วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 1/34
หนวยการเรียนรูที่ 3 เครื่องเจาะ เครื่องเจาะ งานเจาะจัดเปนกระบวนการผลิตขั้นพื้นฐาน ที่มีลักษณะการทํางานแบบงาย ๆ ไมยงุ ยากซับซอน แต มีความสําคัญมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในงานโลหะ การเจาะเปนกระบวนการตัดเฉือนวัสดุงานออก โดยใชดอก สวาน รูที่ไดจากการเจาะดวยดอกสวานจะมีลักษณะเปนรูกลม เชน รูยึดเหล็กดัดประตูหนาตางบานพับ กลอน ประตูบาน ตลอดจนชิ้นสวนรถจักรยาน รถยนตตาง ๆ มีรูสําหรับการจับยึดมากมาย ในการเจาะรูบนชิ้นงานสามารถทําไดดวยเครื่องจักรกลหลายชนิด เชน การเจาะรูบนเครื่องกลึง เครื่องกัด เปนตน แตในการเจาะรูที่ประหยัด รวดเร็ว และนิยมใชกันมากที่สุด คือ การเจาะรูดว ยเครื่องเจาะ ดังนั้น เครื่องจักรกลพื้นฐานที่จะกลาวในบทนี้ คือ เครื่องเจาะ ชนิดของเครื่องเจาะ เครื่องเจาะมีหลายชนิดแตสามารถแบงออกไดดังนี้ คือ เครื่องเจาะตั้งพืน้ เครื่องเจาะแบบรัศมี และเครื่องเจาะในงานอุตสาหกรรม • เครื่องเจาะตั้งโตะ (Bench – model Sensitive Drilling Machine) เปนเครื่องเจาะขนาดเล็กเจาะรูขนาดไมเกิน 13 มม. จะมีความเร็วรอบสูง ใชเจาะงานที่ มีขนาดรูเล็ก ๆ ทั่ว ๆ ไป การสงกําลังโดยทั่วไปจะใชสายพานและปรับความเร็วรอบดวยลอสายพาน 2-3 ขั้น
ภาพที่ 3.1 เครื่องเจาะตั้งโตะ
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 2/34
• เครื่องเจาะตั้งพื้น (Plan Vertical Spindle Drilling Machine) เปนเครื่องเจาะขนาดใหญและเจาะรูบนชิน้ งานที่มีขนาดใหญ เจาะรูไดตั้งแตขนาดเล็ก จนถึงขนาดใหญสุดเทาที่ดอกสวานมี และใชงานอื่น ๆ ไดอยางกวางขวางการสงกําลังปกติจะใชชุดเฟองทด จึง สามารถปรับความเร็วรอบไดหลายระดับ และรับแรงบิดไดสูง
ภาพที่ 3.2 เครื่องเจาะตั้งพืน้ • เครื่องเจาะรัศมี (Radial Drilling Machine) เปนเครื่องเจาะขนาดใหญและเจาะรูบนชิน้ งานที่มีขนาดใหญกวาเครือ่ งเจาะตั้งพืน้ โดย ที่หัวจับดอกสวานจะเลื่อนไป-มาบนแขนเจาะ (Arm) จึงสามารถเจาะงานไดทุกตําแหนง โดยติดตั้งงานอยูกับ ที่ การสงกําลังปกติจะใชชุดเฟองทด
ภาพที่ 3.3 เครื่องเจาะรัศมี
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 3/34
• เครื่องเจาะหลายหัว (Multiple-spindle or Gang-type Drilling Machine) เปนเครื่องเจาะที่ออกแบบมาสําหรับการทํางานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ เครื่องเจาะจะมี หลายหัวจับ ดังนั้นจึงสามารถจับดอกสวานไดหลายขนาด หรือจับเครือ่ งมือตัดอื่น ๆ เชน รีมเมอร หรือหัวจับ ทําเกลียวใน จึงทํางานไดอยางรวดเร็ว
ภาพที่ 3.4 เครื่องเจาะหลายหัว • เครื่องเจาะแนวนอน (Horizontal Drilling Machine) เปนเครื่องเจาะที่ออกแบบมาเพื่อใหสามารถทํางานไดหลายลักษณะ ทั้งการเจาะรู การ ควานรู การกัดและการกลึง มักจะพบในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ
ภาพที่ 3.5 เครื่องเจาะแนวนอน
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 4/34
สวนประกอบที่สําคัญและหนาที่การใชงานของเครื่องเจาะ สวนประกอบตาง ๆ ของเครือ่ งเจาะตั้งโตะ 1. ฐานเครื่อง (Base) ทําดวยเหล็กหลอ เปนสวนที่รองรับน้ําหนักทั้งหมดของเครื่องจะยึดติด แนนบนโตะปองกันการสั่นสะเทือนในขณะปฏิบัติงาน ชุดหัวเครื่อง (Drilling Head)
โตะงาน (Table)
เสาเครื่องเจาะ (Column)
ฐานเครื่อง (Base)
