งานวิจัยในชัน้ เรียน ชื่อเรื่อง รายงานวิจยั เชิงปฏิบัติการ เรื่องการใชการสอนแบบ Reciprocal teaching เพื่อ พัฒนาทักษะการอานของนักศึกษาศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรชั้นสูง 2/8 แผนกภาษาตางประเทศ โรงเรียนเทคโนโลยีชนะพลขันธ นครราชสีมา นางวิภา ชะวางกลาง อาจารยผูสอนภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทคโนโลยีชนะพล-ขันธ นครราชสีมา สังกัดกรมอาชีวศึกษา ปที่ทําการวิจัย พ.ศ. 2548 ชื่อผูวิจัย
การวิจัยในชั้นเรียน บทคัดยอ
ชื่อเรื่อง
ชื่อผูวิจัย
ปที่ทําการวิจัย
รายงานวิ จั ย เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ งการใช ก ารสอนแบบ Reciprocal teaching เพื่อพัฒนาทักษะการอานของ นักศึกษาศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรชั้นสูง 1/8 แผนก ภาษาต า งประเทศ โรงเรี ย นเทคโนโลยี ช นะพลขั น ธ นครราชสีมา นางวิภา ชะวางกลาง อาจารยผูสอนภาษาอังกฤษ โรงเรียน เทคโนโลยีชนะพล-ขันธ นครราชสีมา สังกัดกรมอาชีวศึกษา พ.ศ. 2548
วิจัย ในชั้นเรียนนี้ เป นวิ จัยเชิงทดลอง ผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยเพื่ อแกป ญหาและพัฒนา ศักยภาพดานการอานภาษาอังกฤษของผูเรียน โดยดําเนินการวิจัยกับกลุมประชากรตัวอยางของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง ปที่ 1 /8 โรงเรียนเทคโนโลยีชนะพลขันธ นครราชสีมา ภาค เรียนที่1 ปการศึกษา 2548 จํานวน 25 คน ใหนักศึกษาเรียนวิชาการอานและตีความภาษาอังกฤษธุรกิจโดยใชวิธีการสอน 2 แบบคือ การสอนการอานโดยการแปลเปนภาษาไทย(Translation technique) 8 สัปดาห กอนสอบกลางภาค และใชการสอนโดยใชเทคนิคReciprocal technique 8 สัปดาห หลังจากนั้นนําผลการทดสอบกอน เรียนและหลังเรียนของแตละเทคนิคมาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของนักศึกษา และจาก การตอบคําถามจากแบบสอบถาม วัตถุประสงคการวิจัย เพื่อพัฒนาทักษะการอานภาษาอังกฤษโดยใชการสอนแบบเทคนิค ประสม Reciprocal technique ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง ปที่ 1 /8 โรงเรียน เทคโนโลยีชนะพลขันธ นครราชสีมา ผลการวิจัยพบวาจากการใหนักศึกษาเรียนโดยการใช การสอนแบบ Reciprocal technique มีผลสัมฤทธิ์ในการอานภาษาอังกฤษสูงกวาการสอนโดยใช Translation technique และจากการ ตอบแบบสอบถามนักศึกษามีทัศนคติที่ดีตอ การเรียนวิชาการอานภาษาอังกฤษโดยการสอนแบบ Reciprocal teaching สูงกวาการสอนแบบการแปล (Reciprocal teaching)และสามารถใช ภาษาอังกฤษขัน้ พื้นฐานในการสื่อสารในชีวิตประจําวันไดมากขึ้น
บทที่ 1 บทนํา ปญหาและความเปนมา
จากการสอนวิชาทักษะพัฒนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 รหัสวิชา 3000-1202 ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หลักสูตร พุทธศักราช 2546 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชา ภาษาตางประเทศธุรกิจ ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2548 ซึ่งหนึ่งในจุดประสงครายวิชาคือ “เพื่อใหสามารถอานขอความและบทความภาษาอังกฤษธุรกิจได” จากการสอนวิชาดังกลาวขาพเจา พบวานักศึกษาระดับชั้น ปวส. 1/8 จํานวนนักศึกษาทั้งหมด 25 คน