่าระบุไว้เพียง ว่าจำาเลยจะต้องสร้างตึกแถวอาคารพาณิชย์เท่านั้น การที่โจทก์นำาพยาน บุคคลมาสืบว่ามีข้อตกลงด้วยวาจาว่าจะต้องสร้างอาคารพาณิชย์ 3 ชัน ้ และ 2 ชั้น หน้ากว้าง 4 เมตร ลึก 14-16 เมตร เป็นการนำาสืบอธิบายความหมายของ คำาว่าตึกแถวอาคารพาณิชย์ที่ระบุไว้ในสัญญา ไม่ใช่เป็นการสืบเพิ่มเติม ข้อความในสัญญา โจทก์นำาพยานบุคคลมาสืบได้ 3 94
(1)
(2)
94
4 ถ้าเป็นกรณีมาตรา 93(2) ก็ไม่ให้เอามาตรา 94 มาใช้บังคับหมายความ ว่าในกรณีทต ี่ ้นฉบับเอกสารสูญหาย หรือถูกทำาลายด้วยเหตุสด ุ วิสัย หรือนำามาไม่ได้ด้วยประการใดก็สามารถนำาสำาเนาเอกสารหรือพยาน บุคคลมาสืบแทนได้ ( สามารถเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งได้ ไม่จำาเป็น ต้องนำาสำาเนาเอกสารมาสืบก่อน) การนำาพยานบุคคลมาสืบว่าเอกสารที่มีการนำามาอ้างอิงนั้น เป็น เอกสารปลอมหรือไม่ถูกต้องทั้งหมดหรือแต่บางส่วน
27 (3) (4) ( )
การนำาสืบว่าสัญญาหรือหนี้ที่ระบุไว้ในเอกสารไม่สมบูรณ์ การนำาสืบว่าอีกฝ่ายหนึ่งตีความหมายผิด 93(2) 94
( .5859/2530,1031/2530,204/2539,6048/2541) 204/2539 การนำาสืบว่าหลักฐานแห่งการกู้ยม ื เป็นหนังสือ สูญหายไปนั้น โจทก์นำาสืบด้วยพยานบุคคลได้ เพราะเป็นกรณีที่ไม่มีกม. บังคับให้ตอ ้ งมีพยานเอกสารมาแสดง ส่วนการนำาสืบพยานบุคคลว่าจำาเลย กู้เงินโจทก์ตามหลักฐานแห่งการกู้ยืมที่สูญหายไปต้องได้รับอนุญาตจาก ศาลก่อน เมื่อศาลชั้นต้นยอมให้โจทก์นำาพยานบุคคลเข้าสืบได้ตลอดทั้ง เรือ ่ ง ถือว่าได้อนุญาตโดยปริยาย การสืบพยานของโจทก์จึงชอบด้วย ป.วิ.แพ่งมาตรา 93(2)(ฎีกานี้ออกผู้ช่วยผู้พิพากษาปี 2543) • การที่ศาลจะอนุญาตให้นำาพยานบุคคลมาสืบแทนต้นฉบับเอกสารที่ สูญหายตามป.วิ.แพ่งมาตรา 93(2) นั้น หาได้บัญญัติบังคับว่าต้องนำา พยานบุคคลผู้รักษาต้นฉบับเอกสารมาสืบไม่(ฎ.6048/2541) • ต้นฉบับใบอนุญาตขับรถยนต์ของ น.ซึ่งเป็นผู้ขับรถยนต์คันเกิดเหตุ อยู่ในความครอบครองของ น.ซึ่งหลบหนีคดีอาญา โจทก์ที่ 1 จึงอยู่ ในฐานะที่ไม่อาจจะนำาต้นฉบับใบอนุญาตขับรถยนต์นั้นมาเป็นพยาน เอกสารได้ จึงเป็นกรณีเข้าข้อยกเว้นที่ว่าไม่สามารถนำาต้นฉบับมาได้ โดยประการอื่น ศาลจึงรับฟังสำานวนหรือภาพถ่ายเอกสารนั้นได้ตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 93(2)(ฎ.3947/2536) ( )
•
( .3614/2535,2163/2533,569/2536,224/ 2530,3846/2538,1321/2501)
28 3614/2535 จำาเลยที่ 1 ให้การต่อสู้คดีไว้ว่าสัญญากู้เป็น เอกสารปลอม จึงมีสิทธินำาสืบตามข้อต่อสู้ได้ตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94 วรรคสอง ส่วนการนำาสืบว่ารับเงินจากโจทก์จำานวน 28,000 บาท เป็นการอ้างเหตุผลประกอบว่าสัญญากูม ้ ีข้อความว่ากู้ 90,000 บาท เป็น เอกสารปลอม ไม่ใช่เรื่องนำาสืบเปลี่ยนแปลงข้อความในเอกสาร 3848/2538 การที่จำาเลยนำาพยานบุคคลมาสืบว่าโจทก์ที่ 2 ไม่ ได้ไปสำานักงานทีด ่ ินในวันทำาสัญญาซื้อขายที่ดิน และไม่ทราบว่าเพราะ เหตุใดจึงมีลายมือชือ ่ โจทก์ที่ 2 ปรากฏอยู่ในหนังสือสัญญาซื้อขายที่ดิน ที่ระบุว่า จ. กับโจทก์ที่ 2 และจำาเลยร่วมกันเป็นผู้ซื้อนั้น เป็นการ นำาสืบเพื่อแสดงว่าเอกสารนั้นเป็นเอกสารปลอม จำาเลยมีสิทธินำาพยาน บุคคลมาสืบได้เช่นนั้น ตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94 วรรคสอง • ( .68 01/2540,704/2542,241/2537,704/2542) 6801/2540 การที่โจทก์นำาสืบพยานบุคคลว่าสัญญาซื้อขาย ระหว่างโจทก์และจำาเลยที่ 1 เป็นสัญญาก่ ู้ยืมไม่ใช่สัญญาซื้อขายนั้น ไม่ใช่ เป็นการนำาสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร แต่เป็นการนำาสืบหักล้าง ว่าสัญญาซื้อขายไม่ถูกต้อง จึงไม่ต้องห้ามตามมาตรา 94 วรรคท้าย 241/2537 จำาเลยนำาสืบว่าได้กู้เงินโจทก์ โจทก์ให้จำาเลยลงลาย พิมพ์นิ้วมือในกระดาษซึ่งไม่ทราบว่าเป็นกระดาษอะไร ภายหลังทราบว่า จำาเลยถูกหลอกให้ลงชือ ่ ในสัญญาซื้อขายที่พิพาท หาใช่เป็นการนำาสืบ เปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร แต่เป็นการนำาสืบหักล้างว่าสัญญาซื้อ ขายไม่ถูกต้องสมบูรณ์ทั้งหมด ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 94 704/2542 โจทก์ฟ้องบังคับให้จำาเลยจดทะเบียนโอนที่ดินพิพาท ตามสัญญาจะซื้อขาย การที่จำาเลยนำาสืบพยานบุคคลตามข้อต่อสู้ว่าสัญญาจะ ซื้อขายที่ดินเป็นสัญญาประกันหนี้ค่าสินค้าที่จำาเลยเป็นหนี้โจทก์ไม่ใช่สัญญา จะซื้อจะขายนั้น เป็นการนำาสืบหักล้างว่าสัญญาจะซื้อขายที่ดินไม่ถูกต้องและ ไม่มีผลบังคับตามกม. ไม่ใช่การสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร จึงไม่ ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94 ( )
( )
29
ดูวัตถุประสงค์แห่งการนำาสืบ ถ้า เป็นการสืบพยานบุคคลเพื่อแสดง ว่า ข้อความในเอกสารนั้น ทั้งหมดหรือบางส่วนเป็น นิติกรรมหรือหนี้ที่เป็นโมฆะหรือ ไม่สมบูรณ์หรือเสียเปล่าด้วยประ การอื่นๆซึ่งไม่สามารถบังคับตาม นิติกรรมที่ปรากฏในเอกสาร ถือว่าเป็นการสืบหักล้าง
กรณีทีเป็นการสืบที่ยังคงรักษา ความทรงอยู่ของข้อความใน เอกสารให้มีสภาพบังคับได้ แต่ให้ บังคับได้นอกเหนือหรือผิดแผด แตกต่างไปจากข้อความใน เอกสารก็เป็นการสืบแก้ไข เปลี่ยนแปลง ซึ่งต้องห้าม
(A)
.
650
30 แม้ สัญญากู้จะมีขอ ้ ความว่าผู้กู้ได้รับเงินไปครบถ้วนแล้วก็ตาม ก็ไม่เป็นการ นำาสืบพยานบุคคลเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารตาม ป.วิ.แพ่ง มาตรา 94(ข) แต่เป็นการนำาสืบพยานบุคคลถึงความไม่สมบูรณ์แห่งหนี้ หรือสัญญากู้ไม่สมบูรณ์ตามาตรา 94 วรรค ท้าย(ฎ.255/2499,507/2500,803/2514,73/2518,3221/2518,2346/2519,1804/2529,4674/2543, 4686/2540,5348/2540,945/2542,3125/2527)
• 830/2514 โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำาเลยชำาระเงินตามสัญญากู้ 20,000 บาท จำาเลยให้การต่อสู้ว่าความจริงโจทก์ให้จำาเลยกู้ไปเพียง 1,000 บาท แต่โจทก์หลอกลวงให้จำาเลยทำาสัญญากู้ไว้กับโจทก์ 20,000 บาท เพือ ่ ยึดถือไว้แทนการกู้เงิน 1,000 บาท โดยโจทก์จะไม่นำาสัญญากู้นี้ไปใช้ สิทธิเรียกร้องใดๆ ดังนี้ จำาเลยย่อมนำาสืบถึงความไม่สมบูรณ์ของสัญญา กู้ที่โจทก์นำามาฟ้องได้ ไม่ตอ ้ งห้ามตามมาตรา 94 3221/2518 จำาเลยให้การว่าจำาเลยลงชื่อในสัญญากู้โดยไม่ ทราบจำานวนเงินที่โจทก์กรอกลง ความจริงแล้วกู้เงินกันเพียง 5,000 บาท เช่นนี้ เป็นการต่อสู้ว่าการกู้และการคำ้าประกันไม่สมบูรณ์ แม้ใน สัญญาจะระบุว่ารับเงินไปแล้ว 13,500 บาท จำาเลยก็นำาสืบหักล้างได้ 2346/2519 โจทก์ฟ้องเรียกเงินตามจำานวนในสัญญากู้ 8,000 บาท จำาเลยให้การเพียงว่ากู้ไปเพียง 300 บาท แต่โจทก์ตกลงว่า ถ้า จำาเลยต้องการเงินเมือ ่ ใดให้มาเอาจนครบจำานวนเงิน 3,000 บาท ถือว่า จำาเลยต่อสู้ว่าสัญญากู้ไม่สมบูรณ์เพราะโจทก์ส่งมอบเงินให้จำาเลยไม่ครบ ตามสัญญา จำาเลยนำาสืบได้รับเงินไปจากโจทก์แล้วเท่าใด ไม่ใช่การสืบ แก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสาร 4686/2540 . 650
31
.
.
94 5348/2540 สัญญากู้ยืมเงินมีข้อความระบุชัดเจนว่าจำาเลยได้ รับเงิน 80,000 บาท ไปแล้วในวันทำาสัญญา การทีจ ่ ำาเลยนำาสืบว่าไม่ได้รับ เงินเต็มตามจำานวน 80,000 บาท ตามทีร ่ ะบุไว้ในสัญญา เนือ ่ งจากโจทก์ นำาหนี้เงินกู้เดิม 10,000 บาท รวมกับยอดหนี้เงินกู้ใหม่ 13,000 บาท แล้ว โจทก์คิดต้นเงินรวมกับดอกเบี้ยเป็นจำานวน 70,000 บาท โดยให้จำาเลย ผ่อนเดือนละ 1,000 บาท เป็นเวลา 70 เดือน
.
.
94( ) 94 •
(
1599/2542,945/2542,1527/2518) 945/2542 สัญญากู้มีขอ ้ ความชัดเจนว่าจำาเลยทั้งสองกูเ้ งินไป จากโจทก์รวม 100,000 บาท และรับเงินไปครบถ้วนแล้วเมื่อวันที่ 7 พ.ค. 36 จำาเลยทั้งสองนำาพยานบุคคลเข้าสืบว่า ความจริงทำาสัญญากู้กันวันที่ 8 พ.ค. 36 โดยจำาเลยที่ 1 เป็นผู้กู้เงินโจทก์คนเดียวจำานวน 40,000 บาท ส่วน จำาเลยที่ 2,3 เป็นเพียงผู้ คำ้าประกันมิใช่ผู้กู้
32
.
650 .
.
94( ) .
.