ภาพที่ 3.6 สวนประกอบตาง ๆ ของเครื่องเจาะตั้งโตะ 2. เสาเครื่องเจาะ (Column) จะเปนเหล็กรูปทรงกระบอกกลวง เปนสวนที่ยดึ ติดกับฐานเครื่อง เพื่อรองรับชุดหัวเครื่องและรองรับโตะงาน 3. โตะงาน (Table) สวนใหญทําดวยเหล็กทอ เปนสวนที่รองรับชิ้นงานที่จะนํามาเจาะหรืออาจ รองรับอุปกรณจับยึดสําหรับจับยึดชิน้ งาน เชน ปากกาจับงาน เปนตน สามารถเลื่อนขึ้นลง ไดบนเสาเครือ่ งดวยการหมุนแขนสงกําลังดวยชุดเฟองสะพาน เมื่อไดตําแหนงที่ตอ งการก็ สามารถยึดใหแนนกับเสาเครื่องได 4. ชุดหัวเครื่อง (Drilling Head) จะอยูบนสุดของเครื่องเจาะ ประกอบดวยสวนตาง ๆ ที่สําคัญ ดังนี้ - มอเตอรสงกําลัง (Motor) - สายพานและลอสายพานสงกําลัง (Belt & Pulley) - ฝาครอบ (Pulley Guard) มีไวครอบสายพานเพื่อปองกันอันตราย - หัวจับดอกสวาน (Drill Chuck) ใชจับดอกสวานกานตรง สวนใหญ มีขนาดไมเกิน ½ นิ้ว หรือประมาณ 12.7 มม. - แขนหมุนปอนเจาะ (Hand Feed Level) - สวิตซปดเปด (Switch)
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 5/34
สวนประกอบที่สําคัญของเครื่องเจาะตั้งพืน้ สวานตั้งพื้นจะมีสว นประกอบที่สําคัญเหมือน เครื่องเจาะแบบตั้งโตะ จะตางกันตรงขนาดและความสามารถในการเจาะรูและระบบสงกําลัง ซึ่ง มีสวนประกอบตาง ๆ ดังนี้ 1. ฐานเครื่อง (Base) ทําดวยเหล็กหลอ เปนสวนที่รองรับน้ําหนักทั้งหมดของเครื่อง จะวางอยูบนพืน้ โรงงาน 2. เสาเครื่องเจาะ (Column) จะเปนเหล็กรูปทรงกระบอกกลวง เปนสวนที่ยดึ ติดกับ ฐานเครื่อง เปนสวนที่รองรับชุดหัวเครื่องและรองรับโตะงาน ชุดหัวเครื่อง (Drilling Head) โตะงาน (Table)
เสาเครื่องเจาะ (Column)
ฐานเครื่อง (Base) ภาพที่ 3.7 สวนประกอบทีส่ ําคัญของเครื่องเจาะตั้งพืน้
3. โตะงาน (Table) สวนใหญทําดวยเหล็ก มีทั้งที่เปนรูปวงกลมหรือเปนรูปสี่เหลี่ยม เปนสวนที่รองรับชิ้นงานที่ตอ งการเจาะ หรืออาจจะรองรับอุปกรณจับยึดชิ้นงาน เชน ปากกาจับงาน 4. ชุดหัวเครื่อง จะอยูบนสุดของเครื่องเจาะ ประกอบดวยสวนตาง ๆ ที่สําคัญดังนี้ - มอเตอรสงกําลัง - ระบบสงกําลัง จะมีการสงกําลังดวยสายพานและฟนเฟอง การสง กําลังดวยฟนเฟองจะมีคันโยกบังคับเปลี่ยนความเร็วรอบ
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน
ใบเนื้อหา 6/34
หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
- ฝาครอบ เพื่อปองกันอันตราย - แกนเพลา (Spindle) ภายในเปนรูเรียวสําหรับจับยึดกานเรียวของหัว จับดอกสวาน หรือจับกานเรียวของดอกสวานที่มีขนาดมากกวา 12.7 มม. ขึ้นไป - แขนหมุนปอนเจาะ จะมีทงั้ แบบปอนเจาะดวยมือและการปอนเจาะ อัตโนมัติ - แกนตั้งระยะปอนเจาะ ใชสําหรับตั้งความลึกเพื่อเจาะงานสวิตซเปดปด สวนประกอบที่สําคัญของเครื่องเจาะแบบรัศมี
เสาเครื่องเจาะ (Column)
ชุดหัวเครื่อง (Drilling Head) แขนรัศมี (Radial Arm) แกนเพลา (Spindle)
ฐานเครื่อง (Base)
โตะงาน (Table) ภาพที่ 3.8 สวนประกอบทีส่ ําคัญของเครื่องเจาะแบบรัศมี 1. ฐานเครื่อง (Base) เปนสวนที่ติดตั้งอยูก ับพื้นโรงงาน ทําดวยเหล็กหลอ เปนสวน ที่รองรับน้ําหนักทั้งหมดของเครื่อง 2. เสาเครื่อง (Column) มีลักษณะเปนเสากลมใหญกวาเสาเครื่องเจาะธรรมดา จะยึด ติดอยูกับฐานเครื่อง จะเปนที่เคลื่อนขึ้นลงและจับยึดของแขนรัศมี 3. แขนรัศมี (Radial Arm) สามารถเลื่อนขึ้นลงไดบนเสาเครื่อง และสามารถ หมุนรอบเสาเครื่องไดเพื่อหาตําแหนงเจาะงาน เปนสวนที่รองรับชุดหัวเครื่อง
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 7/34
4. ชุดหัวเครื่อง (Drilling Head) อยูบนรัศมี สามารถเลื่อนเขาออกไดตามความยาว ของแขนรัศมี เพื่อหาตําแหนงเจาะรู 5. แกนเพลา (Spindle) เปนรูปทรงกระบอก ภายในเปนรูเรียวสําหรับจับยึดกานเรียว ของหัวจับดอกสวาน หรือจับกานเรียวของดอกสวานทีม่ ีขนาดใหญ 6. โตะงาน (Table) เปนอุปกรณที่ยดึ ติดอยูบนฐานเครื่อง จะมีรองตัว-ที เพื่อใชจบั ยึดชิ้นงานโดยตรง หรือใชสําหรับจับยึดปากกาจับงาน หรืออุปกรณอื่น ๆ 7. มอเตอร (Motor) เปนตนกําลังที่สงกําลังไปหมุนแกนเพลาเพื่อหมุนดอกสวานเจาะ งานหรือสงกําลังเพื่อขับเคลื่อนสวนตาง ๆ อัตโนมัติ เนือ่ งจากชิ้นสวนแตละสวนมี ขนาดใหญ เครื่องมือ อุปกรณที่ใชในการเจาะ ดอกสวาน (Drills) • รูปรางลักษณะ และชื่อเรียก
