Discourse Reviews คำำว่ำ “ Discourse ” ในภำคภำษำอังกฤษนั้นเมื่อนำำมำถอด ควำมและแปลควำมหมำยในภำคภำษำไทยกลับเกิดควำมสับสน คลุมเครือและไม่ชัดเจนในควำมหมำย อีกทั้งยังมีคำำศัพท์ในภำษำ ไทยที่ใช้เรียกแทนคำำว่ำ Discourse ในภำคภำษำอังกฤษอยู่อย่ำง หลำกหลำย เช่น วจนะ ( สมทรง บุรุษพัฒน์ : 2537 ), ข้อควำมต่อ เนื่อง / ปริเฉท (เพียรศิริ วงศ์วิภำนนท์ : 2530 ) , สัมพันธสำร ( อมรำ ประสิทธิร ์ ัฐสินธุ์ : 2541 ) และวำทกรรม ( สม เกียรติ วันทะนะ อ้ำงใน ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬำร : 2545 ) เป็นต้น อย่ำงไรก็ตำมหำกจะวิเครำะห์ตำมแนวคิดของ Jame Paul Gee ( อ้ำงใน กฤษดำ หงศ์ลดำรมภ์และจันทิมำ เอียมำนนท์ : 2549 ) คำำว่ำ “ Discourse ” มีควำมหมำยใน 2 มิติด้วยกัน กล่ำวคือ เป็นมิติ ที่ว่ำด้วยเรื่องภำษำ ในภำษำอังกฤษจะใช้คำำว่ำ discourse ( with little ‘d’ ) กับมิติที่ว่ำด้วยเรื่องสังคมและวิถีปฏิบัติ จะใช้คำำว่ำ Discourse ( with big ‘D’)
มิติทำงด้ำนภำษำเป็นกำรอธิบำย discourse ในรูปแบบของนัก ภำษำศำสตร์ที่วิเครำะห์ว่ำคำำพูดหรือข้อเขียนที่ใช้กันอยู่นั้นมีควำม หมำยและปรำกฏสัมพันธ์กันไปมำกกว่ำเพียงประโยคประโยคเดียว กำรมอง discourse ในมุมมองนีเ้ ป็นกำรวิเครำะห์ตัวบทซึ่งทำำให้ กำรตอบคำำถำมเกี่ยวกับปรำกฏกำรณ์ตำ่ ง ๆ ทำงภำษำเกิดควำม ชัดเจน นักวิเครำะห์แนวทำงนี้จึงนิยำม discourse ปรำกฏออกมำ ในคำำว่ำ วจนะ, ปริเฉท/ ข้อควำมต่อเนื่อง, สัมพันธสำร ตัวอย่ำง งำนเขียนประเภทนี้ เช่น งำนของเพียรศิริ วงศ์วิภำนนท์ ที่ได้ เขียนอธิบำย discourse ไว้ว่ำ การศึ ก ษาความหมายในระดั บ ข้ อ ความต่ อ เนื่ อ งนั้ น เป็ น การ ศึกษาที่ยากกว่าการศึกษาความหมายในข้อความในระดับประโยคที่มี แบบแผนทางไวยากรณ์ที่ชัดเจนแน่นอน ส่วนในระดับของข้อความ ต่อเนื่องยังไม่มีไวยากรณ์ที่ชัดเจนแน่นอนออกมา แต่ในปัจจุบันนัก ภาษาศาสตร์ได้ให้ความสนใจการศึกษาไวยากรณ์ในระดับนี้เป็นอย่าง มาก การศึกษานั้นเรียก ข้อความต่อเนื่อง ว่า ปริจเฉท ( Dis course ) การศึกษาไวยากรณ์ปริจเฉทนั้นน่าจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อ วงการต่างๆเนื่องจากจะเห็นได้ว่า ปริจเฉทเป็นรูปแบบการใช้ภาษาที่ สำา คั ญ ที่ สุ ด ในวงการ การศึ ก ษา วงการธุ ร กิ จ และวงการสื่ อ สาร