94
(B) • นิติกรรมมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามตามกม./เป็นการพ้นวิสัย/ขัดต่อความ สงบฯ ตกเป็นโมฆะตาม ปพพ.มาตรา 150 • นิติกรรมไม่ถูกต้องตามแบบเป็นโมฆะ ตาม ปพพ.มาตรา 152 • นิติกรรมซึ่งเกิดโดยเจตนาลวงหรือนิติกรรมอำาพราง ตาม ปพพ.มาตรา 155 • นิติกรรมซึ่งเกิดขึ้นโดยสำาคัญผิดในสิ่งที่เป็นสาระสำาคัญ/ฉ้อฉล/การ ข่มข่ ู่ ตาม ปพพ.มาตรา 156,157,159 (ฎ.272/2498,1655/2490,295/2508(ป),971/2512,1016/2538,1046-7/2538,1444/2540,1016/2538) 295/2508( ) โจทก์ฟ้องบังคับจำาเลยตามสัญญาขายฝาก จำาเลยให้การต่อสู้ว่าสัญญาขายฝากเป็นนิติกรรมอำาพราง แท้จริงแล้ว จำาเลยกูเ้ งินแล้วต้องการจะจำานองทีด ่ ินแต่โจทก์บังคับให้นำาไปขายฝาก เช่นนี้ ย่อมเป็นการกล่าวอ้างว่าสัญญาขายฝากเกิดจากเจตนาลวงโดยก คู่กรณีมีเจตนาแท้จริงที่จะทำาสัญญาจำานองต่อกัน หากข้อเท็จจริงเป็น ดังทีจ ่ ำาเลยอ้าง สัญญาขายฝากย่อมตกเป็นโมฆะ ฉะนั้น การที่จำาเลย ขอนำาสืบว่ าสัญญาขายฝากเป็นโมฆะ จึงไม่ใช่การสืบเปลี่ยนแปลง แก้ไขข้อความในเอกสาร แต่เป็นการสืบหักล้างสัญญาขายฝากไม่ถูก ต้องสมบูรณ์ทั้งหมด จำาเลยจึงนำาสืบได้
33 1016/2538 แม้การแลกเปลี่ยนที่ดินจะต้องทำาเป็นหนังสือ และจดทะเบียนอันเป็นกรณีที่กม.บังคับให้ตอ ้ งมีเอกสารมาแสดงและ นิติกรรมที่โจทก์กับจำาเลยทำากันไว้ตามหนังสือสัญญาให้ที่ดินระบุว่า เป็นการยกให้โดยเสน่หา โจทก์สามารถนำาพยานบุคคลมาสืบได้ว่า ความจริงเป็นการแลกเปลีย ่ นไม่ต้องห้ามตามมาตรา 94 เพราะเป็นการ นำาสืบว่าสัญญาให้โดยเสน่หาเป็นนิติกรรมอำาพราง ต้องบังคับตาม สัญญาที่แท้จริงคือสัญญาแลกเปลี่ยนระหว่างโจทก์จำาเลย 1046-7/2501 จำาเลยให้การว่า จำาเลยลงชื่อในเอกสารโดย เจตนาทำาสัญญานายหน้ากับโจทก์ แต่ปรากฏว่าข้อความในสัญญากลับ เป็นสัญญาจะขายที่ดิน ดังนี้ เป็นการแสดงเจตนาโดยสำาคัญผิดในสาระ สำาคัญแห่งนิติกรรมตกเป็นโมฆะ จำาเลยนำาสืบพยานบุคคลได้ ( ) กรณีนี้ ความจริงมิได้เป็นการนำาสืบเพื่อทำาลายหรือหักล้าง แต่ เป็นการสืบว่า เอกสารนั้นยังใช้ได้อยู่ แต่ใช้บังคับไปอีกอย่าง ไม่ใช่อย่างที่คู่ ความอีกฝ่ายหนึ่งเข้าใจ(ฎ.547/2487,1586/2492,385/2493,236/2534,4380/2540,5869/2537) 5869/2537 สัญญาจะซื้อจะขายมิได้ระบุเลขที่โฉนดที่ดินที่ซื้อ ขายไว้ โดยระบุเฉพาะเนื้อที่และที่ตั้งที่ดิน เป็นกรณีขอ ้ ความในสัญญาไม่ ชัดเจน โจทก์ยอ ่ มนำาสืบได้ว่าเจตนาแท้จริงของการซื้อขายนั้นคือที่ดินโฉนด เลขที่เท่าใด การนำาสืบเช่นนี้หาใช่การนำาสืบว่ายังมีข้อความเพิ่มเติมตัดทอน หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารอยูอ ่ ีกตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ข) ไม่ แต่เป็นการนำาสืบเพื่ออธิบายข้อความในสัญญาซึ่งยังไม่ชัดเจนพอ 4380/2540 สัญญาจะซื้อจะขายมีข้อความว่า “ส่วนเงินที่เหลือ อีก 1,850,000 บาท จะจ่ายในเมือ ่ ทางธนาคารอนุมัติให้” ไม่ได้กำาหนดให้เห็นต่อ ไปว่าหากธนาคารไม่อนุมัติให้จะมีผลอย่างไร การที่โจทก์นำาสืบพยานบุคคล ว่ามีขอ ้ ตกลงด้วยวาจาว่าหากธนาคารอนุมัตเิ งินกู้แก่โจทก์ไม่ครบ 1,850,000 บาท ให้ถือว่าสัญญาจะซื้อจะขายเลิกกัน โจทก์ย่อมนำาสืบได้เพราะเป็นการนำาสืบ อธิบายข้อความในเอกสาร ไม่ใช่เป็นการสืบเพิ่มเติม ตัดทอน หรือ เปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร ไม่ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ข) .
.
94 :
.
34 .
.
(ฎ.3017/2538 สัญญาก่อสร้างไม่มีกม.บังคับให้ตอ ้ งทำาเป็นหนังสือ หรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ แม้จะทำาเป็นหนังสือ ก็สืบพยานบุคคลแก้ไขได้ ไม่อยู่ในบังคับของมาตรา 94) .
94 ( .166/
2536,1313/2537,3888/2537,2584/2543,1829/2527,7075/2538,3641/2532,3098/2530) • คดีขอค่าทดแทนทีด ่ ินที่ถูกเวนคืน นำาสืบสัญญาซื้อขายที่ดินข้างเคียง ด้วยพยานบุคคลได้ ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 94(ก) และถ้ามีเอกสารมา แสดงก็สืบพยานบุคคลแก้ไขเปลี่ยนแปลงราคาทีร ่ ะบุในเอกสารได้ ไม่ ต้องห้ามตามมาตรา 94(ข)(ฎ.166/2536) • คดีฟ้องเรียกเงินกู้คืน สืบพยานบุคคลถึงสัญญาเช่าซื้อ เพื่อแสดง ที่มาแห่งมูลหนี้เงินกู้ยืมได้ มิใช่เพื่อบังคับตามสัญญาเช่าซื้อ โดยตรง(ฎ.1313/2537) • คดีเรียกค่าเสียหายฐานละเมิด นำาสืบว่าเป็นผู้รับประกันภัย รับช่วง สิทธิผเู้ สียหายมาฟ้องเช่นนี้ นำาสืบพยานบุคคลถึงสัญญาประกันภัย ได้(ฎ.3888/2537) • คดีลม ้ ละลายมีประเด็นว่า จพท.จะเพิกถอนสัญญาซื้อขายราคาตำ่าหรือ ไม่ นำาพยานบุคคลว่าราคาซื้อขายที่แท้จริงสูงกว่าที่ระบุไว้ในเอกสาร ได้(ฎ.2584/2543) . ( ) ( )
35 94 •
93(2) /
/
• พยานเอกสารที่แสดงนั้นเป็น • พยานเอกสารที่แสดงนั้น • •
• ถ้าสืบเพื่อให้ตนเองหลุดพ้นความรับผิด สืบพยานบุคคลไม่ ได้=แก้ไข ข้อความในเอกสารต้องห้ามตามมาตรา 94(ข) ประกอบ ปพพ.มาตรา 798(ฎ.1897/2538) 1897/2538 โจทก์ฟ้องว่าจำาเลยกู้ยืมเงินโจทก์ จำานวน 60,000 บาท แต่จำาเลยไม่ชำาระขอให้จำาเลยชำาระหนี้เงิน ต้นพร้อมดอกเบี้ย จำาเลยให้การว่า ล.บุตรสาวจำาเลยเป็นผู้กู้ยม ื เงินโจทก์โดยให้จำาเลยเป็นผูท ้ ำาสัญญากู้แทน ขอให้ยกฟ้อง คดี มีปัญหาในชั้นฎีกาว่า จำาเลยจะนำาพยานบุคคลมาสืบว่า จำาเลย ลงชือ ่ ในสัญญาแทน ล.ซึ่งเป็นบุตรของจำาเลยได้หรือไม่ ศาล ฎีกาวินิจฉัยว่า การกู้ยม ื เงินกว่า 50 บาทขึ้นไปต้องมีหลักฐาน เป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ยม ื เป็นสำาคัญ การตั้งตัวแทนเพื่อทำา สัญญากู้แทนจึงต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือตาม ปพพ.มาตรา 798 วรรคสอง จำาเลยจึงไม่อาจนำาพยานบุคคลมาสืบว่าจำาเลย ลงชือ ่ ในสัญญากู้แทน ล. ซึ่งเป็นบุตรของจำาเลยเพราะต้องห้าม ตามมาตรา 94(ข)
36 • สืบเพื่อให้ตัวการเข้ามาใช้สิทธิหรือรับผิดตามสัญญานั้น ตาม ปพพ.มาตรา 806 สืบพยานบุคคลได้เพราะเป็นการสืบเพื่อ แสดงฐานะที่แท้จริงของบุคคล มิใช่สืบเพื่อแก้ไขข้อความใน เอกสาร(ฎ.3470/2538) • ระหว่างตัวการกับตัวแทนด้วยกันเอง สืบพยานบุคคล เพื่อ แสดงฐานะที่แก้จริงได้เสมอ(ฎ.1306/2500 ป.) . . . 94 เพราะคดีอาญาตาม ป.วิ.อาญามาตรา 226 การนำาสืบคดีอาญา ทำาได้กว้างขวางกว่าคดีแพ่ง พยานหลักฐานใดที่จะพิสูจน์ว่า จำาเลยกระทำาผิดหรือไม่ ย่อมนำาสืบได้ทั้งสิ้น(ดูฎีกาที่ 273/2498,3224/2531) 273/2498 โจทก์ฟ้องว่าจำาเลยเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่รับ จ่ายเงินของกรมการทหารช่าง ได้เรียกและยอมรับเงินที่จำาเลยมิควรได้ตาม กม.จากนายทหาร 9 คน รวมเป็นเงิน 800 บาท จำาเลยให้การปฏิเสธ คดีมี ประเด็นข้อหนึ่งว่า โจทก์นำาสืบพยานบุคคลหักล้างพยานเอกสารต้องห้ามหรือ ไม่ ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า ในคดีอาญา คู่กรณีมีสิทธินำาพยานมาสืบประกอบ แสดงข้อเท้๗๗ณิงแห่งข้อความในเอกสารว่าถูกต้องความจริงได้ . 94
( .7055/2537,1311/2515,3039/2533,842/2520,805/2539) 7055/2537 ป.วิ.แพ่งมาตรา 94 บัญญัติห้ามเฉพาะการนำา พยานบุคคลเข้าสืบแทนพยานเอกสารหรือประกอบข้ออ้างว่ายังมีข้อความ เพิ่มเติมหรือแก้ไขข้อความในเอกสาร ในเมื่อมีกม.บังคับให้ตอ ้ งมีเอกสาร มาแสดง การที่โจทก์นำาสืบถึงข้อตกลงเกี่ยวกับราคาที่ดินตามหนังสือ สัญญาที่ทำากันอีกส่วนหนึ่ง นอกเหนือจากหนังสือสัญญาขายที่ดินที่จด ทะเบียนต่อเจ้าพนักงานที่ดิน จึงไม่เป็นการต้องห้ามตามบทบัญญัติดัง กล่าว 805/2539 ป.วิ.แพ่งมาตรา 94 ห้ามเฉพาะการนำาพยาน บุคคลข้าสืบแทนพยานเอกสารหรือประกอบข้ออ้างว่ายังมีข้อความเพิ่มเติม หรือแก้ไขข้อความในเอกสารเมื่อมีกม.บังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง
37
.
94
• สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินระบุว่าผู้ซื้อได้ชำาระราคาครบถ้วน ผู้ขาย จะนำาสืบพยานบุคคลว่าได้รับเงินเพียงบางส่วนหรือยังไม่ได้เงินหา ได้ไม่ เพราะเป็นการนำาพยานบุคคลมาสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลง ข้อความในเอกสารต้องห้ามตามมาตรา 94(ข )(ฎ.2829/2517,1842/2524,1700/2527) • สัญญาจะซื้อขายที่ดินระบุราคาซื้อขายกันไว้แล้ว คู่สัญญาจะนำา พยานบุคคลมาสืบว่าได้ตกลงราคาซื้อขายกันเป็นอย่างอื่นหาได้ไม่ ต้องห้ามตามมาตรา 94(ข)(ฎ.1514/2538) • แต่ถ้าค่ ู่ความยอมรับกันว่าซื้อขายที่ดินพิพาทในราคาที่สูง ว่าที่ระบุไว้ในสัญญาซื้อขาย แม้สญ ั ญาซื้อขายมีข้อความว่า ผู้ซื้อ ได้ชำาระราคาและผู้ขายได้รับเงินค่าที่ดินแล้ว ผูข ้ ายสามารถนำา พยานบุคคลมาสืบว่ายังได้รับเงินค่าทีด ่ ินไม่ครบถ้วนตามราคา ที่แท้จริงได้ ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 94(ข) เพราะการนำาสืบถึงการ ชำาระหนี้ตามสัญญาซื้อขายไม่มีกม.บังคับให้ต้องมีเอกสารมา แสดง(ฎ.228/2538) • สัญญาจะซื้อขายที่ดินระบุเวลากันไว้แล้ว คู่สญ ั ญาจะนำาสืบพยาน บุคคลว่าได้มีการ ตกลงชำาระในวันอื่น แตกต่างจากทีร ่ ะบุไว้ในสัญญาไม่ได้ตอ ้ งห้าม ตามมาตรา 94(ข)(ฎ.581/2530,1384/2523) • หนังสือสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์กำาหนดค่าเช่าไว้แล้ว จะนำาสืบ พยานบุคคลว่า ได้มีการตกลงลดหรือเพิ่มค่าเช่าหาได้ไม่
38 (ฎ.145/2533,137/1514) แต่ถ้าเป็นการฟ้องเรียกค่าเสียหายกรณีที่ผู้เช่ายัง คงอยู่ในอสังหาริมทรัพย์ทเี่ ช่าต่อมาหลังจากทีส ่ ัญญาเช่าระงับแล้ว ซึ่งเป็นคนละกรณีต่างหากจากสัญญาเช่า นั้น โจทก์นำาสืบพยาน บุคคลได้ว่าโจทก์จำาเลยตกลงกันขึ้นค่าเช่าได้ ไม่ต้องห้ามมาตรา 94(ข)(ฎ.3303/2532 ซึ่งฎีกานี้ออกสอบผู้ช่วยผู้พิพากษาปี 40) • หนังสือสัญญาเช่ามีข้อความกำาหนดระยะเวลาเช่าไว้แล้ว คู่สญ ั ญา จะนำาสืบพยานบุคคลเปลี่ยนแปลงแก้ไขกำาหนดเวลานี้มิได้ ต้อง ห้ามตามมาตรา 94 (ข)(ฎ.2402/2525) • แต่ผู้เช่าสามารถนำาสืบพยานบุคคลมาสืบเพื่อแสดงว่าสัญญาเช่า อสังหาริมทรัพย์นั้นเป็นสัญญาเช่าต่างตอบแทนพิเศษยิ่งกว่า สัญญาเช่าธรรมดาซึ่งไม่จำาต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ การนำาสืบ ของผูเ้ ช่าจึงไม่ตอ ้ งห้ามตามมาตรา 94 (ฎ.1002/2509,1547/2530) 1547/2530 โจทก์ฟ้องขอให้ขับไล่จำาเลยออกจากตึกแถวชอง โจทก์ทจ ี่ ำาเลยเช่า จำาเลยให้การว่าการเช่าตึกพิพาทมีข้อตกลงให้จำาเลยช่วย ค่าก่อสร้างตึกพิพาทแล้วยกกรรมสิทธิ์ให้โจทก์ โดยโจทก์สัญญาว่าจะให้ จำาเลยเช่าตึกพิพาทมีกำาหนด 25 ปี เพียงแต่ทำาสัญญาเช่าและจดทะเบียน ต่อพนักงานเจ้าหน้าทีม ่ ีกำาหนด 12 ปีก่อน ครบกำาหนดแล้วโจทก์จะให้เช่า ต่ออีก 13 ปี เป็นสัญญาต่างตอบแทนพิเศษ ขอให้ยกฟ้อง ศาลฎีกา วินิจฉัยว่า จำาเลยชอบที่จะนำาสืบถึงเหตุทจ ี่ ำาเลยมีสิทธิเช่าต่ออีก เพราะได้ ออกเงินค่าก่อสร้างเป็นการตอบแทน เท่ากับเป็นการนำาสืบหักล้างสัญญา นั้นไม่ใช่สัญญาเช่าธรรมดา แต่เป็นสัญญาเช่าต่างตอบแทน ไม่ตอ ้ งห้าม ตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ข)
( )
.