มีปญหาเรื่องทักษะการอานซึ่งดู ไดจากคะแนนสอบกอนเรียนภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2548 ซึ่งผลคะแนนจากตารางที่ 1 (ปรากฏ ในภาคผนวก) อยูในเกณฑต่ําหรือไมผานเกณฑ คน ซึ่งคิดเปนรอยละ ของนักเรียนทั้งหมด จากการวิเคราะหปญหาเบื้องตนที่พบจากแบบฝกหัดเกี่ยวกับการอานและการสอบ พบวา นักศึกษามีปญหาเรื่องการแปลความและตีความที่ไมถูกตอง โดยเฉพาะการแปลความหมายโดยการ ใชพจนานุกรมชวยนักศึกษาจะแปลความหมายทุกคําเมื่อนํามารวมกันจะทําใหการตีความหมาย ผิ ด เพี้ย นไป ซึ่งปญหานี้ เ กิ ด ขึ้น บอ ยและทํา ใหนั ก ศึก ษาเขา ใจผิดพลาดไปซึ่ งสงผลต อการอ า น ภาษาอังกฤษไดอยางมาก เพราะฉะนั้น ปญหาดังกลาว ควรไดรับการแกไข ซึ่งเปนที่มาของการทํา วิจัยครั้งนี้ จากการศึ ก ษาข อมู ล จากวรรณกรรมและงานวิจั ย ตา งๆ พบว า การสอนโดยใช เ ทคนิ ค Reciprocal teaching technique เปนวิธีหนึ่งที่ชวยใหผูเรียนสามารถฝกทักษะดานการอานได เพราะ เปนการใหผูเรียนไดเรียนรูรวมกัน วัตถุประสงคในการวิจัย
1. เพื่อศึกษาผลของวิธีการสอนแบบ Reciprocal teaching technique ที่มีตอทักษะการอานและ ตีความภาษาอังกฤษของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาตางประเทศ โรงเรียนเทคโนโลยีชนะพล ขันธ นครราชสีมา 2. เพื่อลดขอผิดพลาดในการอานและตีความของนักศึกษาภาษาตางประเทศ โรงเรียน เทคโนโลยีชนะพลขันธ นครราชสีมา 3. เพื่อหาเจคติตอ การเรียนโดยใชการเรียนทั้งสองแบบ Translation techniqueและ Reciprocal technique
ขอบเขตการวิจัย 1. กลุ ม นั ก ศึ ก ษาที่ ใ ช ใ นการทํ า วิ จั ย คื อ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปวส.1/8 แผนกภาษาต า งประเทศ โรงเรียนเทคโนโลยีชนะพลขันธ นครราชสีมา จํานวน 25 คน 2. เครื่องมือในการทําวิจัยคือ รูปแบบการสอนทั้งสองแบบ Translation techniqueและ Reciprocal technique 3. ระยะเวลาในการวิจัย 16 สัปดาห คือตั้งแตวันที่ 5 มิถุนายน 2548 –18 กันยายน 2548 4. การประเมินผลจากคะแนนสอบกอนเรียนและหลังเรียน
บทที่ 2 งานวิจัยที่เกี่ยวของ เนื่องจากการวิจัยในครั้งนี้ใชการสอนโดยสองแบบในการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการ เรียนของนักศึกษาเปนเครื่องมือในการทําวิจัยคือการสอนโดย Translation techniqueและ Reciprocal technique ซึ่งรายละเอียดของการสอนทั้งสองรูปแบบมีดังนี้ การสอนโดยใชภาษาแมหรือภาษาที่ 1มีการใชกันอยางแพรหลายในการสอนภาษาอังกฤษ การสอนโดยการแปล หรือ Grammar-Translation method (Piascecka, 1986:29). It ให ความหมายไววา : The act of replacing text material in the source language (SL) by an equivalent text material in the target language (TL) where not only superficial semantic equivalents are south but also a maximum of implied meanings and emotional and authentic effects are transferred. (Costa, 1988: 9). การแทนที่ความหมายของแหลงภาษาโดยการใหมีความหมายเดียวกันในภาษาเปาหมาย โดยการคงไวซึ่งความเปนจริงซึ่งความหมายของขอความเดิม การสอนโดยการแปล The Grammar-Translation method ซึ่ง (Lado, 1988:12). Boey (1970:6 ไดอธิบายขั้นตอนไววา : The students learn to memorize