ภาพที่ 3.9 แสดงการเรียกชือ่ สวนตาง ๆ ของสวาน สวานลักษณะนี้จะมีคมอยู 2 คม มีรองคายเศษอยู 2 รอง คมตัดจะขึ้นเปนขอบเสน มีแนวหลบ หลังคมไปตามลําตัว คมจะเกิดขึ้นรอบ ๆ ลําตัวสวานเปนแนวเอียงมุมเหมือนกับเกลียวฟนไปรอบ ๆ ลําตัว ดู ตามภาพที่ 3.9
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 8/34
• กานจับและรองคายเศษโลหะ
สวานกานตรง
สวานกานตรงแบบมีกั่น
สวานกานจับเรียว
สวานกานจับสี่เหลี่ยม
ภาพที่ 3.10 แสดงถึงลักษณะของกนจับสวานที่มีใชงานกันอยู โดยทั่ว ๆ ไปจะใชงานกันอยู 2 ประเภท คือ แบบกานจับตรงและกานจับเรียว ภาพ (ก) และ (ค) เทานั้นสวนอีก 2 แบบสําหรับใชงานเฉพาะอยาง กานจับของดอกสวานนีจ้ ะทําหนาที่จับยึดเขากับอุปกรณการจับของเครื่องเจาะ เชน พวกหัวจับ (Drill Chuck) สําหรับสวานกานตรง และปลอกจับเรียว (Taper Sleeve) สําหรับสวานกานเรียว • คมตัดของสวาน ชนิดคมตัดของสวาน เกิดขึ้นจากการกัดรองคายเศษเจาะ คมตัดนีจ้ ะมี 2 ชวง คือ ดานหนาของ สวาน และคมตัดรอบ ๆ ลําตัวในลักษณะของเกลียวหรือเปนคมตัดตรง ซึ่งคมตัดของสวานนี้จะแบงชนิดของ คมออกไดเปน 2 ชนิด คือ คมตัดตรงและคมตัดเลื้อย กรณีของคมตัดเลื้อยสวนใหญทั่ว ๆ ไปของการใชงาน จะมีคมรอบลําตัวอยู 2 คม หมายถึง มีรองคายเศษอยู 2 รองนั่นเอง จะมีสวานกรณีพิเศษที่มีรองคายเศษ 3 รองหรือ 4 รองขึ้นไป สําหรับเจาะงานเฉพาะซึ่งจะใหคุณสมบัติที่ดี คือ ยิ่งคมตัดมากความเที่ยงตรงในการเจาะ จะสูง และผิวรูเจาะจะเรียบ แตก็มีขอเสียคือ ความแข็งแรงของคมตัดดานหนาจะนอยลง
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 9/34
ภาพที่ 3.11 แสดงถึงคมตัดสวานชนิด 2 คม 2 รองคายเศษ
ภาพที่ 3.12 แสดงถึงคมตัดสวานชนิด 3 คม 3 รองคายเศษ สวนระหวางลําตัวสวาน (BODY) กับกานจับสวาน (SHANK) ของสวาน บางบริษัทจะตกรอง ไว ดูตามภาพที่ 3.11 เรียกสวนนีว้ า คอสวาน (NECK) • เสนแกนสวาน (WEB)
ภาพที่ 3.13 แสดงถึงเสนแกน (WEB) ของสวน
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 10/34
เสนแกน (WEB) ของสวานนั้นเกิดจากการกัดรองคายเศษเจาะ และการขึ้นคมตัดของสวาน รอง คายเศษจะเปนตัวทําใหเกิดเสนแกน (WEB) ขึ้น มีลักษณะเปนแนวเรียว ดานคมตัดจะมีความหนานอยกวา ดานโคนของสวน ดูตามภาพที่ 3.12 ที่แสดงไวดว ยสีดาํ มองเห็นไดชดั เจน เสนแกนนี้จะเปนรองบิดไปรอง ๆ ลําตัวสวาน และความหนาของเสนแกนจะคอย ๆ เรียวเล็กลงไปจากโคนหาปลายคมตัด ดูตามภาพ (ก) และ (ข) 3.1.1.1.1 มุมคมตัดดอกสวาน การลับดอกสวาน ดอกสวานมีความจําเปนมากในงานชาง ดั้งนั้นชางทุกคนควรจะตองลับดอก สวานเปน เพือ่ ที่จะไดลับดอกสวานไดเมือ่ ดอกสวานไมคม มุมจิกหรือมุมรวมปลายดอกสวานที่ ใชงานทั่วๆไปจะมีมุมรวม 118 องศา
ภาพที่ 3.14 มุมตาง ๆ ของดอกสวาน ตามภาพมุมคมตัดของดอกสวานโดยทัว่ ๆ ไปจะประกอบดวยมุมทีเ่ กีย่ วของกับการตัดเฉือน เพื่อ จะใหผลดีตอการตัดเฉือน คมตัดทําการตัดเฉือนไดดีจะตองมี (1) มุมคมตัด(Cutting Angle) (2) มุมหลบ(Lip Clearance Angle) (3) มุมคายเศษ (Rake Angle) (4) มุมจิก (Point Angle) แตละมุมจะมีความสําคัญตอการ ทํางาน และมีความเกีย่ วของซึ่งกันและกัน (1) มุมคมตัด(Cutting Angle) จะมีลักษณะเหมือนกับลิ่ม ทําหนาที่ตัดเฉือนเนื้อโลหะ (2) มุมหลบ(Lip Clearance Angle) ทําหนาทีล่ ดการเสียดสี และลดแรงตานบริเวณผิวหนาของ มุมจิกของดอกสวาน ถาไมมีมุมคายเศษ ดอกสวานจะไมสามารถตัดเฉือนผิวงานได (3) มุมคายเศษ (Rake Angle) ทําหนาที่ใหเศษตัดเฉือนเคลื่อนที่คายออกจากผิวงานที่ถูกตัด (4) มุมจิก (Point Angle) ในการตัดโลหะทั่วไปจะใชมุมคมตัดนี้โต118 องศา สําหรับโลหะตัด เฉือนชิ้นงานซึง่ สวานสวนใหญทํามาจากเหล็กรอบสูง(High Speed Steel,HSS) มุมจิกมีผลตอ แรงกดเจาะ ถามุมจิกโตมากแรงตานเจาะก็มากขึ้นตามลําดับ แตมุมจิกก็ชวยในการนําศูนยใน การเจาะงานในขณะเริ่มเจาะดวย ขนาดของมุมจิกนี้จะขึ้นกับวัสดุงานที่นํามาเจาะ