.
94
55 7 -เงินกินเปล่าเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาเช่า อสังหาริมทรัพย์ ไม่ทำาให้สัญญาเช่าเป็นสัญญาต่างตอบแทนพิเศษยิ่งกว่า สัญญาเช่า เมือ ่ เป็นสัญญาเช่าธรรมดาจะสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมข้อความใน เอกสารไม่ได้ ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ข)(ฎ.2402/2525) -สัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ตอ ้ งมีหลักฐานเป็นหนังสือ เป็นกรณีที่ กม.บังคับให้มีพยานเอกสารมาแสดง การตกลงแก้ไขเพิ่มเติมอัตราค่าเช่าซึ่ง เป็นสาระสำาคัญของสัญญาเช่าจะต้องมีพยานหลักฐานเป็นหนังสือด้วย จะ นำาสืบพยานบุคคลว่ามีขอ ้ ตกลงให้เพิ่มค่าเช่าโดยไม่มีพยานเอกสารมาแสดงไม่ ได้ ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ข)(ฎ.736/2494)
39 52 8 –การชำาระต้นเงินของหนี้เงินกู้ตาม ปพพ.มาตรา 653 วรรคสอง ต้องมีพยานเอกสารมาประกอบ จะสืบพยานบุคคลว่าได้ชำาระหนี้ ต้นเงินแล้วไม่ได้ แต่ในส่วนของดอกเบี้ยไม่มีกม.บังคับว่าต้องมีพยานเอกสาร มาแสดง ดังนั้น การชำาระดอกเบี้ยสืบพยานบุคคลได้(ฎ.1084/2510) คำาพิพากษาฎีกาที่ 1084/2510 การชำาระดอกเบี้ยไม่จำาต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 วรรค 2 จึงนำาสืบพยานบุคคลว่าได้ ชำาระดอกเบี้ยแล้วได้ (อ้างฎีกาที่ 243/2503) การชำาระหนี้ด้วยเช็ค เป็นการชำาระหนี้ด้วยการออกตั๋วเงินตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 321 วรรค 3 ย่อมถือได้ว่า เป็นการชำาระหนี้อย่างอื่นซึ่งมิใช่การชำาระหนี้ด้วยเงิน ฉะนั้น แม้จะไม่มี หลักฐานเป็นหนังสือตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 ก็ย่อมรับฟังพยานบุคคลที่นำามาสืบในเรื่องการชำาระหนี้ได้ (อ้างฎีกาที่ 767/2505) 50 9 -การนำาสืบพยานบุคคลเพื่ออธิบายข้อความในสัญญาให้ ชัดเจนยิ่งขึ้น ไม่ใช่การนำาสืบเพิ่มเติมตัดทอน หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความ ในเอกสาร ไม่ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ข) จึงสามารถนำาสืบพยาน บุคคลตามข้อด้างได้(ฎ.4380/2540) คำาพิพากษาฎีกาที่ 4380/2540 สัญญาจะซื้อขายมีขอ ้ ความว่า ส่วนเงินที่เหลืออีก ๑,๘๕๐,๐๐๐บาท จะจ่ายในเมื่อทางธนาคารอนุมัติให้ ไม่ได้กำาหนดให้เห็นต่อไปว่าหาก ธนาคารไม่อนุมัติให้จะมีผลเป็นอย่างไร การที่โจทก์นำาสืบพยานบุคคล ว่ามีขอ ้ ตกลงด้วยวาจาว่า หากธนาคารอนุมัตเิ งินกู้แก่โจทก์ไม่ครบ ๑,๘๕๐,๐๐๐ บาท ให้ถือว่าสัญญาจะซื้อขายเลิกกัน โจทก์ย่อมมีสท ิ ธิ นำาสืบได้ เพราะเป็นการนำาสืบอธิบายข้อความในเอกสารไม่ใช่เป็นการ นำาสืบเพิ่มเติมตัดทอน หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารอันจัก ต้องห้ามตาม ป.วิ.พ.มาตรา ๙๔ (ข) สัญญาจะซื้อขายมีข้อตกลงว่า หากธนาคารอนุมัติเงินกู้แก่โจทก์ไม่ ครบ ๑,๘๕๐,๐๐๐ บาท ให้ถือว่าสัญญาจะซื้อขายเลิกกัน เมื่อต่อมา ธนาคารอนุมต ั ิให้โจทก์กู้เงินได้เพียง ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ไม่ถึงจำานวนที่ ระบุไว้ในสัญญาโดยมิใช่เป็นเพราะความผิดของฝ่ายใด สัญญาจะซื้อขาย จึงเลิกกัน คูส ่ ัญญาแต่ละฝ่ายจำาต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งได้กลับคืนสู่ฐานะดัง
40 ที่เป็นอยู่เดิม จำาเลยก็ต้องคืนมัดจำาทีร ่ ับไว้ให้โจทก์พร้อมด้วยดอกเบี้ย จะ ริบเสียมิได้ 47 8 -กรณีมีข้อตกลงเป็นพิเศษอีกส่วนหนึ่งต่างหากจากสัญญา คำ้าประกัน และข้อตกลงเช่นนี้ไม่มีกม.บังคับให้ตอ ้ งมีหลักฐานเป็นหนังสือ จึง มิใช่กรณีที่กม.บังคับให้ต้องพยานเอกสารมาแสดง ตามมาตรา 94 จึงสามารถ สืบพยานบุคคลถึงข้อตกลงนี้ได้และไม่ถือว่าเป็นการเพิ่มเติมสัญญาคำ้าปะ กัน(ฎ. 505/2507) 45 8 -สัญญาจะซื้อขายที่ดินมิได้กำาหนดเรือ ่ งค่าธรรมเนียนใน การโอนไว้ อีกฝ่ายหนึ่งจะนำาสืบพยานบุคคลให้อีกฝ่ายรับผิดชอบค่าธรรม เนียนในการโอนทีด ่ ินหาได้ไม่ ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 294 เพราะถ้า สัญญาจะซื้อจะขายไม่ได้ระบุค่าธรรมเนียมในการโอนไว้นั้น ปพพ.มาตรา 457 บัญญัติให้ผู้จะซื้อผู้จะขายต้องออกค่าธรรมเนียมคนละครึ่ง คำาพิพากษาฎีกาที่ 817/2524 สัญญาจะซื้อขายทีด ่ ินมิได้กำาหนดเรื่องที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ซื้อจะต้อง ออกค่าธรรมเนียมในการโอนไว้ในสัญญาด้วยดังนั้นการที่จำาเลยจะนำา พยานบุคคลมาสืบว่าโจทก์ตกลงกับจำาเลยว่าจะออกค่าธรรมเนียมในการ โอน และเมือ ่ โจทก์ไม่ยอมออกค่าธรรมเนียมดังกล่าว ถือว่าโจทก์เป็น ฝ่ายผิดสัญญานั้นเป็นการนำาสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงแก้ไข เอกสารสัญญาจะซื้อขาย ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความแพ่งมาตรา 94 ( )
45 3 - การวางมัดจำาในการทำาสัญญาจะซื้อจะขาย อสังหาริมทรัพย์ตาม ปพพ.มาตรา 456 วรรคสอง นั้นไม่ต้องมีหลักฐานเป็น หนังสือ ก็ฟ้องบังคับคดีได้ โดยนำาพยานบุคคลมาสืบเรือ ่ งการวางมัดจำาได้ มาตรา 456 นั้น ต้องการ 3 กรณี เพื่อจะฟ้องร้องบังคับคดีคือ 1.มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชือ ่ ฝ่ายที่ต้องรับผิด 2.วางมัดจำา 3.ได้ชำาระหนี้บางส่วน คำาพิพากษาฎีกาที่ 7053/2540 ผู้บริโภคได้ตกลงจะซื้อที่ดินตามฟ้องโดยมีการวางเงินมัดจำา
41 ซึ่งกรณีดังกล่าวไม่จำาต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือก็ฟ้องร้องบังคับคดีกัน ได้ตาม ป.พ.พ.มาตรา ๔๕๖ วรรคสอง จึงมิใช่กรณีที่กฎหมายบังคับให้มี พยานเอกสารมาแสดง ดังนั้นโจทก์ย่อมมีสท ิ ธินำาสืบพยานบุคคลเพิ่มเติม ข้อความในเอกสารได้ หรือศาลมีอำานาจรับฟังพยานบุคคลของโจทก์ได้ จำาเลยได้ตกลงจะสร้างเขือ ่ นกั้นดินริมคลองให้แก่ผู้บริโภคแต่แล้วก็ ไม่สร้างให้ โดยคิดค่าสร้างเขื่อนตารางวาละ ๑,๕๐๐ บาท รวมเป็น เงิน๑๕๐,๐๐๐ บาท ดังนี้ จำาเลยจึงต้องคืนเงิน ๑๕๐,๐๐๐ บาท ให้แก่ผู้ บริโภค ผู้แทนของจำาเลยได้ทำาบันทึกต่อคณะกรรมการคุม ้ ครองผู้บริโภคคือ โจทก์ว่า จำาเลยยอมรับจะซ่อมแซมบ้านส่วนที่ชำารุดบกพร่องให้แก่ผู้ บริโภคซึ่งเป็นผู้ร้องเรียน ถ้าผู้บริโภคไม่ติดใจฟ้องร้องทางแพ่งและทาง อาญาต่อจำาเลยนั้น เป็นเพียงหนังสือบันทึกถ้อยคำาหรือคำาให้การของ จำาเลยในฐานะผู้ถูกร้องเรียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งเป็นองค์กรปกครองที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อคุ้มครองผู้ บริโภค อันเป็นกรณีทจ ี่ ำาเลยให้ถ้อยคำาไปตามหน้าที่ที่ถูกร้องเรียน และ มิใช่กระทำาต่อเจ้าหนี้หรือผู้แทนเจ้าหนี้ ทั้งยังเป็นการยอมรับจะชำาระหนี้ คือซ่อมแซมบ้านส่วนทีช ่ ำารุดบกพร่องโดยมีเงื่อนไขว่าผู้บริโภคต้องไม่ ติดใจฟ้องร้องทางแพ่งและทางอาญาต่อจำาเลย ดังนี้กรณีถือไม่ได้ว่า จำาเลยมีเจตนาจะชำาระหนี้แก่เจ้าหนี้อีกด้วยจึงไม่เป็นการรับสภาพหนี้ ตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๗๒ ซึ่งใช้บังคับขณะยอมรับจะชำาระหนี้ (มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๑) ที่แก้ไขใหม่) ฟ้องโจทก์ในส่วนที่ให้จำาเลยชำาระหนี้ เป็นการฟ้องร้องที่โจทก์ อ้างอิงสิทธิเรียกร้องของผู้บริโภค เมื่อผู้บริโภคตรวจพบความชำารุด บกพร่องของบ้านทีจ ่ ำาเลยก่อสร้างตั้งแต่วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๓ ซึ่ง เป็นวันเริม ่ นับสิทธิเรียกร้อง แต่โจทก์ฟ้องคดีนี้เมื่อเกิน ๑ ปี คดีโจทก์ ย่อมขาดอายุความ ตาม ป.พ.พ.มาตรา ๖๐๑ คำาพิพากษาฎีกาที่ 3945/2535 คดีนี้เป็นการทำาสัญญาจะซื้อขายอสังหาริมทรัพย์โดยได้มีการวาง มัดจำาไว้แล้ว ซึ่งไม่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ ก็ฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ จึงไม่ใช่กรณีที่กฎหมายบังคับให้ตอ ้ งมีพยานเอกสารมาแสดง แม้ต่อมา จะได้มีการทำาสัญญาจะซื้อขายเป็นหนังสือ โจทก์ก็นำาพยานบุคคลมาสืบ ได้ว่า โจทก์กับจำาเลยที่ ๑ ได้ตกลงกันแตกต่างจากทีร ่ ะบุไว้ในหนังสือ สัญญาจะซื้อขาย โดยให้โจทก์ผ่อนชำาระเงินค่างวดงวดแรกเมือ ่ ก่อสร้าง อาคารแล้วเสร็จ และศาลย่อมรับฟังพยานหลักฐานโจทก์ได้ ไม่ตอ ้ งห้าม ตาม ป.วิ.พ.มาตรา ๙๔
42 คำาพิพากษาฎีกาที่ 647/2508 แม้สัญญาจะซื้อขายที่ดินกฎหมายบังคับให้ต้องมีหลักฐาน เป็นหนังสือ ลงลายมือชื่อฝ่ายต้องรับผิดมาแสดง แต่การทีจ ่ ำาเลยนำาสืบ ว่าได้ชำาระราคาที่พิพาทกันแล้วนั้น จำาเลยย่อมนำาสืบได้ ไม่เป็นการ นำาสืบเพื่อเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือเพิ่มเติมเอกสารสัญญาแต่อย่างใด โจทก์ยื่นคำาร้องโต้แย้งว่า คำาสั่งศาลชั้นต้นที่ให้โจทก์นำาสืบก่อนไม่ ชอบ ขอให้สั่งใหม่ให้จำาเลยนำาสืบก่อน ศาลชั้นต้นมีคำาสั่งไม่อนุญาตตาม ที่โจทก์ขอ โจทก์ไม่โต้แย้งคำาสั่ง กลับแถลงไม่ติดใจสืบพยานต่อไป ศาล ชั้นต้นจึงดำาเนินการพิจารณาสืบพยานจำาเลยจนเสร็จสำานวน และ พิพากษาแล้ว โจทก์จะอุทธรณ์ฎีกาคำาสั่งในเรื่องหน้าที่นำาสืบนี้อีกไม่ได้. (อ้างฎีกาที่ ๘๑๙/๒๕๐๑) คำาพิพากษาฎีกาที่ 468/2506 โจทก์ฟ้องว่าจำาเลยซื้อของ และผิดสัญญาไม่ชำาระหนี้ให้ครบ การที่ จำาเลยต่อสู้ว่าจำาเลยบอกคืนของที่ซื้อ ให้โจทก์ริบเงินมัดจำาและโจทก์ ยินยอมนั้น ย่อมเป็นข้อต่อสู้ว่าภายหลังจากทำาสัญญาซื้อขายแล้ว คู่กรณี ได้ทำาความตกลงกันใหม่ โดยเลิกสัญญาเดิม ฉะนั้น จำาเลยย่อมนำาพยาน บุคคลมาสืบได้ ไม่ตอ ้ งห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 41 3 -กรณีที่อ้างว่าสัญญาที่กระทำาไม่สมบูรณ์ ตามมาตรา 94 วรรคท้าย นำาสืบพยานบุคคลได้(ฎ.418/2521) -กรณีการบังคับที่มิใช่บังคับตามสัญญานั้นโดยตรง แต่เป็นกรณี การเรียกค่าเสียหายจากการเลิกสัญญาเป็นคนละกรณีกับการฟ้องบังคับตาม สัญญาเช่า สามารถนำาพยานบุคคลมาสืบได้(ฎ.3303/2532) คำาพิพากษาฎีกาที่ 418/2521 โจทก์ฟ้องจำาเลยที่ 1 ในฐานะผู้กู้ จำาเลยที่ 2 ในฐานะผู้คำ้าประกันให้ ชำาระเงินคืน จำาเลยทั้งสองใ ห้การใจความว่าจำาเลยที่ 1 ได้ทำาสัญญากู้ และจำาเลยที่ 2 ได้ทำาสัญญาคำ้าประกันให้โจทก์ไว้จริง โดยโจทก์ตกลงซื้อ ไม้แปรรูปจากจำาเลยที่ 1 และได้วางมัดจำาไว้ 50,000 บาท แต่โจทก์ขอให้ จำาเลยเขียนเป็นสัญญากู้ให้โจทก์ยึดถือเป็นหลักฐานการวางมัดจำา ครั้น เมือ ่ จำาเลยส่งมอบไม่ให้โจทก์ตามสัญญา โจทก์กลับไม่ยอมตรวจรับไม้ จึง เป็นฝ่ายผิดสัญญาไม่มีสท ิ ธิเรียกร้องให้จำาเลยรับผิดตามสัญญากู้และ สัญญาคำ้าประกัน ตามคำาให้การของจำาเลยเท่ากับต่อสู้ว่าสัญญากู้และคำ้า ประกันตามฟ้องไม่สมบูรณ์ ซึ่งจำาเลยมีสิทธินำาสืบตามข้อต่อสู้ได้