vocabulary lists consisting of L2 words on one side and L1 equivalents on the other. The L1 is used in explaining grammatical rules of the L2. The student is then given practice exercises which consist in translating L1 sentence into the L2 by a process of applying the grammatical rules to the memorized vocabulary. In this method the L1 is used to give the meaning of L2 words and also as a stimulus of producing L2 sentences. นักศึกษาเรียนโดยการจําคําศัพทในภาษาที่ 2 และแปลความหมายเปนภาษาที่ 1โดยการ เรียนกฏไวยกรณทางภาษา และเรียนโดยการทําแบบฝกหัดโดยการแปลประโยคจากภาษาที่ 1 เปน ภาษาที่ 2 โดยการประยุกตใชกฏไวยกรณที่จําไดจากคําศัพย Del Mar, et al (1982) แนะวาการใชการแปลความหมายเหมาะกับนักศึกษาที่เริ่มเรียนถึง ระดับกอนทีจ่ ะสื่อสารไดเทานั้น แต Titford (1983:52-57) กลาวไววาวิธีการแปลก็เหมาะสําหรับระดับเชี่ยวชาญเชนกันถา นักเรียนรูจักใชภาษาที่ 1เชื่อมโยงกันใหเกิดความหมายในภาษาที่ 2
นักวิจัยหลายคนไดทําการวิจยั หาประโยชนของการแปล ( translation and the native language) เชน Kharma and Hajjaj (1989) ทดลองการใชภาษาแมหรือภาษาที่ 1 ในชัน้ เรียนกับ อาจารยอาราบิค 200 คนและนักศึกษา 293 คน ผลการทดลองปรากฏวา 93 % ที่ใชการแปลเขาใจ การอานไดไมดี ในป 1992, Tajan ไดทําการวิจัยโดยการใชการอานโดยมีบทความภาษาไทย ขนานกับ ภาษาอังกฤษ เปนสองสดมภ ใหนกั ศึกษาอานผลการทดลองปรากฏวานักศึกษาอานไดกวาการ อานบความทีไ่ มมี ภาษาอังกฤษคูขนาน ในป 1998, Rattanakul ใช การสอนโดยการแปลมาเปรียบเทียบกับการสอนโดยใชเทคนิค ประสม Recipocal teaching technique ซึ่งผลการวิจัยสนับสนุนการสอนแบบหลัง ซึงการสอนโดย เทคนิคประสมมีคําจํากัดความดังนี้ Palinscar & Brown (1985:148) ใหแนวทางการสอนโดยมี ขั้นตอนดังนี้ Model of reciprocal teaching a) Summarizing การสรุปใจความสําคัญของการอานกระตุนใหนักศึกษาหาใจความสําคัญของ บทความที่ไดอานไปแลว Summarizing (also know as self-review) allows students to integrate the information in the text. This stage encourages the students to identify the main idea or topic sentence, then motivates them to summarize a paragraph from the main idea or the topic sentence (Bos & Vaughn, 1994: 198). The students generate summaries by deleting trivia or redundancy, and selecting or inventing a main idea or topic sentence. The students may summarize by asking themselves a question like “What is the passage about?” (Conley, 1995: 224). Writing a summary from the main idea is one of the strategies used by professional writers (Taylor, 1984: 695). b) Questioning การตั้งคําถามเพื่อหาคําตอบวาทําไมหรืออะไร This stage requires the students to generate teacher-like questions. The students may ask themselves “What is happening?” or “Why is this happening?” in each paragraph. c) Clarifying การทําใหการอานมีความชัดเจนโดยการซักถามกับเพื่อนรวมหองและอาจารย เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกัน a) Students monitor their comprehension when they attempt to clarify what they have read (Wiseman, 1992: 162). d) Predicting การทํานายวาขอความในยอหนาตอไปจะเปนเชนไรชวยใหนักศึกษาอานแลวเขาใจ ดีขึ้นโดยการใชพื้นความรูหลัง