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 11/34
• หัวจับดอกสวาน
ภาพที่ 3.15 หัวจับดอกสวาน
ภาพที่ 3.16 ประแจขัน หัวจับดอกสวาน
ภาพที่ 3.17 แสดงการจับดอกสวานขนดเล็กดวยหัวจับ (DRILL CHUCK) ตามภาพที่ 3.17 แสดงการทํางานของหัวจับดอกสวานแบบใชประแจขันแนน โดยการประกอบ ดอกสวานเขากับหัวจับ แลวใชประแจเลือ่ นเขาไปในรูหัวจับ โดยฟนของหัวจับจะสับเขากับรองฟนเฟองทีห่ วั จับ ถาหมุนตามเข็มนาฬิกาจะเปนการจับยึดสวานแนน ถาหมุนทวนเข็มนาฬิกาจะเปนการคลายดอกสวานออก
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 12/34
ลักษณะของประแจขันหัวจับดอกสวานจะเปนลักษณะของฟนเฟองดอกจอก (BEVEL GEAR) ดังในภาพที่มกี านจับขันและแกนสําหรับเสียบเขากับหัวจับดอกสวาน ตัวกานจับจะมีแขนหมุน สําหรับใหมือ จับหมุนบิดไป-มา 3.1.1.2 ปลอกจับสวานกานเรียว (Sleeve)
ภาพที่ 3.18 ปลอกจับสวานกานเรียว (SLEEVE) และขนาดตาง ๆ ดอกสวานที่มขี นาดใหญ ๆ การจับดวยหัวจับ (DRILL CHUCK) แบบตาง ๆ ทําไดลําบาก ใน การแกปญหาใหทํางานไดสะดวกและยังคงประสิทธิภาพเทาเดิม โดยการออกแบบกานสวานใหมีลกั ษณะเปน กานเรียวใชประกอบเขากับเพลาเจาะของเครื่องเจาะขนาดเล็ก หรือใชประกอบเขากับปลอกจับดอกสวาน (SLEEVE) แลวจึงประกอบเขากับเพลาเครื่องเจาะ ปลอกจับนี้มหี ลายขนาด สําหรับกานดอกสวานที่มีขนาด ตางกัน เมื่อใชงานสามารถนํามาประกอบรวมกันได ดูตามภาพที่ 3.18
ภาพที่ 3.19 แสดงการถอดหัวจับดอกสวานออก
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 13/34
กรรมวิธีการถอดหัวจับออกจะเหมือนกันหมดไมวาจะเปนหัวจับชนิดใดก็ตาม รวมทั้งการถอด สวานกานเรียวอีกดวย โดยการใชเหล็กถอด (DRILL DRIFT OR TAPER DRIFT) ดูภาพที่ 3.19 มือหนึ่งจะ ประคองหัวจับไว อีกมือหนึ่งถือคอนเคาะเหล็กถอดออก การเคาะจะตองเคาะเบา ๆ ไมเขาในลักษณะของการตี เหล็กถอดจะเสียบเขาไปในรูเพลาโดยเอาดานตรงไวดานบาน เมื่อเคาะดานเรียวจะดันหัวจับออก • ดอกเจาะนําศูนย ดอกเจาะนําศูนย (Center Drill) เปนดอกเจาะที่ใชสําหรับการเจาะรูเรียวในชวงเริ่มตนของการ ทํางาน เพื่อจะนําไปใชงานตอหรือเจาะตอ ซึ่งเรียกการเจาะนี้วาเจาะนํา ลักษณะของรูเจาะจะมีรูปรางตาม รูปแบบของคมดอกเจาะ ดอกเจาะนําศูนยมีหลายขนาดใหเลือกใชงาน และขึ้นอยูก ับผูผลิตจะผลิตออกมาใช งาน ซึ่งในบางครั้งที่ขาดแคลนสามารถจะนําเอาดอกสวานหัก หรือดอกสวานเกาที่เลิกใชงานแลว มาลับแตง ใหไดมุมกรวยแหลมตามตองการ และมีมมุ คายเศษดวย ใชเจาะแทนดอกเจาะนําศูนยได ความเร็วรอบที่ใชกับดอกเจาะจะขึน้ ที่ใชกบั ดอกเจาะจะขึ้นอยูกับขนาดของดอกเจาะนําศูนยเอง โดยใชคาความเร็วในการหมุนตัดเชนเดียวกับดอกสวาน
ภาพที่ 3.20 ลักษณะและสวนประกอบดอกนําศูนย
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 14/34
• เหล็กตอกนําศูนย - กอนจะทําการเจาะจะตองกําหนดตําแหนงรูโดยใชเหล็กขีดหมายตําแหนงไวกอน - ใชเหล็กนําศูนยตอกนํารูตรงตําแหนงเจาะ แลวจึงจับยึดชิน้ งานบนแทนวางชิ้นงาน
ภาพที่ 3.21 เหล็กตอกนําศูนย
ภาพที่ 322 ขีดหมายและตอกรูนําศูนย
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 15/34
• อุปกรณจับยึด อุปกรณจับยึด ใชจับยึดชิ้นงานใหแนนกอนเจาะซึ่งมีหลายชนิดดังตอไปนี้ ปากกาจับงานเจาะ (VISE) ใชสําหรับจับงานเจาะรูปทรงตาง ๆ ดังภาพที่ 3.23
ภาพที่ 3.23 ปากกาจับงานเจาะ อุปกรณชวยจับยึด ใชจับชิน้ งานในกรณีที่ปากกาจับงานไมสามารถจับได ซึ่งมีหลายอยาง ดังภาพที่ 3.24-3.33
ภาพที่ 3.24 แทงขนาน (PARALLELS)
ภาพที่ 3.26 แคล็มปแบบแบน (PLAIN OR FLAT)
ภาพที่ 3.25 ซี-แคล็มป (C-CLAMP)
ภาพที่ 3.27 ยู-แคล็มป (U-CLAMP)
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 16/34
ภาพที่ 3.28 แคล็มปแบบคอหาน (GOOSENECK CLAMP) ภาพที่ 3.29 เหล็กมุมฉากรองขีด (ANGLE PLATE)
ภาพที่ 3.30 สกรูยึดแบบตัวที (T-SLOT)