43 คำาพิพากษาฎีกาที่ 3303/2532 ในการฟ้องขับไล่ผเู้ ช่าออกจากอสังหาริมทรัพย์ที่ให้เช่าและ เรียกค่าเสียหาย ไม่มีกฎหมายใดบังคับให้ตอ ้ งแนบสัญญาเช่าเป็นหนังสือ ลงลายมือชื่อฝ่ายผู้ต้องรับผิดมาพร้อมกับฟ้อง ประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ มาตรา 538 บังคับแต่เพียงว่าในการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ถ้าไม่มี หลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่งอย่างใดลงลายมือชือ ่ ฝ่ายที่ต้องรับผิดเป็น สำาคัญ จะฟ้องร้องให้บังคับคดีไม่ได้เท่านั้น การทีศ ่ าลชั้นต้นมีคำาสั่งรับคำา ฟ้องของโจทก์ซึ่งฟ้องขับไล่และเรียกค่าเสียหายจากจำาเลยโดยไม่แนบ สัญญาเช่ามาพร้อมกับฟ้อง จึงไม่เป็นการฝ่าฝืนประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความแพ่ง มาตรา 18
94 38 2 -สัญญากู้ที่ระบุว่าให้คิดดอกเบี้ยตามกม.นั้นหมายถึงให้คด ิ อัตราดอกเบี้ยได้ในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปีท่านั้น ตามปพพ.มาตรา 7 จะนำาสืบ พยานบุคคลว่าให้คิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปีหาได้ไม่(ฎ.497/2506,235/2507) -กรณีสัญญากู้ไม่มก ี ำาหนดเวลา เจ้าหนี้ย่อมมีอำานาจที่จะเรียกให้ ลูกหนีช ้ ำาระหนี้โดยพลันตาม ปพพ.มาตรา 203 วรรคแรก ลูกหนี้จะนำาสืบพยาน บุคคลว่าหนี้ตามสัญญากููู้ยังไม่ถึงกำาหนดชำาระเป็นการสืบเพิ่มเติมข้อความ ในสัญญากู้ ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94 (ฎ.1962/2525) คำาพิพากษาฎีกาที่ 497/2506 สัญญากู้มีขอ ้ สัญญาว่าผู้กู้ยอมให้ดอกเบี้ยตามจำานวนเงินที่กู้ให้แก่ผู้
44 ให้กู้ตามกฎหมาย ย่อมถือว่ามีอัตราร้อยละ 7 ครึ่งต่อปี เพราะกรณีตอ ้ ง ด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 7 และจะรับฟังพยาน บุคคลเพื่อเปลี่ยนแปลงอัตราดังกล่าวนี้ไม่ได้ แม้ใบรับเงินที่ผู้ให้กู้ออกให้ แก่ผู้กู้จะปรากฏอัตราดอกเบี้ยเท่ากับร้อยละ 15 ต่อปี หรือเกินกว่านั้น ก็ ไม่เป็นหลักฐานที่หักล้างว่าไม่ใช่รอ ้ ยละ 7 ครึ่งต่อปี เพราะมิได้มีลายมือ ชื่อของผู้กู้ซึ่งเป็นฝ่ายต้องรับผิดในหนี้ เมือ ่ ตามข้อสัญญาต้องถือว่าดอกเบี้ยมีอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี และ ผู้กู้ก็เข้าใจเช่นนั้น ถ้าผู้กช ู้ ำาระดอกเบี้ยให้ผู้ให้กู้เกินกว่าอัตราดังกล่าว โดยไม่มีความเข้าใจผิดและไม่ปรากฏว่าผู้ให้กู้บังคับเรียกร้องเอา ก็ตอ ้ ง ด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 407 จะเรียกส่วนทีช ่ ำาระ เกินไปนั้นคืนไม่ได้ คำาพิพากษาฎีกาที่ 235/2507 สัญญากู้ยม ื เงินที่ระบุว่าให้คิดดอกเบี้ยกันตามกฎหมาย แต่ไม่ได้ กำาหนดอัตราว่าเท่าใดนั้น ต้องคิดดอกเบี้ยกันร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีและถือ ได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของสัญญากู้ ซึ่งผู้ให้กู้จะนำาสืบเป็นว่าได้ตกลง ดอกเบี้ยกันในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีไม่ได้ เอกสารซึ่งมีข้อความระบุว่าเป็นการชำาระค่าดอกเบี้ยอย่างเดียวชัด แจ้งแล้ว ย่อมจะนำาสืบตีความว่า เป็นการชำาระต้นเงินด้วยไม่ได้เช่นกัน. คำาพิพากษาฎีกาที่ 1962/2525 หนี้เงินยืมเป็นกรณีที่กฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมา แสดง จึงจะฟ้องร้องให้บังคับคดีได้ เมื่อหนี้ดังกล่าวไม่ได้ระบุเวลาชำาระ หนี้ไว้ ซึ่งถือได้ว่าเป็นหนี้ที่ไม่มีกำาหนดเวลาชำาระหนี้ โจทก์ย่อมมีสิทธิ เรียกให้จำาเลยชำาระหนี้เมื่อใดก็ได้ จำาเลยจะขอนำาพยานบุคคลมาสืบตาม คำาให้การว่า ได้มข ี ้อตกลงระหว่างจำาเลยกับโจทก์ให้จำาเลยผ่อนชำาระหนี้ เป็นงวดและหนี้ยังไม่ถึงกำาหนดชำาระหาได้ไม่ เพราะเป็นการสืบพยาน บุคคลเพิ่มเติมข้อความในเอกสารต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความแพ่งมาตรา 94(ข) เมือ ่ จำาเลยไม่มีสท ิ ธินำาพยานบุคคลมาสืบตามข้อต่อสู้ในคำาให้การ คดี ของจำาเลยย่อมไม่มีทางชนะ จึงไม่จำาต้องวินิจฉัยปัญหาที่ว่าจำาเลยจงใจ ขาดนัดพิจารณาหรือไม่ 2537 -หลักฐานแห่งการกูย ้ ืมตาม ปพพ.มาตรา 653 นั้นเพียงแต่ ต้องมีสาระสำาคัญให้เห็นว่ามีการกู้ยืมเงินก็พอ ไม่ได้บังคับว่าจะต้องระบุชื่อ ผู้ให้กู้จึงจะใช้ได้ เมือ ่ สัญญาก่ ู้มีลายมือชื่อผู้กู้ แม้ไม่ได้ระบุชื่อผู้ให้กู้ก็ ถือเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยม ื ตามกม. โจทก์(ผู้ให้ก)ู้ จึงนำาพยานบุคคลเข้าสืบ
45 ว่าผู้ให้กู้คือโจทก์ได้ หาใช่เป็นการนำาสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมเอกสารตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ข) แต่อย่างใดไม่(ฎ.1302/2535) -การเช่าซื้อต้องทำาเป็นหนังสือ การตั้งตัวแทนไปทำาสัญญาเช่า ซื้อจึงต้องทำาเป็นหนังสือตาม ปพพ.มาตรา 798 วรรคแรก การนำาสืบพยาน บุคคลในกรณีการตั้งตัวแทนจึงต้องห้ามตามมาตรา 94(ข)(ฎ.3862/2533) 2536 -การนำาสืบถึงข้อตกลงต่างหากจากสัญญาจะซื้อจะขาย เพื่อให้ได้ความชัดเจนขึ้น สามารถนำาสืบพยานบุคคลได้ ไม่ตอ ้ งห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ข)(ฎ.1174-5/2533) -สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินระบุว่าเงินที่เหลือ ผู้จะซื้อจะชำาระให้ แก่ผู้จะขายในวันจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ แต่ถึงวันนัดตามที่กำาหนดไว้ ในสัญญา ผูจ ้ ะซื้อไม่ไปทำาการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ ผู้จะซื้อจะนำา พยานเข้าสืบว่าตกลงชำาระค่าที่ดินที่เหลือเป็นวันอื่นที่ต่างจากวันที่กำาหนด ในสัญญาไม่ได้ เพราะเป็นการสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสาร ต้องห้ามตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94(ข)(ฎ.581/2530) 2534 -จำาเลยให้การต่อสู้ว่ามูลหนี้ระหว่างโจทก์จำาเลยไม่เกิด ขึ้น สัญญากู้ยืมระหว่างโจทก์กับจำาเลยไม่สมบูรณ์ จำาเลยมีสิทธินำาพยาน บุคคลมาสืบได้ตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94 วรรคสอง(ฎ.3125/2537) -การนำาสืบอธิบายข้อความในเอกสารสัญญากูย ้ ืม กรณีการชำาระ หนี้ด้วยเช็ค หนี้จะระงับต่อเมื่อเช็คนั้นได้ใช้เงินตาม ปพพ.มาตรา 321 วรรค สอง สามารถนำาสืบพยานบุคคลว่าโจทก์ได้มอบเงินกู้ให้จำาเลยด้วย
. 2532 .
321 ( .1049/2500,2965/2531)
46
( .244/2509) -ข้อห้ามนำาสืบพยานบุคคลแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อความใน เอกสารตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 94 นั้น เป็นบทบัญญัติให้ใช้บังคับโดยไม่คำานึง ว่าค่ ู่ความอีกฝ่ายหนึ่งจะยินยอมด้วยหรือไม่ -ในการต่อสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ การที่ผู้เช่าจ่ายเงินให้ผู้ ให้เช่า นั้น ค่าต่ออายุสัญญาเช่าดังกล่าวนี้เป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่า ไม่ทำาให้ สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาต่างตอบแทนยิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดา 2531 -
. -
94( )( .1700/2527)
47
.
.
.
321
94
( .1750/2527) .
.
232
“จำาเลย”ตามมาตรา 232 หมายถึงจำาเลยที่ได้ฟ้องเป็นคดีทอ ี่ ยู่ระหว่างการ พิจารณาเท่านั้น ฎีกาที่ 9300/2539 ส.ถูกฟ้องว่าร่วมกันฆ่าผู้อื่นตายด้วย แต่เป็นคนละ สำานวนกับคดีนี้ การที่โจทก์อ้าง ส.เป็นพยานจึงมิใช่กรณีที่โจทก์อา้ ง จำาเลยเป็นพยานตาม ป.วิ.อาญามาตรา 232 คำาเบิกความของ ส.จึงรับ ฟังได้ แต่จะรับฟังได้เพียงใดหรือไม่เป็นอีกเรื่องหนึ่ง REASON IS A SENSE OF JUSTICE THE LAW IS THE RIGHT REASON (UNIVERSAL) 232
และโจทก์
48 สามารถอ้างคำาให้การของจำาเลยในชั้นสอบสวนมาเป็นพยานประกอบการ วินิจฉัยของศาลได้เช่นกัน เพราะมิใช่เป็นการอ้างตัวจำาเลยเป็นพยานซึ่งต้อง ห้ามตามกฎหมาย 232
232
LE)
(ADMISSIB
1014/2540 ลำาพังคำาให้การชั้นสอบสวนของ ว.ภริยาของผู้ ตายและ อ.ที่ให้การต่อพนักงานสอบสวนว่า ว.วานให้ อ.ไปหาคนมาข่มขููู่ ผู้ตายและจับผู้ตายนัดเพื่อให้ ว.เข้าไปตกลงกับผู้ตามเกี่ยวกับเรื่องใน ครอบครัวก็ดี คำาซัดทอดของจำาเลยทั้งสองกับ ส.ที่ว่าวันเกิดเหตุ ว.เป็นผู้กด รีโมทคอนโทรลเปิดประตูบ้านผู้ตายให้จำาเลยทั้งสองกับพวกเข้าไปก็ดี ล้วนแต่ เป็นพยานบอกเล่าและคำาซัดทอดของผู้ร่วมกระทำาผิดมีนำ้าหนักน้อย ทั้ง ข้อความตามเทปบันทึกเสียงของผูต ้ ายก็รับฟังไม่ได้ว่าเป็นคำากล่าวของผู้ถูก ทำาร้ายก่อนตาย พยานหลักฐานโจทก์ ไม่มน ี ำ้าหนักเพียงพอให้รับฟังได้ว่า
49 จำาเลยทั้งสองถูกจ้างมาฆ่าผูต ้ าย จำาเลยทั้งสองไม่มีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดย ไตร่ตรองไว้ก่อน 937/2536 ชั้นสอบสวนจำาเลยที่ 1 ให้การซัดทอดจำาเลยที่ 2 ซึ่งคำาให้การซัดทอดดังกล่าว จำาเลยที่ 1 ได้ให้การต่อพนักงานสอบสวนทันที ในวันทีจ ่ ำาเลยที่ 1 ถูกจับ เป็นการยากทีจ ่ ำาเลยที่ 1 จะปรุงแต่งขึ้นไว้เพื่อต่อสู้ คดีหรือปรักปรำาจำาเลยที่ 2 ทั้งเป็นคำาให้การที่มิได้เกิดจากการจูงใจ มีคำามั่น สัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวงหรือโดยมิชอบประการอื่น และ . ดังนั้น คำาให้การของจำาเลยที่ 1 ใน ชั้นสอบสวน ศาลย่อมนำามาฟังประกอบการพิจารณาลงโทษจำาเลยที่ 2 ได้ 1425/2535 . 2 2
2
.