ขั้นตอนในการสอน ขั้นตอนในการสอนแบบ Reciprocal teaching โดย Palinscar and Brown (1984: 124) มี ดังนี้ อาจารยอธิบายถึงวัตถุประสงคในการสอนแบบ Reciprocal teaching. ใหนกั ศึกษาอานทีละยอหนาโดยไมใหดใู นยอหนาถัดไปหรืออาจารยอาจขะใหบทรวามทีละยอ หนาแลวสรุปใจความสําคัญในยอหนานัน้ ๆใหนักศึกษาทํางานเปนกลุม แลว - ตั้งคําถามเกี่ยวกับยอหนานั้นๆ - ถามคําถาม คาดเดาเนื้อเรื่องในยอหนาถัดไปโดยอาจารยทําใหนักศึกษาดูเปนตัวอยางกอนแลวให นักศึกษาทําเองหลังจากนัน้ Richek et al (2002:233-234) แนะวาการสอนแบบนั้ทําใหกระตันใหเกิการทํางานเปนกลุม และทําใหนักศึกษาไดมีความกระตือรือรนในการเรียนอยูเสมอ งานวิจัย reciprocal teaching technique งานวิจยั การใช reciprocal teaching techniques มีผูที่ทําการวิจัยไวดังนี้ Palinscar and Brown (1984: 117-175). ใชการสอนนี้กบั นักศึกษาเกรด 7 ซึ่งผลสัมฤทธิ์ใน การอานต่ํา ผลการทดลองหลังจากการใชการสอนแบบ reciprocal teaching technique 20 วัน นักเรียนเหลานี้มีผลสัมฤทธิ์ในการอานทีด่ ขี ึ้น . Gilroy and Moore (1988) ใชการสอนนี้กบั นักศึกษาระดับประถมศึกษา ซึ่งผลสัมฤทธิ์ใน การอานต่ํา ผลการทดลองหลังจากการใชการสอนแบบ reciprocal teaching technique นักเรียน เหลานี้มีผลสัมฤทธิ์ในการอานที่ดีขึ้น . Rattanakul (1998) ใชการสอนนี้กับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึ่งผลสัมฤทธิ์ในการอานต่ํา ผลการทดลองหลังจากการใชการสอนแบบ reciprocal teaching technique เปรียบเทียบกับการสอน โดยใชการแปล ผลปรากฏวานักเรียนทีใ่ ชการสอนโดยวิธี Reciprocal teaching technique มี ผลสัมฤทธิ์ในการอานที่ดีขนึ้ กวากลุมที่ใชการสอนแบบการแปล จากผลงานวิจยั ที่ผานมาจะเห็นวาการสอนโดยใช Reciprocal teaching technique มีผลตอ การผลสัมฤทธิ์ในการอานของนักศึกษา มันเปนการนาสนใจที่ดูผลสําเร็จของการสอนกับนักศึกษา ที่มีปญหาของโรงเรียนเทคโนโลยีชนะพลขันธนครราชสีมา
บทที่ 3 เครื่องมือและวิธกี ารดําเนินการ เครื่องมือ เครื่องมือที่ใชในการทําวิจัยครั้งนี้คือการสอนแบบการแปลและการสอนแบบประสมมา เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอานของนักศึกษา วิธีการดําเนินการ 1. ให นั ก ศึ ก ษาจํ า นวน 25 คนเรี ย นโดยการใช ก ารสอนแบบการแปล 8 สั ป ดาห ทํ า การ ทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน 2. ใหนักศึกษาจํานวน 25 คนเรียนโดยการใชการสอนแบบประสม 8 สัปดาห ทําการทดสอบ กอนเรียนและหลังเรียน 3. ผูสอนตรวจขอสอบแลวนําคะแนนมาวิเคราะห 4. ใหนักศึกษาทําแบบสอบถามแลวนําคะแนนนักศึกษา 25 คนนําผลมาวิเคราะห สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอ มูล ผูวิจัยใชสถิติในการวิเคราะหขอมูลดังนี้ 1. คาเฉลี่ย 2. คารอยละ 3. t-test 4. คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะหขอมูล ดูจากคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษาของการเรียนทัง้ สองแบบ คือแบบ การ แปล(Translation technique) และแบบ Reciprocal teaching technique และการวิเคราะหการตอบ แบบสอบถาม