ภาพที่ 3.32 แจคสกรู (JACK SCREW)
ภาพที่ 3.31 เหล็กขั้นบันได (STEP BLOCK)
ภาพที่ 3.33 ชุด วี-บล็อก (V-BLOCKS)
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 17/34
ขั้นตอนการทํางานของเครื่องเจาะ 1. ศึกษาวิธกี ารใชเครื่องเจาะใหเขาใจ ถาไมเขาใจจะตองปรึกษาอาจารยผูควบคุม พรอมทั้งศึกษา เกี่ยวกับความปลอดภัยในการใชเครื่องเจาะดวย 2. นําชิ้นงานมารางแบบใหไดแบบที่ถูกตอง พรอมทั้งใชเหล็กตอกรางแบบและใชเหล็กนําศูนย ตอกนําศูนย 3. นําชิ้นงานมาจับยึดบนเครื่องเจาะใหแนน อาจจะจับยึดบนโตะงาน หรือจับยึดดวยอุปกรณจับ ยึดงาน เชน ปากกา C-Clamp เปนตน ขึ้นอยูกับลักษณะงาน 4. นําดอกสวานที่ตองการเจาะจับยึดบนเครื่องเจาะ กรณีตองการเจาะรูที่มีขนาดใหญควรมีการ เจาะไลขนาดจากเล็กไปหาขนาดใหญ 5. ปรับระยะหางระหวางชิน้ งานกับปลายดอกสวานใหเหมาะสมพรอมปรับตําแหนงที่จะเจาะให ตรงตําแหนง 6. ปรับความเร็วรอบใหถูกตอง ซึ่งหาไดจากการคํานวณ หรือจากตารางสําเร็จ 7. ทําการปอนเจาะงานตามความลึกที่ตองการเจาะ ถาเครื่องเจาะมีแขนตั้งระยะความลึกที่ตองการ เจาะ หรือสามารถปอนอัตโนมัติไดก็ทําการตั้ง เพื่อความสะดวกในการเจาะ ในการเจาะที่ตองการ ตําแหนงทีแ่ นนอนควรเจาะดวยดอกเจาะนําศูนยกอน จะไดตําแหนงของรูที่แมนยํากวา การคํานวณความเร็วในงานเจาะ จะมีความเร็วที่สําคัญ 2 ชนิด คือ ความเร็วรอบและความเร็วตัด • การคํานวณความเร็วตัด มีสตู รการคํานวณดังนี้ V =
เมื่อกําหนด V N d
πdn 1000
= = =
เมตร/นาที ความเร็วตัดงานเจาะ เมตร/นาที ความเร็วรอบดอกสวาน รอบ/นาที ความยาวเสนผาศูนยกลางดอกสวาน มม.
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 18/34
ตัวอยางที่ 3.1 จงคํานวณหาคาความเร็วตัดที่เจาะงานดวยดอกสวานมีความยาวเสนผาศูนยกลาง 10 มม. ดวยความเร็วรอบ 800 รอบ/นาที วิธีทํา V =
π dn
เมตร/นาที
1,000 3.1416 x 10 x 800 = 1,000
ความเร็วตัดทีใ่ ชเจาะงาน
= 25.13 เมตร / นาที
• การคํานวณความเร็วรอบ ในกรณีตองการหาความเร็วรอบก็ยายสมการจากสูตรขางตนก็ จะไดสูตรการคํานวณดังนี้ สูตรการคํานวณหาความเร็วรอบ n =
1,000 V πd
รอบ / นาที
ตัวอยางที่ 3.2 จงคํานวณหาคาความเร็วรอบในการเจาะเหล็กใชทําเครือ่ งมือ (Tool Steel) ดวยดอก สวานขนาดความยาวเสนผาศูนยกลาง 15 มม. ดวยความเร็วตัด 18 เมตร / นาที วิธีทํา 1,000ฺ V n= รอบ/นาที πd 1,000 x 18 = 3.1416 x 15 ความเร็วรอบที่ใชเจาะงาน = 382 รอบ / นาที การเลือกความเร็วรอบจากตาราง จากตัวอยางที่ 3.2 จงเลือกใชคาความเร็วรอบจากตารางที่ 3.1 วิธีเลือกมีขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกขนาดความยาวเสนผาศูนยกลางดอกสวานที่ใชเจาะ ในที่นี้คือ 15 มม. 2. ดูใหตรงกับวัสดุงานที่เจาะ ในตัวอยางคือ Tool Steel คาความเร็วตัด = 18 เมตร/นาที 3. ผลลัพธที่ได คือ 380 รอบ/นาที
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร ตารางที่ 3.1 ความเร็วตัดงานสําหรับดอกสวานเหล็กรอบสูง Steel Casting Tool Steel Cast Iron Machine Steel ขนาดดอกสวาน ความเร็วตัด (เมตร/นาที) นิ้ว มม. 12 18 24 30 1/16 2 1,910 2,865 3,820 4,775 1/8 3 1,275 1,910 2,545 3,185 3/16 4 955 1,430 1,910 2,385 1/4 5 765 1,145 1,530 1,910 5/16 6 635 955 1,275 1,590 3/8 7 545 820 1,090 1,365 7/16 8 475 715 955 1,195 1/2 9 425 635 850 1,060 5/8 10 350 520 695 870 3/4 15 255 380 510 635 7/8 20 190 285 380 475 1 25 150 230 305 380
ใบเนื้อหา 19/34
Brass and Aluminum 60 9,550 6,365 4,775 3,820 3,180 2,730 2,390 2,120 1,735 1,275 955 765
• การคํานวณความสัมพันธการเจาะรูดว ยดอกสวาน (Processing Time for Drilling) I = ความลึกของรู (Drilling Depth, Hoole Depth) = ความลึกกนรู (Initial Out, Drill Tip Height) Ia L = ระยะเจาะรวม (Total Drilling Distance) n = ความเร็วดอกสวาน (r.p.m. of the Twist Drill) s = ระยะปอน มม. (Feed) s’ = ความเร็วปอน มม./นาที (Feed Speed) I = จํานวนรูเจาะ (No. of Operations) th = ชวงเวลาเจาะนาที (Processing Time)