4195/2533 แม้คำาให้การในชั้นจับกุมและชั้นสอบสวนของ จำาเลยที่ 1 และที่ 2 จะรับว่าได้ร่วมกันกับจำาเลยที่ 3 ทำาการปล้นทรัพย์ของผู้ ตายของนายสมศักดิ์ และฆ่าผูต ้ ายจะเป็นคำาซัดทอดของผู้กระทำาผิดด้วยกัน แต่ไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายห้ามมิให้รับฟังคำาให้การเช่นว่านั้น ศาลมี อำานาจรับฟังคำาซัดทอดนั้นประกอบการพิจารณาได้ 1835/2532 ฉ.ติดต่อหามือปืนมายิงผู้เสียหายตามที่จำาเลยที่ 1 ต้องการ ฉ.มีพฤติการณ์เป็นผู้ก่อให้ผู้อื่นกระทำาความผิด แต่เมื่อโจทก์ได้กัน ฉ.ไว้เป็นพยาน คำาเบิกความของ ฉ.รับฟังได้ แต่มีนำ้าหนักน้อย ต้องฟังพยาน อื่นประกอบจึงจะรับฟังลงโทษจำาเลยได้
50 35/2532 การที่ศาลนำาเอาคำาให้การชั้นสอบสวนที่โจทก์อา้ ง ส่ง มาประกอบการวินิจฉัยพยานจำาเลย เพื่อแสดงให้เห็นว่าคำาเบิกความของ จำาเลยในชั้นพิจารณาแตกต่างกับคำาให้การในชั้นสอบสวนเท่านั้น หาได้อาศัย แต่เพียงคำาให้การในชั้นสอบสวนมาลงโทษจำาเลยแต่อย่างใด กรณีถือไม่ได้ ว่าเป็นการอ้างจำาเลยเป็นพยานของโจทก์ จึงไม่ต้องห้ามตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 232 1287/2531 พยานโจทก์ซึ่งเป็นผู้ใช้จา้ งวานจำาเลยที่ 1 กับ พวกไปฆ่าผูต ้ าย นับว่ามีพฤติการณ์เป็นผู้ร่วมกระทำาผิดด้วย จึงถือได้ว่าเป็น คำาซัดทอดของผู้ที่กระทำาผิดเพื่อให้ตนเองพ้นจากการเป็นผู้ตอ ้ งหาเพราะ พนักงานสอบสวนย่อมจะกันไว้เป็นพยาน จึงมีนำ้าหนักน้อยจะนำามาใช้ยัน จำาเลยที่ 2 :ซึ่งให้การปฏิเสธตลอดมา หาได้ไม่ 203/2531 ไม่มีบทบัญญัติแห่งกม.ใดห้ามิให้รับฟังพยาน โจทก์ทเี่ คยตกเป็นผู้ต้องหาด้วยกัน เป็นแต่มน ี ำ้าหนักให้รับฟังมากน้อยเพียง ใดเท่านั้น 1885/2523 คำาเบิกความของผู้ร่วมกระทำาความผิดซึ่งถูกแยก ฟ้องเป็นอีกคดีหนึ่งถือว่าเป็นคำาซัดทอดระหว่างผู้กระทำาผิดด้วยกัน(รับฟังได้) แต่มน ี ำ้าหนักน้อย 2001/2514
1796/2509
534/2512 กฎหมายห้ามมิให้โจทก์อ้างตัวจำาเลยเป็นพยาน โจทก์เท่านั้น มิได้หา้ มโจทก์อ้างผูท ้ ี่กระทำาผิดเช่นเดียวกับจำาเลยมาเป็นพยาน 227/2513 โจทก์อา้ งจำาเลยที่ได้ถอนฟ้องไปแล้วมาเป็น พยานของโจทก์ในคดีได้ไม่ต้องห้ามตาม ป.วิ.อาญามาตรา 232
51 1202/2520 ป.วิ.อาญามาตรา 232 ห้ามมิให้โจทก์อา้ งจำาเลย เป็นพยานเท่านั้น ฉะนั้น แม้รอ ้ ยตำารวจเอกจุล พยานโจทก์จะเคยถูกฟ้อง เป็นจำาเลยร่วมกับจำาเลยคดีนม ี้ าก่อน แต่ศาลได้สั่งให้แยกฟ้องจำาเลยคดีนี้เป็น คดีใหม่ต่างหากจากคดีที่ร้อยตำารวจเอกจุลเคยเป็นจำาเลยร่วมกับจำาเลย โจทก์ จึงอ้างร้อยตำารวจเอกจุลเป็นพยานโจทก์ได้ โดยในขณะที่ร้อยเอกจุลเบิก ความเป็นพยานโจทก์ในคดีนี้ ร้อยเอกจุลมิได้อยู่ในฐานะจำาเลย 1513/2532 แม้ อ.จะเคยถูกฟ้องร่วมกับจำาเลยมาก่อน แต่ ศาลได้สั่งแยกฟ้องเป็นคดีใหม่ต่างหากจากคดีที่ อ.ถูกฟ้องร่วมกับจำาเลย โจทก์จึงอ้าง อ.เป็นพยานได้ โดยข้อที่ อ.เบิกความเป็นพยานโจทก์ในคดีนี้ อ.มิได้อยู่ในฐานะเป็นจำาเลย 5877/2530 โจทก์อา้ งผู้ทจ ี่ ำาเลยใช้ให้กระทำาความผิดซึ่งถูก ฟ้องในคดีอีกคดีหนึ่ง มาเป็นพยานโจทก์ในคดีทจ ี่ ำาเลยถูกฟ้องฐานเป็นผู้ใช้ ไม่ถือว่าเป็นการอ้างจำาเลยเป็นพยานอันต้องห้ามตาม ป.วิ.อาญามาตรา 232 4012/2534 โจทก์อา้ ง ด.จำาเลยในคดีอาญาหมายเลขแดงที่ 2699/2529 ของศาลชั้นต้นมาเป็นพยานคดีนี้โดยพนักงานสอบสวนไม่ได้สอบสวน ด.ไว้เป็นพยาน แม้ตาม ป.วิ.อาญามาตรา 232 ห้ามมิให้โจทก์อ้างจำาเลยเป็น พยาน แต่ ด.มิได้เป็นจำาเลยร่วมกับจำาเลยนี้ กรณีจึงมิใช่โจทก์อ้างจำาเลยเป็น พยาน และแม้พนักงานสอบสวนจะมิได้สอบสวน ด.ไว้ในฐานะพยานก็ตาม แต่พนักงานสอบสวนได้สอบสวนพยานหลักฐานต่างๆในคดีนี้มาแล้ว จึง ถือว่ามีการสอบสวนโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว และพยานโจทก์ที่เบิกความใน ศาลก็ไม่จำาเป็นต้องเป็นพยานในชั้นสอบสวน ศาลย่อมรับฟังคำาเบิกความของ ด.ลงโทษจำาเลยได้ ( 2545 1) 401/2496 โจทก์ฟ้องจำาเลยทั้งสามฐานร่วมกันลักทรัพย์ ชั้น พิจารณาโจทก์มีนายตาและนายตัน ซึ่งเป็นผู้ร่วมกระทำาผิดกับจำาเลยแต่ ถูกกันไว้เป็นพยานเบิกความว่าจำาเลยเป็นผู้กระทำาผิด ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า ถ้าเพียงแต่กันผู้ต้องหาด้วยกันเป็นพยานโจทก์สองปาก คดีก็ไม่มีนำ้าหนักพอที่ จะลงโทษจำาเลยได้ แต่ปรากฏว่าโจทก์มเี จ้าทรัพย์และพนักงานสอบสวนเป็น พยานประกอบว่าจำาเลยได้ให้การรับสารภาพชั้นสอบสวนด้วยความสมัครใจ คดีย่อมมีนำ้าหนักรับฟังลงโทษจำาเลยได้
(1)
52 133-134/2491 ในคดีอาญาที่อัยการและเจ้าทุกข์ต่างเป็น โจทก์ฟ้องจำาเลยในกรณีเหตุรายเดียวกัน ถ้าศาลสั่งรวมการพิจารณาเป็นคดี เดียวกันแล้ว การฟังพยานหลักฐานก็ต้องฟังรวมเป็นคดีเดียวกัน จะแยกว่า พยานคนนั้นคนนี้เป็นพยานเฉพาะของโจทก์คนใดคนหนึ่งไม่ได้ แม้โจทก์อีก คนหนึ่งจะมิได้อา้ งพยานนั้นๆก็ตาม ตลอดจนการพิพากษาก็ต้องถือเป็นคดี เดียวกัน จะแยกยกฟ้องสำานวนหนึ่ง ลงโทษอีกสำานวนหนึ่งไม่ได้ชุดเดียวกัน ( 9 14)
1679/2526 ผู้ตายถูกจำาเลยกับพวกทำาร้ายในคราวเดียวกัน โจทก์คดีนี้ได้เข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการในคดีก่อน พยานโจทก์ทั้ง สองสำานวนเป็นชุดเดียวกัน แต่ศาลมิได้สั่งให้รวมพิจารณาเป็นคดีเดียวกัน และโจทก์มิได้อ้างสำานวนคดีก่อนเป็นพยานในคดีนี้ ฉะนั้น จะนำาพยานหลัก ฐานที่นำาสืบในคดีก่อนมาใช้เป็นพยานหลักฐานยันจำาเลยในคดีนี้ไม่ได้ (2)
810-813/2544
.
. .
1325/2542
53
1425/2535
. 2 2 2
.
(3) (
,590/2539 ,3607/2538,1642/2526) 590/2539 .
4304/2541
54
.
5
1 มาตรา 232 กม.ห้ามมิให้โจทก์อ้างจำาเลยเป็นพยาน แต่ ไม่ได้หา้ มโจทก์อ้างผูร ้ ่วมกระทำาความผิดกับจำาเลยซึ่งพนักงานสอบสวนได้กัน เป็นพยาน(ข้อสอบข้อ 1 และ 3) 2 คำาให้การในชั้นสอบสวน ไม่มีกม.ห้ามมิให้รับฟัง ประกอบพยานหลักฐานอื่น แม้ผู้ให้คำาให้การซึ่งเป็นผู้เสียหายไม่ได้มาเบิก ความในชั้นพิจารณา(ข้อสอบข้อ 2) 3 คดีแรกจำาเลยที่ 2 เคยถูกฟ้องร่วมกับจำาเลยที่ 1 ต่อมา ได้แยกฟ้องคดีของจำาเลยที่ 2 เป็นคดีใหม่ตา่ งหาก โจทก์อา้ งจำาเลยที่ 2 เป็น พยานในคดีแรกได้(ข้อสอบข้อ 2,8,9,10,11,14) 4 ในคดีทอ ี่ ัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำาเลยที่ 1 และ 2 ต่อมา ถอนฟ้องจำาเลยที่ 2 อัยการโจทก์อ้างจำาเลยที่ 2 ที่ถอนฟ้องไปแล้วเป็นพยาน ในคดีที่ฟ้องจำาเลยที่ 1 ได้(ข้อสอบ 4,12) 5 ไม่มีกม.บังคับว่าเอกสารที่จะอ้างหรือนำาสืบในคดีอาญา จะต้องเป็นเอกสารที่ได้จากการสอบสวนและอยู่ในสำานวนสอบสวนเท่านั้น เมือ ่ โจทก์ได้ระบุพยานเพิม ่ เติมถูกต้อง ก็อ้างได้(ข้อสอบข้อ 5) 6 คำาซัดทอดของผู้กระทำาผิดด้วยกัน ไม่มีกม.ห้ามมิให้รับ ฟัง จึงรับฟังเป็นพยานได้ แต่มีนำ้าหนักน้อยหรือต้องฟังด้วยความระมัดระวัง ต้องมีพยานหลักฐานอื่นประกอบ จึงจะลงโทษจำาเลยได้(ข้อสอบข้อ 5,6,7 และ 10) 7 พยานบุคคลในคดีอาญาไม่มีกม.กำาหนดไว้ว่าผู้ทจ ี่ ะเป็น พยานของพนักงานอัยการ จะต้องได้รับการสอบสวนมาก่อน(ข้อสอบข้อ 13) 8 อย่าลืมกรณีที่ พยานตาม ป.วิ.อาญา มิได้บัญญัติไว้ต้อง นำาหลักเรื่องพยานตาม ป.วิ.แพ่ง มาใช้โดยผ่าน ป.วิ.อาญามาตรา 15 ดู ตัวอย่างข้อสอบข้อ 10 กรณีที่พยานเป็นพระภิกษุสามเณรในพระพุทธศาสนา แม้จะมาเบิกความก็มีเอกสิทธิ์ทจ ี่ ะไม่ยอมเบิกความหรือตอบคำาถามใดๆก็ได้ ตาม ป.วิ.แพ่งมาตรา 115 ทั้งนี้ จะต้องเป็นพระภิกษุสามเณรในขณะที่สืบพยาน เท่านั้น 9 .
55
(
.