บทที่ 4 การวิเคราะหขอมูล ผลการวิเคราหการสอนโดยใชเทคนิคการแปล (Translation technique) ตารางที่ 1 เปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนของการสอนโดยใชเทคนิคการแปล Translation technique การสอบ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบน คา t Two-tail มาตรฐาน Prob. แบบทดสอบ 21.3000 4.7430 กอนเรียน 8.27 <0.05 แบบทดสอบ 23.7667 4.1160 หลังเรียน N= 25 จากตารางที่1 แสดงใหเห็นวา มีความแตกตางอยางเปนนัยสําคัญระหวางคะแนนกอนสอบ และหลังสอบโดยใชการสอนแบบการแปล ซึ่งแสดงวาการสอนโดยเทคนิคนี้ทําใหนักศึกษาพัฒนา ทักษะการอานไดในระดับหนึ่ง ตารางที่ 2 teaching การสอบ แบบทดสอบ กอนเรียน แบบทดสอบ หลังเรียน N= 25
เปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนของการสอนโดยใชเทคนิค Reciprocal คาเฉลี่ย
คา t
Two-tail Prob.
21.3000
คาเบี่ยงเบน มาตรฐาน 4.6620
25.5333
4.2000
10.65
<0.05
จากตารางที่ 2 แสดงใหเห็นวา มีความแตกตางอยางเปนนัยสําคัญระหวางคะแนนกอนสอบ และหลังสอบโดยใชการสอนแบบการแปล ซึ่งแสดงวาการสอนโดยเทคนิคนี้ทําใหนักศึกษาพัฒนา ทักษะการอานไดดี ซึ่งชี้ใหเห็นวาการสอนการอานดวยวิธีนี้ชว ยใหนักศึกษาเรียนรูการอาน ภาษาอังกฤษไดดียิ่งขึ้น
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบคะแนนที่เพิ่มขึ้นของการทําแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนของการ สอนทั้งสองแบบ การสอบ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบน คา t Two-tail มาตรฐาน Prob. การสอนโดย ใชเทคนิคการ อานแบบการ <0.05 2.4667 1.6340 4.38 แปล การสอนโดย ใชเทคนิคการ 4.2333 2.1760 อานแบบ Reciprocal N= 25 จากตารางที่ 3 จะเห็นไดวามีความแตกตางอยางเปนนัยสําคัญระหวางคะแนนเฉลี่ยของ คะแนนทดสอบหลังเรียนของการของการสอนทั้งสองแบบ จากการวิเคราะหขอมูลในครั้งนี้แสดง ใหเห็นวาคะแนนของนักศึกษาในชวงที่เรียนดวยการสอนแบบ Reciprocal teaching สามารถทํา คะแนนไดสูงกวาในชวงทีเ่ รียนดวยการเรียนแบบการแปล Translation technique ในชวงสิ้นการสอนในแตละแบบผูทําการวิจัยใหนกั ศึกษาทําแบบสอบถามเกี่ยวกับความ คิดเห็นของการสอนทั้งสองแบบซึ่งจากการตอบแบบสอบถามนักศึกษาชอบการสอนแบบ Reciprocal teaching technique มากกวาการสอนแบบการแปล Translation technique
บทที่ 5 สรุปผล จากการทําวิจยั ในชัน้ เรียนในครั้งนี้คนพบผลการวิจัย 4 ประการคือ แผนภาพที่ 1 การเปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนของการสอนแบบการแปล
24 23 22
Series1
21 20 1
2
Translation technique ประการแรกจากการคนพบผลความแตกตางระหวางคะแนนสอบการอานกอนเรียน(1)และ คะแนนสอบการอานหลังเรียน(2) จากผลแตกตางนี้จะเห็นไดวาการสอนการอานโดยการแปลทําให นักศึกษาเรียนไดดีในระดับหนึ่ง แผนภาพที่ 2 การเปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนของการสอนแบบ Reciprocal teaching 26 24 22
Series1
20 18 1
2