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 20/34
1. การหาความเร็วปอน s’ ระยะปอนตอ 1 รอบ = s (มม.) ระยะปอนตอ ก รอบ = s x n (มม./นาที) ไดสูตร z x n = ความเร็วปอน (s’) ภาพที่ 3.34 การหาความเร็วปอน s’ 2. การหาคา th
ภาพที่ 3.35 การหาคา th
3. การหาคา la
ภาพที่ 3.36การาคาla 4. สรุป
จากขนาดความเร็วปอนจะได ระยะปอน ความเร็วป อน = ชวงเวลาเจ าะ หรือ ระยะปอน ชวงเวลาเจาะ = ความเร็วปอน L L th = = s′ sxn ถาจํานวนเจาะเปน i Lxi th = sxn จากรูปขวามือ มุมจิก = 1180 ขนาดดอกสวาน d = 60 มม. จะไดความยาวปลายดอกสวาน Ia = 20 มม. ไดสูตร Ia = d/3 ขึ้นอยูกับเสนผานศูนยกลางและมุมจิก (Point Angle) ดังนั้น ระยะเจาะรวม = ความลึกของรู + ความลึกกนรู L = I + 0.3 x d สําหรับการคํานวณคาการเจาะจะได L x i มม. x นาที th = s x n มม. x 1
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 21/34
ตัวอยาง จงหาชวงเวลาเจาะรูขนาด 18 มม. ชิ้นงานเหล็กหนา 45 มม. ดวยระยะปอน 0.3 มม. ความเร็ว 530 รอบ/นาที กําหนดให d = 18 มม. พิจารณาจาก i = 45 มม. เวลา = ระยะปอน/ความเร็วปอน i = 3 s = 0.3 มม. n = 530 รอบ/นาที จากสมการ Lxi 50.4 มม. x 3 = = 0.95 นาที th = sxn 0.3 มม. x 530 รอบ/นาที L = I + 0.3 x d L = 45 มม. + 0.3 x 18 มม. = 50.4 มม. การปอนเจาะงานของดอกสวาน อัตราปอนเจาะงาน หมายถึง การปอนลึกลงไปในงานตอการหมุนของดอกสวาน 1 รอบ เชน อัตราปอนเจาะ 0.2 มม./รอบ หมายถึง เมื่อดอกสวานหมุนไปครบ 1 รอบ จะสามารถปอนกินลึกลงไปใน งาน 0.2 มม. ในการปอนอัตโนมัติถาเครื่องเจาะไมสามารถปอนอัตโนมัติไดกต็ องปอนการกินลึกดวยมือจะตอง อาศัยประสบการณและความรูสึก ถาเครื่องสามารถปอนอัตโนมัติก็จะมีตารางสําหรับใหเลือกในการปอนความ ลึกเจาะงาน ตารางที่ 3.2 ตารางอัตราปอนเจาะของดอกสวาน ขนาดดอกสวาน อัตราปอนตอรอบ นิ้ว มม. นิ้ว มม. เล็กกวาถึง 1/8 เล็กกวาถึง 3 0.001-0.002 0.02-0.05 1/8-1/4 3-6 0.002-0.004 0.05-0.10 1/4-1/2 6-13 0.004-0.007 0.10-0.18 1/2-1 13-25 0.007-0.015 0.18-0.38 1-1/2 25-38 0.015-0.025 0.35-0.63
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 22/34
• ความปลอดภัยในการใชเครือ่ งเจาะ 1. กอนใชเครือ่ งเจาะทุกครั้งจะตองตรวจดูความพรอมของเครื่องกอนใชเสมอ ถาเครื่องชํารุดอาจ เปนอันตรายตอผูปฏิบัติงานได 2. การจับยึดชิน้ งานจะตองจับยึดใหแนนและจะตองจับใหถูกวิธี 3. ศึกษาขั้นตอนและวิธีการใชเครื่องเจาะ และวิธีการทํางานใหถูกตอง 4. จะตองแตงกายใหรัดกุมถูกตองตามกฎความปลอดภัย 5. จะตองสวมแวนตานิรภัยปองกันเศษโลหะกระเด็นเขาตา
ภาพที่ 3.37 แสดงการจับยึดชิ้นงานไมแนนเพียงพอ ซึ่งกอใหเกิดอันตรายสําหรับผูปฏิบัติงานได
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 23/34
ภาพที่ 3.38 แสดงการจับดอกสวานที่ไมแนนเพียงพอ ภาพที่ 3.39 แสดงการทําความสะอาดเศษเจาะที่ไมถกู ตอง
ภาพที่ 3.40 แสดงการแตงกายไมเหมาะสมสําหรับงานเจาะ
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 24/34
• การบํารุงรักษาเครื่องเจาะ ไมวาจะเปนเครื่องเจาะชนิดใด ในการบํารุงรักษาก็จะใชหลักการเดียวกัน จะตางกันก็ตรงจุด บํารุงรักษาจะมากนอยแตกตางกันไป ซึ่งวิธีการบํารุงรักษามีดังนี้ คือ 1. จะตองตรวจสอบระบบไฟฟาใหอยูในสภาพที่สมบูรณตลอดเวลา เมื่ออุปกรณไฟฟาเกิดชํารุด เสียหายจะตองซอมแซมหรือเปลี่ยนใหใชไดดี 2. จะตองตรวจสอบชิ้นสวนตาง ๆ ของเครื่องใหพรอมใชงานตลอดเวลา 3. กอนใชงานจะตองหยดน้ํามันหลอลื่นในสวนทีเ่ คลื่อนที่ 4. ควรมีแผนการบํารุงรักษาเปนระยะตามระยะเวลาทีก่ ําหนด เปนการบํารุงรักษาเชิงปองกัน 5. หลังจากเลิกใชงานจะตองทําความสะอาดและชโลมดวยน้ํามัน