)
1 นายแดงและนายดำาถูกจับกุมเพื่อดำาเนินคดีข้อหาร่วม กันฆ่านายเขียวผู้ตาย ชั้นสอบสวนนายแดงให้การว่านายดำามาติดต่อนายแดง จัดมือปืนเพื่อไปฆ่านายเขียว นายแดงจึงได้ไปติดต่อนายเหี้ยมมือปืนรับจ้าง และพาไปพบนายดำา นายดำาให้เงินนายแดง 100,000 บาท หลังจากนั้นสามวัน มีคนเห็นนายเหี้ยมยิงนางเขียวตาย แต่นายเหี้ยมหลบหนีไปได้ ส่วนนายดำา ให้การปฏิเสธ พนักงานสอบสวนได้ถามนายแดงว่ายินดีจะเบิกความเป็น พยานโจทก์ในชั้นพิจารณาของศาลหรือไม่ นายแดงรับว่ายินดี พนักงาน สอบสวนจึงกันนายแดงไว้เป็นพยาน พนักงานอัยการฟ้องนายดำาเป็นจำาเลย แต่ผู้เดียว นายดำาให้การปฏิเสธชั้นพิจารณา โจทก์คงมีแต่นายแดงมาเบิก ความเป็นพยานยืนยันเรือ ่ งที่นายดำาให้นายแดงจัดหามือปืนให้ ส่วนนายดำา นำาสืบอ้างฐานที่อยู่ ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้ว พิพากษาว่านายดำามีความผิด ฐานฆ่าผู้อื่นโดยเป็นผู้ใช้ นายดำาอุทธรณ์ว่า (ก) นายแดงเป็นผู้ร่วมกระทำาความผิด จึงห้ามมิให้โจทก์อ้างเป็นพยาน (ข) คำาเบิกความของนายแดงเกิดขึ้นจากการที่พนักงานสอบสวนให้ รางวัลตอบแทนนายแดงด้วยการกันไว้เป็นพยาน จึงรับฟังไม่ได้ ดังนี้ ให้วินิจฉัยว่า อุทธรณ์ของนายดำาทั้ง 2 ข้อ ฟังขึ้นหรือไม่ (ก) ป.วิ.อาญามาตรา 232 บัญญัติห้ามมิให้โจทก์อ้างจำาเลย เป็นพยาน เท่านั้น หาได้ห้ามมิให้โจทก์อ้างผู้ร่วมกระทำาความผิดกับจำาเลย เป็นพยานไม่ เมือ ่ ปรากฏว่าคดีนี้พนักงานสอบสวนได้กันนายแดงไว้เป็น พยาน และพนักงานอัยการก็ฟ้องนายดำาเป็นจำาเลยแต่เพียงผู้เดียว มิได้ฟ้อง นายแดงเป็นจำาเลยด้วย โจทก์จึงไม่ต้องห้ามมิให้อ้างนายแดงเป็นพยาน อุทธรณ์ขอ ้ (ก) ของนายดำาฟังไม่ขึ้น (ข) นายแดงเป็นพยานบุคคลที่ถูกพนักงานสอบสวนกันไว้เป็นพยาน อีก ทั้งนายแดงก็ยินดีเบิกความเป็นพยานโจทก์ด้วยความสมัครใจ จึงมิใช่พยาน ชนิดทีเ่ กิดขึ้นจากการจูงใจ มีคำามั่น สัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบ ประการอื่น อันจักต้องห้ามมิให้อ้างเป็นพยานหลักฐานตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 226 และมิใช่ถ้อยคำาของบุคคลที่ไม่รับฟังเป็นพยานหลักฐานตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 243 วรรคสองด้วย อุทธรณ์ขอ ้ (ข) ของนายดำาฟังไม่ขึ้นเช่นกัน(เนติ สมัย 53 2543)
56 2 ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษนายดำาฐานลักทรัพย์ นาย ดำาจำาเลยอุทธรณ์อา้ งว่าศาลชั้นต้นรับฟังพยานหลักฐานขัดต่อ ป.วิ.อาญา กล่าวคือ (ก) ศาลชั้นต้นรับฟังคำาให้การในชั้นสอบสวนของนายขาวผู้เสียหาย โดย โจทก์ไม่ได้ตัวผู้เสียหายมาเบิกความในชั้นพิจารณา (ข) นายแดงพยานโจทก์ปากหนึ่งเป็นผู้ร่วมกระทำาผิดกับนายดำาจำาเลย และตอนแรกถูกฟ้องมาในคดีเดียวกัน แต่นายแดงให้การรับสารภาพ ศาลจึง สั่งแยกฟ้องนายดำาจำาเลยซึ่งให้การปฏิเสธในคดีนี้มายื่นฟ้องใหม่เป็นคดีนี้ เท่ากับนายแดงเป็นจำาเลยร่วมกับนายดำาด้วย โจทก์จึงอ้างนายแดงเป็นพนาย ไม่ได้ ดังนี้ ให้วินิจฉัยว่าข้ออ้างตามอุทธรณ์ของนายดำาจำาเลยฟังขึ้นหรือไม่ ปัญหาตามข้อ (ก) คำาให้การในชั้นสอบสวน ไม่มีกฎหมาย บัญญัติห้ามมิให้รับฟังประกอบพยานหลักฐานอื่น ดังนั้น ศาลจึงรับฟังคำา ให้การในชั้นสอบสวนของนายขาวผู้เสียหายประกอบพยานหลักฐานอื่นและ พฤติการณ์แห่งคดีลงโทษจำาเลยตามฟ้องได้ แม้โจทก์จะไม่ได้ตัวนายขาวมา เบิกความในชั้นพิจารณาก็ตาม ข้ออ้างของจำาเลยฟังไม่ขึ้น(เทียบฎีกาที่ 2957/2532) สำาหรับปัญหาตามข้อ(ข) แม้ว่านายแดงพยานโจทก์จะเป็นผู้ร่วมกระทำา ความผิดกับนายดำาจำาเลย
.
.
232
ดังนี้ แม้นาย แดงจะเป็นผู้ที่เคยถูกฟ้องร่วมกับนายดำาจำาเลยมาก่อนก็มิใช่จำาเลยในคดีที่ โจทก์ประสงค์จะอ้างเป็นพยานเพราะศาลได้สั่งแยกฟ้องนายดำาจำาเลยเป็นคดี ใหม่ต่างหากจากคดีที่นายแดงเคยถูกฟ้องร่วมกับนายดำาจำาเลย โจทก์จึงอ้าง นายแดงเป็นพยานและศาลรับฟังคำาเบิกความของนายแดงได้ ส่วนคำาเบิก ความของนายแดงจะมีนำ้าหนักเพียงใดเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ข้ออ้างของจำาเลยจึง ฟังไม่ขึ้น(เทียบฎีกาที่ 1202/2520 และ 1640/2526)(เนติสมัย 47 2537) 3 ในคดีซึ่งนายเหลืองถูกฆ่า พนักงานสอบสวนสอบสวน นายแดง นายดำา นายขาว และนายเขียวเป็นผู้ต้องหาข้อหาฆ่าผูอ ้ ื่น ทาง สอบสวนได้ความว่า นายแดงจ้างนายดำาฆ่านายเหลืองโดยนายขาวเป็นคนขับ
57 รถพานายดำาไปส่งทีเ่ กิดเหตุ และนายเขียวเป็นคนดูต้นทาง พนักงาน สอบสวนจึงกันนายขาวและนายเขียวเป็นพยาน โดยพนักงานอัยการสั่งไม่ ฟ้องนายขาวและนายเขียวแล้ว ชั้นสอบสวนนายแดงให้การปฏิเสธ นายดำา ให้การว่า นายแดงจ้างตน 10,000 บาท เพือ ่ ให้ฆ่านายเหลืองและตนได้ยิงนาย เหลืองตาย พนักงานอัยการฟ้องนายแดงเป็นผู้ใช้และนายดำาเป็นตัวการใน การฆ่านายเหลือง ชัน ้ พิจารณาจำาเลยทั้งสองให้การปฏิเสธ พนักงานอัยการ นำาสืบนายขาวและนายเขียวเป็นพยานเบิกความว่านายแดงจ้างนายดำาฆ่านาย แหลือง นายดำาจึงได้ลงมือฆ่านายเหลืองกับนำาสืบคำาให้การชั้นสอบสวนของ นายดำา ดังนี้ คำาเบิกความของนายขาวและนายเขียวประกอบกับคำาให้การชั้น สอบสวนของนายดำาจะรับฟังลงโทษนายแดง และนายดำาได้หรือไม่
นายขาวและนายเขียวเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสนับสนุนให้เกิด การกระทำาผิดที่ถูกกันไว้เป็นพยานโดยโจทก์มิได้ฟ้องเป็นจำาเลย จึงไม่ตอ ้ ง ห้ามที่โจทก์จะอ้างเป็นพยาน(ป.วิ.อาญามาตรา 232 ) คำาเบิกความของนายขาว และนายเขียวจึงไม่ต้องห้ามมิให้รับฟัง(ฎีกาที่ 1640/2526) แต่ลำาพังคำาเบิกความ ของผูม ้ ีส่วนร่วมกระทำาผิด จะรับฟังลงโทษจำาเลยได้จะต้องมีพยานประกอบ ซึ่งพยานประกอบดังกล่าวจะต้องไม่ใช่ผู้ร่วมกระทำาผิดอีกคนหนึ่งที่ถูกกันไว้ เป็นพยาน และต้องเป็นพยานที่รับฟังได้ตามกฎหมาย(ฎีกาที่ 410/2496) ดังนั้น คำาเบิกความของนายขาวและนายเขียวสามารถรับฟังประกอบคำาให้การชั้น สอบของนายดำาเพื่อลงโทษนายดำาได้ แต่ไม่อาจรับฟังเพื่อลงโทษนายแดงได้ เพราะคำาให้การในชั้นสอบสวนของนายดำาสามารถรับฟังยันได้เฉพาะนายดำา ตาม ป.วิ.อาญามาตรา 134 แต่ไม่อาจรับฟังยันนายแดงได้(เนติ สมัย 44 2534) 4 พนักงานอัยการได้เป็นโจทก์ฟ้องนายยินดีเป็นจำาเลยที่ 1 นายปรีดาเป็นจำาเลยที่ 2 ฐานพยายามฆ่าคน ครั้นสืบผู้เสียหายเป็นพยาน โจทก์ไปได้หนึ่งปาก พนักงานอัยการได้ยื่นคำาร้องขอถอนฟ้องนายปรีดา จำาเลยที่ 2 เสีย ศาลมีคำาสั่งอนุญาต พนักงานอัยการจึงระบุอ้างนายปรีดาเป็น พยานโจทก์เพิ่มเติม โดยไม่มีการสอบสวนนายปรีดาในฐานะพยานไว้ นาย ปรีดาจะเป็นพยานในคดีนี้ได้โดยชอบหรือไม่ แม้นายปรีดาจะได้ถูกพนักงานอัยการฟ้องเป็นจำาเลยก็ตาม แต่โจทก์ก็ได้ถอนฟ้องนายปรีดาไปแล้ว นายปรีดาจึงไม่อยู่ในฐานะเป็นจำาเลย ต่อไป โจทก์ระบุอ้างนายปรีดาเป็นพยานเพิ่มเติมได้ไม่ต้องห้ามตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 232
58
นาย ปรีดาย่อมเป็นพยานในคดีนี้โดยชอบ(ฎีกาที่ 227/2513)(เนติ สมัยที่ 24 2514) 5 พนักงานอัยการโจทก์ฟ้องจำาเลยว่ากระทำาผิดฐานลัก ทรัพย์ ระหว่างเบิกความเป็นพยานโจทก์ โจทก์ส่งบันทึกคำารับสารภาพของ จำาเลยทีท ่ ำาไว้ต่อผูเ้ สียหาย พร้อมกับแผนที่บ้านเกิดเหตุต่อศาล ซึ่งทั้งบันทึก คำารับสารภาพและแผนที่เกิดเหตุดังกล่าวมิใช่เอกสารในสำานวนการสอบสวน แต่โจทก์ได้ระบุไว้ในพยานเพิ่มเติมของโจทก์แล้ว ทั้งโจทก์ได้อา้ งนายแดงซึ่ง ร่วมกระทำาความผิดกับจำาเลยและต้องคำาพิพากษาลงโทษจำาคุกไปแล้วมาเบิก ความยืนยันว่าได้ร่วมกับจำาเลยลักทรัพย์ของผู้เสียหาย ส่วนในการสืบพยาน จำาเลย จำาเลยอ้างและนำานายดำามาเบิกความเป็นพยานของตน แต่นายดำา กลับเบิกความเจือสมกับพยานโจทก์ ดังนี้ ศาลจะนำาพยานเอกสารของโจทก์ ดังกล่าวและคำาเบิกความของนายแดงพยานโจทก์และคำาเบิกความของนายดำา พยานจำาเลยมารับฟังประกอบดุลพินิจในการวินิจฉัยคดีนี้ได้หรือไม่
ไม่มีกฎหมายบังคับว่าเอกสารที่จะอ้างหรือนำาสืบในคดีอาญา จะต้องเป็นเอกสารที่ได้มีการสอบสวนและอยู่ในสำานวนการสอบสวนเท่านั้น ดังนั้น เมื่อโจทก์ได้ระบุพยานเพิ่มเติมโดยถูกต้องแล้ว โจทก์อ้างส่งบันทึกคำา รับสารภาพของจำาเลยและแผนที่บ้านเกิดเหตุซึ่งมิได้มอ ี ยู่ในสำานวนการ สอบสวนต่อศาลได้(ฎีกาที่ 143/2487 และฎีกาที่ 1548/2535) สำาหรับคำาเบิกความของนายแดงพยานโจทก์ซึ่งร่วมกระทำาความผิดกับ จำาเลยนั้น แม้จะมีลักษณะเป็นคำาซัดทอดของผู้กระทำาความผิดด้วยกัน ก็ไม่มี กฎหมายห้ามมิให้รับฟังและเนื่องจากนายแดงมาเบิกความต่อศาลหลังจาก ศาลพิพากษาลงโทษจำาคุกไปแล้ว คำาเบิกความของนายแดงที่ว่าจำาเลยร่วมกับ คนร้ายลักทรัพย์ หาได้มีเหตุจูงใจที่เบิกความเพื่อให้ตนพ้นความผิดหรือได้รับ ประโยชน์จากการเบิกความของตนแต่อย่างใดไม่ กรณีจึงไม่ต้องห้ามที่จะรับ ฟังคำาเบิกความของนายแดงประกอบพยานหลักฐานอื่นๆของโจทก์(ฎีกาที่ 1885/2523 และฎีกาที่ 1425/2535) ส่วนคำาเบิกความของนายดำาพยานจำาเลยนั้นหาใช่เป็นกรณีที่โจทก์ จำาเลยเป็นพยาน อันเป็นการฝ่าฝืน ป.วิ.อาญา มาตรา 232 ไม่ คำาเบิกความ