ประการที่ 2 จากการคนพบผลความแตกตางระหวางคะแนนสอบการอานกอนเรียน(1)และ คะแนนสอบการอานหลังเรียน(2) จากผลแตกตางนี้จะเห็นไดวาการสอนการอานโดยใช Reciprocal teachingทําใหนักศึกษาเรียนไดดีในระดับที่ดี
5 4 3 2 1 0
Series1
1
2
แผนภาพที่ 3 การเปรียบเทียบคะแนนหลังเรียนที่เพิ่มขึ้นของการสอนแบบทั้ง 2 แบบ ประการที่ 3 จากการคนพบผลความแตกตางระหวางคะแนนสอบการอานหลังเรียนของ การสอนแบบการแปล (1)และคะแนนสอบการอานหลังเรียนของการสอนแบบ Reciprocal teaching(2) จากผลแตกตางนี้จะเห็นไดวา การสอนการอานแบบ Reciprocal teaching ทําให นักศึกษาทําคะแนนไดสูงกวาการสอนแบบการแปล ประการที่ 4 จากการตอบแบบสอบถามนักศึกษาทําแบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็น ของการสอนทั้งสองแบบซึ่งจากการตอบแบบสอบถามนักศึกษาชอบการสอนแบบ Reciprocal teaching technique มากกวาการสอนแบบการแปล Translation technique จากการทําวิจยั ครั้งนี้แสดงใหเห็นวาการสอนแบบ Reciprocal teaching สามารถทําให นักเรียนการอานไดดกี วาการสอนโดยใชเทคนิคการแปล ดังนั้นจึงเปนสิ่งที่ควรจะสนับสนุนให ครูผูสอนใชการสอนแบบ Reciprocal teaching ในชั้นเรียน
เอกสารอางอิง Boey,L. (1970). The Use of the First Language in Second Language Teaching and Learning RELC Journal,1 (1),66-67. Costa, S. (1988). Adding Variety in Translation Courses. English Teaching Forum, 16 (1), 9-12. Gilroy, A. and Moore, D. (1988). Reciprocal Teaching of Comprehension-Fostering and Comprehension-Monitoring Activities with Ten Primary Schools Girls. Educational Psychology, 8 (1), 2. Khama, N. and Hajjai, A. (1989). Use of the Mother Tongue in the ESL Classroom. IRAL, 27(3), 233-234. Lado, R. (1988). Teaching English Across Cultures. New York: McGraw-Hill Book Company. Palinscar A.S. and Bronwn A.L.(1984). Reciprocal teaching of comprehension-fostering and comprehension-monitoring activities. Cognitive and Instruction 12 (1984),pp. 117-175. Piasecka, Krystyna. (1986). Using mother tongue in teaching adult immigrants. Language Issues, No.1 Spring, 29-34. Rattanakul, Sompratana, (1998). An Experimental Study of the Use of The Reciprocal Teaching Technique in Teaching English Reading Comprehension. Unpublished Master Thesis. Mahidol Unversity. Richek, M.A.,Caldwell,J.S., Jennings,J.H. and Lerner,J.W. (2002). Reading Problems: Assessment and Teaching Strategies.USA: Allyn and Bacon. Tajan, Varaporn (1992). An Experimental Study of the Use of Thai Text in Parallel with English Text in Teaching English Reading Comprehension. Unpublished Master’s Thesis. Mahidol University.
Taylor, K.K. (1984). The Different Summary Skills of Inexperienced and Professional Writers. Journal of Reading, May, 691-699. Tifford, C. (1983). Translation for Advanced Learners. English Language Teaching Journal, 37(1). 52-57. Wiseman, D. L. (1992), Learning to Read with Literature. USA: Allyn and Bacon.