งานรีมเมอร งานรีมเมอร (Reamers) หรืองานควานเรียบ เพื่อปาดผิดของรูเจาะ รูควาน หรือผิวรูฝงใหเรียบรอย และสม่ําเสมอเทากัน งานบางอยางผิวของงานจากการเจาะยังไมเรียบพอหรืออาจจะมีขนาดเสนผาศูนยกลางจาก การเจาะไมไดพิกัดตามตองการ จําเปนจะตองทําการควานละเอียดอีกครั้งหนึ่ง ชนิดของรีมเมอร • รีมเมอรมือ (Hand reamers) ปลายดามของรีมเมอรจะมีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมเพือ่ ใช สําหรับมือหมุน แบงออกไดเปน 3 ชนิดดวยกันคือ แบบขนาดตายตัว แบบขนาดปรับ ไดและแบบเรียว
ภาพที่ 3.41 แสดงการใชรีมเมอรมือปาดผิวรูเจาะ
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 25/34
• รีมเมอรเครื่อง (Machine remers) ปลายดามของรีมเมอรชนิดนี้มี 2 แบบ คือแบบดาม ตรง ซึ่งใชกับหัวจับของดอกสวานและแบดามเรียวที่ใชจับกับเพลาของเครื่องรีมเมอร เครื่องแบงออกเปน 2 ชนิด คือ แบบตายตัว และแบบปรับขนาดได
ภาพที่ 3.42 แสดงการใชรีมเมอรเครื่องปาดผิวรูเจาะ
ภาพที่ 3.43 รีมเมอรแบบเรียว
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ภาพที่ 3.44 รีมเมอรแบบปรับขนาดได สวนประกอบของรีมเมอร รีมเมอรประกอบดวยสวนสําคัญ 3 สวนใหญ ๆ ดังภาพที่ 3.45
ภาพที่ 3.45 แสดงสวนประกอบของรีมเมอร จากภาพที่ 3.45 สวนประกอบของรีมเมอรมีดังนี้ 1. ดามของรีมเมอร เปนสวนที่รับกําลังจากมือหมุนหรือเครื่อง 2. คมของรีมเมอร มีหนาที่ปาดผิวรูเจาะใหเรียบและไดขนาดที่ถูกตอง 3. คมนําตัด มีหนาที่นําคมของรีมเมอรเขาปาดผิวรูไดตรงศูนย
ใบเนื้อหา 26/34
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 27/34
หลักการทํางานรีมเมอร • การเจาะรูสําหรับรีมเมอร ในการปฏิบัติงานรีมเมอรจะตองเจาะรูดว ยดอกสวานกอนและ ใหไดขนาดของรูเจาะเล็กกวาขนาดของรีมเมอร ซึ่งหาไดจากสูตร dB = df - z เมื่อ
dB Df Z
= = =
ขนาดรูเจาะ ขนาดรีมเมอร ระยะเผื่อ (ระยะเผื่อจากตาราง + สวนเกิน)
หมายเหตุ ดอกเจาะขนาดหนึ่ง ๆ เมื่อเจาะรูเสร็จ ขนาดของรูเจาะโดยปกติแลวจะโตกวาขนาด ของดอกเจาะประมาณ 0.05 มม. ซึ่งเปนสวนเกินขนาดของรีมเมอร สําหรับระยะเผื่อดูไดจากตารางที่ 3.3 ตารางที่ 3.3 แสดงระยะเผือ่ ของรีมเมอรแตละขนาด ขนาดรีมเมอร (df) φ เล็กกวา 5 มม. φ 5-20 มม. φ 21-20 มม. φ โตกวา 50 มม.
ระยะเผื่อ (z) 0.1 - 0.2 มม. 0.2 - 0.3 มม. 0.3 - 0.5 มม. 0.5 - 1 มม.
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 28/34
ตัวอยางที่ 3 จะตองเจาะรูดว ยดอกเจาะขนาดโต บนชิน้ งานชิ้นหนึ่ง ซึ่งเมื่อรีมเมอรเสร็จแลวจะมีขนาดสําเร็จ φ 20 มม. ขนาดของดอกเจาะทีต่ องใช ขนาดของดอกเจาะทีต่ องใช
= = =
ขนาดสําเร็จ - ระยะเผื่อ 20 – (0.3 + 0.05) 19.65 มม.
• ความเร็วรอบสําหรับงานรีมเมอร ความเร็วรอบสําหรับงานรีมเมอร ปกติจะชากวา ความเร็วทีใ่ ชเจาะรูประมาณ 1 ใน 3 ของความเร็วเจาะ สําหรับความเร็วตัดที่เลือกใช จะตองขึ้นอยูกบั หลายองคประกอบ ดังแสดงไวในตารางที่ 3.4 ตารางที่ 3.4 แสดงคาความเร็วตัดสําหรับวัสดุรีมเมอรและวัสดุงาน วัสดุงาน เหล็กกลา บรอนซ เหล็กหลอ อลูมิเนียม อะลูมิเนียมเจือ แมกนีเซียมเจือ
ความเร็วตัด (V) สําหรับวัสดุรีมเมอร เหล็กเครื่องมือ เหล็กรอบสูง 3-4 4-5 12-17 17-20 6-9 9-12 20 30
• การหลอลื่นและหลอเย็น ในขณะรีมเมอรจะเกิดเศษโลหะ ดังนั้นควรใชการหลอลื่น และหลอเย็นชวยไมใชเศษโลหะอุดตัน และชวยลดแรงเสียดทานระหวางผิวรูเจาะกับคม ของรีมเมอร ทําใหผิวเรียบมากขึ้นในตารางที่ 3.5 แสดงชนิดของสารหลอเย็นทีใ่ ชใน งานรีมเมอร ตารางที่ 3.5 แสดงชนิดของสารหลอเย็นที่ใชในงานรีมเมอร วัสดุงาน เหล็กกลา เหล็กหลอ อะลูมิเนียม
การหลอเย็น ใชน้ํามันสบู หรือน้ํามันตัด แหง ใชน้ําสบู
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 29/34