59 ของนายดำานำามารับฟังเพื่อประกอบดุลพินิจในการวินิจฉัยคดีได้(ฎีกาที่ 2620/2535) ดังนั้น ศาลจึงนำาพยานเอกสารของโจทก์ดังกล่าว และคำาเบิกความของ นายแดงพยานโจทก์กับคำาเบิกความของนายดำาพยานจำาเลยมารับฟังประกอบ ดุลพินิจในการวินิจฉัยคดีนี้ได้(ข้อสอบผู้ช่วยผู้พิพากษา 2537) 6 นายเอกแจ้งความต่อพนักงานสอบสวนกล่าวหานายโท และนายตรีร่วมกันยักยอกเครื่องรับวิทยุของตน พนักงานสอบสวนเรียกนาย โทและนายตรีมาสอบถามโดยยังมิได้มีการแจ้งข้อกล่าวหา นายโทให้ถอ ้ ยคำา ว่าได้เครือ ่ งรับวิทยุดังกล่าวมาจากนายตรี นายตรีให้ถ้อยคำาว่าร่วมกันกับนาย โทยักยอกเครือ ่ งรับวิทยุของนายเอกจริง พนักงานสอบสวนแจ้งข้อหานายโท แต่ผู้เดียวว่ายักยอกเครื่องรับวิทยุของนายเอก ต่อมาพนักงานอัยการฟ้องนาย โทเป็นจำาเลยต่อศาลข้อหายักยอก ดังนี้ พนักงานอัยการ โจทก์จะอ้างถ้อยคำา นายโทและนายตรีที่ให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนเป็นพยานยันนายโทได้หรือไม่ และจะอ้างนายตรีมาเบิกความเป็นพยานโจทก์ในคดีนี้ได้หรือไม่ บันทึกถ้อยคำานายโทที่ให้พนักงานสอบสวนก่อนแจ้งข้อ กล่าวหาให้นายโททราบตาม ป.วิ.อาญามาตรา 134 และพนักงานสอบสวนไม่ ได้แจ้งให้นายโททราบว่าถ้อยคำาที่นายโทให้ไว้นั้นจะใช้เป็นพยานหลักฐานยัน นายโทในชั้นพิพจารณาได้ โจทก์จึงไม่สามารถอ้างบันทึกถ้อยคำานายโทมา เป็นพยานหลักยันนายโทได้(ฎีกาที่ 1581/2531) บันทึกถ้อยคำานายตรีเป็นคำาซัดทอดระหว่างผู้กระทำาผิดด้วยกัน แต่ก็ มิได้มีกฎหมายห้ามมิให้รับฟังเป็นพยาน โจทก์จึงอ้างบันทึกถ้อยคำานายตรี เป็นพยานได้(ฎีกาที่ 49/2528 2218/2531 และ 2802/2531) สำาหรับนายตรีโจทก์สามารถอ้างเป็นพยานบุคคลได้ ไม่ต้องห้ามตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 232 เพราะนายตรีมิได้ถูกฟ้องเป็นจำาเลยในคดีนี้ด้วย(ฎีกาที่ 3611/2528 203/2531 และ 1835/2532)(ข้อสอบผู้ช่วยผู้พิพากษา 2536) 7 นายดีถูกทำาร้ายถึงแก่ความตาย นายเหี้ยมไปให้ถ้อยคำา ต่อพนักงานสอบสวน ก่อนเกิดเหตุนายเหี้ยมไปกับนายดี มีนายโหดและนาย หุบร่วมไปด้วย แต่นายเหีย ้ มได้แยกกลับก่อนจากการสืบสวนของเจ้าพนักงาน ตำารวจได้ความว่า นายเหี้ยม นายโหด และนายหุบร่วมกันฆ่านายดี จึง จับกุมคนทั้งสามได้พร้อมอาวุธที่สิบตำารวจโทแห้วมอบให้ไปยิงนายดีเป็นของ กลาง พนักงานสอบสวนกันนายโหดและนายหุบไว้เป็นพยาน สิบตำารวจโท แห้วถูกสอบสวนทางวินัยเกี่ยวกับอาวุธปืนของกลาง ส่วนนายเหี้ยมถูก พนักงานอัยการฟ้องเป็นจำาเลย ในชั้นพิจารณา นายเหี้ยมให้การปฏิเสธ พนักงานอัยการอ้างนายโหด นายหุบ และสิบตำารวจโทแห้วเป็นพยานโดย นายโหดเบิกความว่าร่วมกับนายเหีย ้ มไปยิงนายดี สิบตำารวจโทแห้วเบิกความ
60 ว่าได้มอบปืนของกลางให้นายเหี้ยมไปยิงนายดี ส่วนนายหุบไม่ได้มาเบิกความ พนักงานอัยการส่งบันทึกคำาให้การในชั้นสอบสวนของนายหุบซึ่งให้การว่า ร่วมกับนายเหีย ้ มไปยิงนายดี และส่งบันทึกถ้อยคำาของนายเหี้ยมที่ให้ไว้ต่อ พนักงานสอบสวนดังกล่าวข้างต้นเป็นพยาน ดังนี้ ศาลจะรับฟังพยานหลัก ฐานของโจทก์ดังกล่าวได้เพียงใดหรือไม่ คำาเบิกความของนายโหดเป็นคำาเบิกความาของพยานที่ได้ ประสบกับเรือ ่ งที่เบิกความด้วยตนเองโดยตรง แม้จะเป็นคำาซัดทอดของผู้ร่วม กระทำาผิดด้วยกันกับจำาเลย ซึ่งโจทก์กันไว้เป็นพยาน ก็เป็นพยานหลักฐานที่ ศาลรับฟังได้ เพียงแต่มีนำ้าหนักน้อยต้องมีพยานหลักฐานอื่นประกอบจึงจะฟัง ลงโทษจำาเลยได้(ฎีกาที่ 1769/2509 3261/2532 คำาสั่งคำาร้องศาลฎีกาที่ 541/2529) สิบตำารวจโทแห้วมิได้ถูกฟ้องเป็นจำาเลยในคดีด้วยเพียงแต่ถูกสอบสวน ทางวินัยเท่านั้น โจทก์จึงอ้างสิบตำารวจโทแห้วเป็นพยานโจทก์ได้ ไม่ต้อง ห้ามตาม ป.วิ.อาญามาตรา 232 แต่สิบตำารวจโทแห้วเบิกความว่าได้มอบปืนของ กลางให้จำาเลยไปยิงนายดีนั้น แสดงว่าสิบตำารวจโทแห้วมีส่วนร่วมรู้เห็น เป็นใจในการกระทำาความผิดของจำาเลยด้วย คำาเบิกความของสิบตำารวจโท แห้วจึงถือเป็นคำาซัดทอดของผู้ทม ี่ ีส่วนร่วมในการกระทำาผิดของจำาเลย อัน เป็นพยานที่มีนำ้าหนักน้อย ซึ่งศาลจะต้องรับฟังด้วยความระมัดระวังเช่นกัน สำาหรับบันทึกคำาให้การชั้นสอบสวนของนายหุบผู้ร่วมกระทำาผิดกับ จำาเลยอีกคนหนึ่งนั้น เมือ ่ นายหุบไม่ได้มาเบิกความที่ศาล บันทึกคำาให้การดัง กล่าวจึงมีลักษณะเป็นคำาซัดทอดของผู้ร่วมกระทำาผิด โดยผู้ซัดทอดมิได้มา เบิกความในศาล ศาลจึงรับฟังยันจำาเลยในชั้นพิจารณาไม่ได้(ฎีกาที่ 758/2487 2653/2521 81/2530 5314/2530) ส่วนบันทึกถ้อยคำาของนายเหีย ้ มจำาเลยที่ได้ให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวน ก่อนถูกจับนั้นมิใช่คำาให้การของจำาเลยผู้ตอ ้ งหา แม้พนักงานสอบสวนจะมิได้ บอกให้ทราบก่อนว่าถ้อยคำาที่นายเหี้ยมกล่าวนั้น อาจใช้เป็นพยานหลักฐาน ยันนายเหี้ยมในชั้นพิจารณาได้ก็ตาม ก็ไม่ถอ ื ว่าเป็นพยานหลักฐานที่ได้มาโดย มิชอบด้วยมาตรา 134 แห่ง ป.วิ.อาญา จึงเป็นพยานหลักฐานที่รับฟังได้ เพียง แต่ถ้อยคำานี้ โดยลำาพังลงโทษจำาเลยไม่ได้(ฎีกาที่ 1581/2531) คำาซัดทอดของผูม ้ ีส่วนร่วมในการกระทำาผิดของจำาเลยที่ให้ ไว้ในชั้นสอบสวนโดยผู้ซัดทอดมิได้มาเบิกความเป็นพยานต่อศาลนั้น มีคำา พิพากษาที่ 1839/2529 และที่ 2805/2531 ตัดสินว่า หากศาลเห็นว่าคำาซัดทอดนั้น ชอบด้วยเหตุผลพอให้รับฟังว่าเป็นความจริงทีเ่ กิดขึ้น ศาลก็มอ ี ำานาจรับฟังคำา ซัดทอดนั้นประกอบพยานหลักฐานอื่นลงโทษจำาเลยได้(ข้อสอบผู้ช่วยผู้ พิพากษา 2532) 8 พนักงานอัยการโจทก์ยื่นฟ้องนายแดงและนายดำาเป็น จำาเลยคดีเดียวกันในข้อหารับของโจร นายดำาให้การรับสารภาพ นายแดง
61 ให้การปฏิเสธ ศาลสั่งให้โจทก์แยกฟ้องนายแดงเป็นคดีใหม่ต่างหาก แล้วมีคำา พิพากษาลงโทษนายดำาไปเลยที่เดียว เมื่อโจทก์ได้แยกฟ้องเป็นคดีใหม่แล้ว โจทก์อา้ งนายดำาเข้ามาเป็นพยานโจทก์เพื่อเบิกความยืนยันว่านายแดงได้ร่วม กระทำาผิดด้วย เช่นนี้ ศาลจะอนุญาตให้โจทก์อา้ งนายดำาเป็นพยานได้หรือไม่ การที่โจทก์อ้างนายดำาจำาเลยในคดีเดิมเป็นพยานโจทก์ในคดี ที่ฟ้องใหม่ แม้ตาม ป.วิ.อาญามาตรา 232 จะห้ามมิให้โจทก์อา้ งจำาเลยเป็น พยานก็ตาม แต่ต้องตีความโดยเคร่งครัดว่าจำาเลยที่หา้ มมิให้โจทก์อา้ งเป็น พยานในคดีเดียวกัน โจทก์มีสิทธิอ้างจำาเลยผู้กระทำาผิดนั้นเป็นพยานโจทก์ ศาลย่อมอนุญาตให้โจทก์อา้ งนายดำาเป็นพยานโจทก์ได้(ฎีกาที่ 534./2512)(ข้อสอบ ผู้ช่วยผู้พิพากษา 2528) 9 เดิมอัยการโจทก์ฟ้องนายดำาเป็นจำาเลยแล้วถอนฟ้อง โดยอ้างว่าฟ้องผิดตัว ต่อมาอัยการได้ฟ้องนายแดงในความผิดอันเดียวกัน ส่วนผู้เสียหายได้ฟ้องนายดำาในความผิดฐานนั้นอีก อัยการโจทก์จะกลับขอ อ้างนายดำาเป็นพยานในคดีที่ฟ้องนายแดงได้หรือไม่ ตาม ป.วิ.อาญามาตรา 232 ห้ามมิให้โจทก์อา้ งจำาเลยเป็น พยาน เมือ ่ อัยการโจทก์ถอนฟ้องคดีที่นายดำาเป็นจำาเลย ไปฟ้องนายแดงเป็น คดีใหม่ นายดำาจึงไม่ใช่จำาเลยในคดีที่อย ั การฟ้องนายแดง อัยการโจทก์จึงอ้าง นายดำาเป็นพยานได้ แต่ถ้ารวมพิจารณาคดีที่ผู้เสียหายฟ้องนายดำาเป็นจำาเลยกับคดีทอ ี่ ัยการ โจทก์ฟ้องนายแดงเป็นจำาเลยเข้าด้วยกัน พยานหลักฐานที่นำาสืบย่อมใช้ ลงโทษได้ทั้งนายดำาและนายแดง อัยการโจทก์จึงอ้างนายดำาเป็นพยานได้( ข้อสอบผู้ช่วยผู้พิพากษา 2513) 10 นายดำาและนายเดือดร่วมกันทำาร้ายร่างกายนายแดง บาดเจ็บสาหัสต่อหน้าพระภิกษุขาวและนายเขียว พนักงานอัยการเป็นโจทก์ ฟ้องนายดำาและนายเดือดเป็นจำาเลยร่วมกันในข้อหาทำาร้ายร่างกายผู้อื่นบาด เจ็บสาหัส นายเดือดให้การรับสารภาพตามฟ้อง แต่นายดำาปฏิเสธ ศาลจึงสั่ง จำาหน่ายคดีเฉพาะนายดำาให้แยกฟ้องนายดำาเป็นคดีอีกหนึ่งคดีและพิพากษา ลงโทษนายเดือด เมื่อโจทก์ฟ้องนายดำาเป็นคดีใหม่แล้วได้อา้ งพระภิกษุขาว นายเขียว และนายเดือดเป็นพยาน ศาลได้ออกหมายเรียกบุคคลทั้งสามให้มา เบิกความตามที่โจทก์ขอ พยานได้รับหมายเรียกโดยชอบแล้ว ก่อนถึงวันนัด สืบพยานพระภิกษุขาวได้สึกจากพระภิกษุ ส่วนนายเขียวได้บวชเป็นพระภิกษุ ครั้งถึงวันสืบพยานนายขาวและพระภิกษุเขียวมาศาลต่างแถลงต่อศาลว่านาย ดำาเป็นญาติไม่อยากยุ่งเกี่ยวไม่ยอมเบิกความเป็นพยานโจทก์ ส่วนนายเดือด ยอมเบิกความ แต่นายดำาคัดค้านว่าเป็นพยานที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ถ้าท่าน
62 เป็นศาลท่านจะสั่งให้นายขาวและพระภิกษุเขียวเบิกความตามหมายเรียกได้ หรือไม่ และรับฟังคำาเบิกความนายเดือดเป็นพยานหลักฐานได้หรือไม่
ป.วิ.แพ่ง มาตรา 115 บัญญัติให้เอกสิทธิ์แก่พระภิกษุ สามเณรในพุทธศาสนาไว้ว่า แม้มาเป็นพยานจะไม่ยอมเบิกความหรือตอบคำา ถามใดๆก็ได้ ซึ่ง ป.วิ.อาญา มิได้บัญญัติเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้โดยเฉพาะ จึงต้อง นำาไปใช้บังคับในคดีอาญาด้วยตาม ป.วิ.อาญามาตรา 15 แต่ผู้ทจ ี่ ะได้เอกสิทธ์ ตามมาตรานี้จะต้องเป็นพระภิกษุสามเณรในพุทธศาสนาอยู่ ในขณะที่มีศาล ในวันสืบพยานเท่านั้น เมื่อนายขาวได้สึกจากพระภิกษุมาเป็นบุคคลธรรมดา แล้ว มิได้เป็นพระภิกษุอยู่ในวันสืบพยาน จึงไม่ได้รับเอกสิทธิ์ตามกฎหมายดัง กล่าว ศาลชอบที่จะสั่งให้นายขาวเบิกความได้ ส่วนพระภิกษุเขียวแม้ขณะที่ เกิดเหตุและได้รับหมายเรียกจะมิได้เป็นพระภิกษุ แต่เมื่อได้บวชและยังคงเป็น พระภิกษุอยู่ในวันสืบพยาน จึงได้รับเอกสิทธิต ์ ามกฎหมายดังกล่าว ศาลจะสั่ง ให้พระภิกษุเขียวเบิกความไม่ได้
. . 232 ( ฎีกาที่ 1202/2520 และฎีกาที่ 5877/2530) ส่วนข้อที่นายเดือดเป็นผู้ร่วมกระทำาผิดกับ นายดำาจำาเลยด้วยและการเบิกความของนายเดือดจะเป็นการซัดทอดนั้น ก็ ไม่มีบทกฎหมายใดถือเป็นเหตุหา้ มมิให้รับฟังคำาเบิกความของนายเดือด การที่ นายเดือดเป็นผู้ร่วมกระทำาผิดกับจำาเลยเพียงแต่จะเป็นเหตุให้คำาเบิกความของ นายเดือดมีนำ้าหนักน้อยไปบ้างเท่านั้น มิใช่จะรับฟังไม่ได้เสียหายทีเดียว(ฎีกา ที่ 4512/2530) ศาลจึงรับฟังคำาเบิกความของนายเดือดเป็นพยานหลักฐานได้( ข้อสอบผู้ช่วยผู้พิพากษา 2533) 11 พนักงานอัยการฟ้องนายศักดิ์กับนายสิทธิ์ว่าร่วมกันลัก ทรัพย์ นายศักดิ์ให้การรับสารภาพตามฟ้อง นายสิทธิ์ให้การปฏิเสธ ศาลสั่ง ให้พนักงานอัยการแยกฟ้องนายสิทธิ์ซึ่งปฏิเสธเป็นคดีใหม่ และพิพากษา
63 ลงโทษนายศักดิ์ พนักงานอัยการได้ยื่นฟ้องนายสิทธิ์เป็นคดีใหม่แล้วอ้างนาย ศักดิ์เป็นพยานโจทก์ นายศักดิ์ให้การว่านายสิทธ์ได้ร่วมกับตนลักทรัพย์รายนี้ ด้วย ถ้าท่านเป็นศาลจะวินิจฉัยคดีนี้อย่างไร พนักงานอัยการอ้างนายศักดิเ์ ป็นพยานโจทก์ได้ตาม ป.วิ. อาญามาตรา 232 ห้ามมิให้โจทก์อ้างจำาเลยเป็นพยานนั้น หมายถึง ห้าม โจทก์อา้ งจำาเลยในคดีนั้นเป็นพยานของโจทก์เท่านั้น นายศักดิ์แม้จะเคยถูก ฟ้องเป็นจำาเลยร่วมกับนายสิทธิ์ในคดีก่อน แต่นายศักดิ์ก็มิได้เป็นจำาเลยในคดี นี้ เพระได้แยกฟ้องไปแล้ว(ฎีกาที่ 2311-2314/2514)(ข้อสอบอัยการผู้ช่วย 2520) 12 ข้อเท็จจริงตามสำานวนการสอบสวนคดีอาญาเรื่องหนึ่ง พนักงานสอบสวนสอบสวน ก.และ ข. เป็นผู้ตอ ้ งหาในคดีร่วมกันหลอกลวง ค. คนขับรถแท็กซี่ให้พาไปในที่เปลี่ยวแล้วใช้อาวุธมีดขู่เข็ญเอาเงินสดไปจาก ค.จำานวนหนึ่ง อัยการจึงยื่นฟ้อง ก.และ ข. ฐานร่วมกันชิงทรัพย์ ครั้นนำา ค. เข้าเบิกความได้เป็นปากแรก ข้อเท็จจริงได้ความว่า ข. มิได้ร่วมกระทำาผิด ด้วย อัยการจึงยื่นคำาร้องขอถอนฟ้อง ข. ศาลอนุญาตแล้ว อัยการได้ระบุอ้าง ข.ซึ่งเป็นพยานผู้อยู่ในเหตุการณ์เพิ่มเติมอีก 1 ปาก เพื่อให้พยานหลักฐาน แน่นแฟ้นขึ้น ต่อมาในชั้นสืบพยานจำาเลย ก. ได้ระบุตัวพยานหลายปากรวม ทั้ง ข. ซึ่งได้เบิกความไปแล้วในฐานะเป็นพยานโจทก์แล้วด้วย ให้ทา่ น วินิจฉัยว่า การที่คู่ความในคดีดังกล่าว ได้นำา ข. เข้าเบิกความเป็นพยาน ชอบหรือไม่ เพราะเหตุใด . . .
.
232
.
สำาหรับกรณีที่ ก. ระบุอ้าง ข. และนำาเข้าเบิกความเป็นพยานนั้นก็ย่อมกระได้เช่นกันเพราะไม่มีกฎหมาย
64 ห้ามมิให้จำาเลยระบุอ้างพยานโจทก์เป็นพยานแต่อย่างใด(ข้อสอบอัยการผู้ช่วย 2523) 13 ในคดีอาญาเรื่องหนึ่ง พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้อง นายดำาเป็นจำาเลยที่ 1 และนายแดงเป็นจำาเลยที่ 2 ต่อมาในวันสืบพยานโจทก์ นัดแรก พนักงานอัยการยื่นคำาร้องขอถอนฟ้องนายแดงจำาเลยที่ 2 ศาล อนุญาตและมีคำาสั่งจำาหน่ายคดีเฉพาะนายแดงจำาเลยที่ 2 ต่อมาพนักงาน อัยการได้ระบุอ้างนายแดงเป็นพยานโจทก์เพิม ่ เติม โดยมิได้มีการสอบสวน นายแดงไว้ในฐานะพยาน ดังนี้ พนักงานอัยการจะนำาสืบนายแดงเป็นพยาน ในคดีได้โดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ และศาลจะรับฟังคำาเบิกความของนาย แดงได้หรือไม่ ในคดีอาญา ตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 232 ห้ามมิให้โจทก์อา้ ง จำาเลยเป็นพยาน เมือ ่ นายแดงมิได้อยู่ในฐานะเป็นจำาเลยอีกต่อไป พนักงาน อัยการโจทก์จึงระบุอ้างนายแดงเป็นพยานโจทก์เพิ่มเติมและนำาสืบนายแดง เป็นพยานในคดีได้โดยชอบ ตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 120 ห้ามมิให้พนักงานอัยการยื่นฟ้องคดีใดต่อศาล โดยมิได้มีการสอบสวนในความผิดนั้นก่อนเท่านั้น
นอกจาก นี้ ป.วิ.อาญา มาตรา 226 บัญญัติให้พยานบุคคลซึ่งน่าจะพิสจ ู น์ได้ว่าจำาเลยมี ความผิดหรือบริสุทธิ์ให้อ้างเป็นพยานหลักฐานได้ และมาตรา 228 บัญญัติว่า ระหว่างการพิจารณาคู่ความฝ่ายใดร้องขอ ศาลมีอำานาจสืบพยานเพิ่มเติมได้ ดังนั้น ศาลจึงรับฟังคำาเบิกความของนายแดงเป็นพยานหลักฐานได้โดยชอบ( ข้อสอบอัยการผู้ช่วย 2537) 14 เดิมพนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องนายดำาเป็นจำาเลย ในคดีอาญาแล้วถอนฟ้องโดยอ้างว่าฟ้องผิดตัว ต่อมาพนักงานอัยการได้ฟ้อง นายแดงและนายเขียวเป็นจำาเลยในความผิดเดียวกัน นายเขียวให้การรับ สารภาพ ศาลมีคำาพิพากษาลงโทษนายเขียวในความผิดดังกล่าวแล้ว และมี คำาสั่งให้โจทก์แยกฟ้องนายแดงเป็นคดีใหม่ คดีที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ ฟ้องนายแดงอยู่ระหว่างการสืบพยาน ผูเ้ สียหายเป็นโจทก์ยื่นฟ้องนายดำาใน ความผิดฐานนั้นอีก ดังนี้ พนักงานอัยการโจทก์จะอ้างนายดำาและนายเขียว เป็นพยานในคดีที่พนักงานอัยการยื่นฟ้องนายแดงได้หรือไม่
65 หากศาลมีคำาสั่งให้รวมพิจารณาคดีที่ผเู้ สียหายฟ้องนายดำาเป็นจำาเลย กับคดีที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องนายแดงเป็นจำาเลยเข้าด้วย พนักงาน อัยการโจทก์จะอ้างนายดำาเป็นพยานในคดีที่ฟ้องนายแดงได้หรือไม่ ตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 232 ห้ามมิให้โจทก์อา้ งจำาเลยเป็น พยาน เมือ ่ พนักงานอัยการโจทก์ถอนฟ้องคดีที่นายดำาเป็นจำาเลยไปฟ้องนาย แดงและนายเขียวเป็นคดีใหม่ นายดำาจึงไม่ใช่จำาเลยในคดีที่เจ้าพนักงาน อัยการเป็นโจทก์ฟ้องนายแดง พนักงานอัยการจึงอ้างนายดำาเป็นพยานได้ ส่วนนายเขียว แม้จะถูกฟ้องเป็นจำาเลยร่วมกับนายแดงมาก่อน แต่ได้ รับสารภาพและศาลได้พิพากษาลงโทษจนคดีเสร็จเด็ดขาดไปแล้ว จึงไม่ได้ เป็นจำาเลยในคดีที่พนักงานอัยการฟ้องนายแดงเป็นคดีใหม่ ไม่ตอ ้ งห้ามตาม ป.วิ .อาญา มาตรา 232 พนักงานอัยการโจทก์จึงอ้างนายเขียวเป็นพยานได้ แต่ถ้ารวมพิจารณาคดีที่ผู้เสียหายฟ้องนายดำาเป็นจำาเลย กับคดีที่ พนักงานอัยการฟ้องนายแดงเป็นจำาเลยเข้าด้วยกัน พยานหลักฐานที่นำาสืบ ย่อมฟังลงโทษได้ทั้งนายดำาและนายแดง ถือว่านายดำาอยู่ในฐานะจำาเลยในคดี ดังกล่าว พนักงานอัยการโจทก์จึงอ้างนายดำาเป็นพยานไม่ได้ ต้องห้ามตาม ป.วิ.อาญามาตรา 232 (ข้อสอบอัยการผู้ช่วย 2541)
.
232
226
.
.
.
.
135
.
7
พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องนายโดดเป็นจำาเลยที่ 1 ในข้อหา ลักทรัพย์ และฟ้องนายดำาเป็นจำาเลยที่ 2 ในข้อหารับของโจร จำาเลยทั้งสอง ให้การปฏิเสธ โจทก์นำาพนักงานสอบสวนมาเบิกความว่านายดำาให้การรับ
66 สารภาพไว้ในชั้นสอบสวนว่า นายโดดเป็นคนร้ายลักทรัพย์ของกลางมาขาย ให้นายดำาในราคาถูก โดยขอส่งบันทึกคำาให้การรับสารภาพซึ่งนายดำาลงชื่อ รับรองไว้เป็นพยานหลักฐานประกอบคำาเบิกความของพนักงานสอบสวนด้วย นายดำาคัดค้านว่าพนักงานสอบสวนบอกให้ตนรับสารภาพจะได้เป็นเหตุ โดย มิได้แจ้งให้ตนทราบว่าตนมีสิทธิที่จะพบและปรึกษาทนายก่อน หากข้อเท็จจริงเป็นที่ดังนายดำาคัดค้าน ศาลจะรับฟังคำาเบิกความของพนักงานสอบสวรและบันทึกคำา ให้การรับสารภาพในชั้นสอบสวนของนายดำาเป็นพยานหลักฐานยันนายดำาและนายโดดได้หรือไม่ การนำาสืบพนักงานสอบสวนและบันทึกคำาให้การรับสารภาพ ของนายดำาในกรณีนี้มิใช่เป็นการอ้างจำาเลยเป็นพยานโจทก์ จึงไม่ต้องห้าม ตาม ป.วิ.อาญามาตรา 232 และการที่พนักงานสอบสวนบอกให้นายดำารับ สารภาพจะได้เป็นเหตุบรรเทาโทษ ก็มิใช่เป็นการจูงใจหรือเป็นการมิชอบแต่ อย่างใด จึงไม่ต้องห้ามตาม ป.วิ.อาญามาตรา 135 ประกอบมาตรา 226 แต่การ ที่ไม่มีการแจ้งให้นายดำาทราบถึงสิทธิที่จะพบทนายและปรึกษาทนายนั้น เป็นการฝ่าฝืน ป.วิ.อาญา มาตรา 7 ทวิ วรรคสอง พยานหลักฐานที่แสดงถึง คำาให้การรับสารภาพในชั้นสอบสวนของนายดำา จึงเป็นพยานหลักฐานที่เกิด ขึ้นโดยมิชอบ ต้องห้ามมิให้รับฟังตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 226 และไม่อาจใช้ เป็นพยานหลักฐานในคดีนี้ได้เลย ศาลจึงรับฟังเป็นพยานหลักฐานยันนายดำา และนายโดดไม่ได้ทั้งคู(่ ข้อสอบผู้ช่วยผู้พิพากษาสนามเล็ก 2537) 232 . . 2 2545 1 นายสมคิดโกรธที่นายสมชายขายเมทแอมเฟตามีนให้ตนในราคา สูงมาก จึงไปพบส.ต.ต.สงัดแจ้งให้ไปจับกุมนายสมชาย ส.ต.ต.สงัดได้มอบเงิน ให้นายสมคิดไปล่อซื้อเมทแอมเฟตามีนจากนายสมชายให้ส.ต.ต.สงัดจับกุม นายสมคิดไปล่อซื้อเมทแอมเฟตามีนจากนายสมชายได้ 2 เม็ด จึงเก็บเอาไว้ 1 เม็ด เพื่อเสพเอง ส่วนอีก 1 เม็ด ได้มอบให้ ส.ต.ต สงัดเป็นของกลาง ส.ต.ต. สงัดจึงจับทั้งนายสมคิดและนายสมชายไปดำาเนินคดี พนักงานอัยการโจทก์ในคดีของนายสมชายอ้าง นายสมคิดมาเบิกความเป็นพยาน โดยพนักงานสอบสวนคดีนายสมชายได้ ทำาการสอบสวนโดยชอบแล้ว นายสมชายแถลงคัดค้านว่าโจทก์จะอ้างนาย สมคิดจำาเลยเป็นพยานไม่ได้ ทัง้ พนักงานสอบสวนไม่ได้สอบปากคำานายสมคิด ไว้เป็นพยานและนายสมคิดเป็นผู้ล่อซื้อจึงเป็นพยานหลักฐานที่ไม่ชอบ ให้วินิจฉัยว่า ศาลจะรับฟังคำาเบิกความของนายสมคิดเป็นพยานหลัก ฐานในคดีที่ฟ้องนายสมชายได้หรือไม่
67 กรณีที่พนักงานอัยการโจทก์ในคดีของนายสมชายอ้างนาย สมคิดเป็นพยาน โดยพนักงานสอบสวนไม่ได้สอบปากคำานายสมคิดไว้เป็น พยานนั้น แม้ ป.วิ.อาญามาตรา 232 บัญญัติหา้ มมิให้โจทก์อ้างจำาเลยเป็น พยาน แต่เมื่อนายสมคิดเป็นจำาเลยในคดีอื่น ไม่ได้เป็นจำาเลยร่วมกับนาย สมชายในคดีที่นายสมชายเป็นจำาเลย กรณีนี้มิใช่เรื่องโจทก์อ้างจำาเลยเป็น พยาน และแม้พนักงานสอบสวนจะไม่ได้สอบปากคำานายสมคิดไว้ในฐานะ พยาน แต่พนักงานสอบสวนก็ได้สอบสวนคดีของนายสมชายโดยชอบแล้ว และพยานโจทก์ที่เบิกความในศาลก็ไม่จำาเป็นต้องเป็นพยานในชั้นสอบสวน(ฎ. 4012/2534) นอกจากนั้น แม้นายสมคิดจะเป็นพยานบุคคลที่ ส.ต.ต สงัดได้มอบ เงินให้ไปล่อซื้อเมทแอมเฟตามีนจากนายสมชายก็ตาม แต่เมื่อนายสมชายขาย เมทแอมเฟตามีนอยู่แล้ว การที่ ส.ต.ต สงัดมอบเงินให้นายสมคิดไปล่อซื้อเมท แอมเฟตามีน เป็นเพียงวิธีการแสวงหาพยานหลักฐานในการกระทำาความผิด ของนายสมชายที่กระทำาอยู่แล้ว มิได้ล่อหรือชักจูงใจให้นายสมชายกระทำา ความผิดอาญาที่นายสมชายไม่ได้กระทำาความผิดมาก่อน ไม่เป็นการแสวงหา พยานหลักฐานโดยมิชอบต่อกม.และไม่เข้าข้อต้องห้ามที่อ้างเป็นพยานหลัก ฐานตาม ป.วิ.อาญามาตรา 226 (ฎีกาที่ 8187/2543) ดังนั้น ศาลจึงรับฟังคำาเบิกความของนายสมคิดเป็นพยานหลักฐานใน คดีที่ฟ้องนายสมชายได้
THE LAW DOES NOT SANCTION THE EVIDENT ABUSE OF MAN’S RIGHTS กฎหมายไม่นำาพาต่อพยานหลักฐานซึ่งเกิดจากการใช้สิทธิโดยมิชอบ