ขั้นตอนการควานละเอียดดวยมือ 1. เจาะรูใหเล็กกวาขนาดจริงดวยเครื่องเจาะหรือเครื่องกลึง ดูไดจากตารางที่ 3.2 2. จับยึดชิน้ งานดวยปากกา 3. ทําการควานละเอียดดวยมือโดยใชดามตาปเกลียว โดยการหมุนไปทิศทางเดียวจะไมหมุนกลับ ทิศทางเหมือนตาปเกลียว มิฉะนั้นเศษโลหะจะขูดผิวงานเปนรอย
ภาพที่ 3.47 การเตรียมการควานละเอียด 4. ตรวจศูนยแนวฉากดวยวัดมุมระหวางดอกรีมเมอรกับผิวชิน้ งาน 5. หลอลื่นชิ้นงานดวยน้ํามันเครื่อง เพื่อชวยยืดอายุการใชงานของดอกรีมเมอร และรักษาคุณภาพ ของผิวชิ้นงาน การเก็บและบํารุงรักษาดอกรีมเมอร 1. เจาะรูชิ้นงานที่ตองการควานละเอียดใหสัมพันธกับดอกรีมเมอร 2. ดอกรีมเมอร เปนเครื่องมือประเภทหลายคมตัด ตัดเฉือนผิววัสดุงานออกเพียงบาง ๆ ประมาณ 0.05 มม. 3. การควานละเอียด ตองหมุนดอกริมเมอรไปทางเดียวกับคมตัดเทานัน้ 4. เลือกขนาดรีมเมอรใหถูกขนาด หรือวัดขนาดที่สันคมรีมเมอรดวยไมโครมิเตอร 5. การถอดดอกรีมเมอรใหหมุนดอกรีมเมอรในทิศทางเดียวกับการปอนดอกรีมเมอร พรอมกับให ยกดอกรีมเมอรขึ้น
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 30/34
6. ถาหมุนดอกรีมเมอรกลับทิศทาง จะทําใหผิวงานเกิดรอยขีดขวน และอาจทําใหคมของ ดอกรีมเมอรหักได 7. แยกดอกควานละเอียดออกจากเครื่องมืออื่น เพื่อรักษาคมดอกรีมเมอรและปองกันบาดเจ็บทํา ความสะอาดและใชน้ํามันกันสนิมเคลือบผิวบาง ๆ หลังใชงาน 8. เก็บดอกรีมเมอรใสซองหรือกลองเฉพาะ ไมรวมกับเครื่องมืออื่น
งานเจาะผายปากรูเรียว และงานเจาะผิวหัวสกรูปาฉาก 1. งานเจาะผายปากรู • ดอกเจาะผายปากรูทั่วไป ดอกเจาะผายปากรู (Counter Sinks) เปนดอกเจาะภายหลังที่ใชสวานเจาะแลว โดยเจาะรู ทรงกระบอกตรงจากการเจาะของดอกสวาน เมื่อใชดอกเจาะผายปากรูเจาะตอ จะทําใหปากกรูเปนรูปทรงกรวย ดอกเจาะผายปากรูมีมากมายหลายแบบตามที่ผูผลิตออกมาใหเกิดความสะดวกตอการทํางาน สําหรับผายากรูลบคม - มุม 600 - มุม 750 สําหรับงานย้ําหมุด สําหรับผายปากรูลบคมและฝงหัวสกรู - มุม 900 0 - มุม 120 สําหรับงานย้ําหมุด
ภาพที่ 3.47 การผายปากรู
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ภาพที่ 3.48 ชนิดตาง ๆ ของดอกผายรู • ดอกเจาะผายปากรูลบคม - สําหรับผายปากรูลบคมรูเจาะ - มีจํานวนคมตัดมากกวาดอกเจาะฝงหัวสกรูทรงกระบอก - ใชความเร็วรอบต่ํากวาดอกสวานประมาณ 25-30%
ภาพที่ 3.49 ดอกเจาะผายปากรูลบคม
ใบเนื้อหา 31/34
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร • ดอกเจาะผายปากรูฝงหัวทรงกรวย ผายปากรูเปนทรงกรวย เพือ่ ฝงหัวสกรูหรือฝงหัวหมุดย้ํา
ภาพที่ 3.50 ดอกเจาะผายปากรูฝงหัวทรงกรวย • ปฏิบัติการเจาะรูฝงหัวทรงกรวย - คมตัดสําหรับผายปากรูฝงหัวสกรู หรือหัวหมุดย้ํา - ใชความเร็วรอบต่ํากวาดอกสวานประมาณ 50%
ภาพที่ 3.51 แบบฝงหัวสกรูทรงกรวย
ใบเนื้อหา 32/34
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร
ใบเนื้อหา 33/34
2. งานเจาะฝงหัวสกรู • ดอกเจาะรูฝงหัวสกรู ดอกเจาะฝงหัวสกรู (Counter Bore) หมายถึง ดอกเจาะควานขนาดรูใหโตขึ้น สําหรับใชฝง หัวสกรูเขาไปในเนื้อผิวงาน ในขณะเดียวกันคมตัดดานหนาของดอกเจาะฝงหัวสกรูตองสามารถปาดผิวหนา งานไดดดี วย คมตัดมีอยูรอบ ๆ ตัว และดานหนาของดอกควานอีกดวย
ภาพที่ 3.52 ดอกเจาะฝงหัวสกรูแบบตางๆ • การเจาะรูฝงหัวสกรูทรงกระบอก การเจาะรูฝงหัวสกรูทรงกระบอก เพื่อใหหวั สกรูยึดชิน้ สวนไมโผลออกนอกผิวชิน้ งาน เชน สกรู ยึดเครื่องมือกลชิ้นใหญ
ภาพที่ 3.53 เจาะรูฝงหัวสกรูทรงกระบอก
วิชา : งานเครื่องมือกลเบือ้ งตน หนวยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานรีมเมอร • ปฏิบัติการเจาะรูฝงหัวสกรูทรงกระบอก - ใชความเร็วรอบต่ํากวาดอกสวานประมาณ 50 % - ปลายนําเจาะสําหรับประคองศูนย - คมตัดสําหรับเจาะรูฝงหัวสกรู
ภาพที่ 3.54 ดอกเจาะฝงหัวสกรูทรงกระบอก
ใบเนื้อหา 34/34