มวลชน ตัวอย่างปริจเฉทในวงการ การศึกษา ได้แก่ ตำารา บทความ วิทยานิพนธ์ คำาตอบแบบอัตนัย เรียงความและย่อความ ตัวอย่างใน วงการธุรกิจ ได้แก่ รายงานประจำาปี เอกสารแสดงข้อมูลเกี่ยวกับตัว สินค้า และบริการ ตลอดจนเอกสารเกี่ยวกับตัวบุคลากรในองค์กร ในด้ า นสื่ อสารมวลชน ทั ศ นะปริ จ เฉท คื อ เนื้ อ หาส่ ว นใหญ่ ใ นหน้ า หนังสือพิมพ์ วารสาร เช่น ข่าว สารคดี บทความ บทบรรณาธิ ก าร ดังนั้น ปริจเฉทจึงเป็นหน่วยภาษาที่นำามาประยุกต์เพื่อให้เกิดทักษะ ในการศึกษาภาษาได้ดีมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในด้านความหมาย ถึ ง แม้ปริจเฉทจะเป็นโครงสร้างที่ซับซ้อน แต่ก็มีลักษณะทางภาษาที่มี ความสัมพันธ์ทางความหมายได้อย่างเป็นเอกภาพ ส่วนแนวทำงกำรวิเครำะห์ Discourse ในแนวทำงที่สอง เป็นกำรวิเครำะห์ในมิติของสังคมและวิถีปฎิบัติผู้ที่ตีควำม / ถอด ควำมหมำยของคำำว่ำ Discourse ในควำมหมำยที่เป็น วำทกรรมในภำคภำษำไทยคนแรกคือสมเกียรติ วันทะนะ ( อ้ำงใน ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬำร : 2545 ) ซึ่งกำรตีควำม Discourse ในฐำนะที่ มีควำมหมำยว่ำ “ วำทกรรม ” นั้นได้มีควำมหมำยลึกซึ้งเกินกว่ำ discourse ในมิติทำงด้ำนภำษำ เพรำะได้ผนวกเอำผู้ใช้ภำษำและ ปฏิสัมพันธ์ในสังคมเข้ำไว้ด้วยกัน อีกทั้งยังได้เห็นถึงอิทธิพลของ สังคมที่มีผลกระทบต่อวำทกรรมและวำทกรรมที่มีอิทธิพลต่อสังคม อีกด้วย งำนเขียนชิ้นนี้จึงเลือกที่จะหยิบ Discourse ในฐำนะที่เป็น “ วำทกรรม” ของ มิเชล ฟูโกต์ โดยอำศัยผ่ำนกำรตีควำมของ ไชยรัตน์ เจริญสิน โอฬำร มำเป็นกรอบในกำรวิเครำะห์ เหตุที่นำำ Discourse ใน ฐำนะที่เป็นวำทกรรมมำเป็นหน่วยในกำรวิเครำะห์เนื่องจำก มิเชล ฟูโกต์ เองก็ไม่ได้มองวำทกรรมแค่เพียงภำษำ คำำพูด หรือ ถ้อยแถลง ( สมหมำย ชินนำค : 2547 อ้ำงใน วำทกรรมอัตลักษณ์, หน้ำ 144 - 145 ) หำกแต่หมำยถึงระบบ,กระบวนกำร / กฏเกณฑ์ชุด หนึ่งในกำรสร้ำง / ผลิต เอกลักษณ์หรืออัตลักษณ์และควำมหมำย ให้กับสรรพสิ่ง ต่ำง ๆ ในสังคมที่หอ ่ หุ้มเรำอยู่ ไม่ว่ำจะเป็นควำมรู้ ควำมจริง อำำนำจ หรือตัวตนของเรำเอง นอกจำกนี้วำทกรรมยังทำำหน้ำที่ ตรึงสิ่งที่สร้ำงขึ้นให้ดำำรงอยู่และเป็นที่ยอมรับในวงกว้ำง (ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬำร : 2545 ) ดังนั้นวำทกรรมจึงมีพลังอำำนำจ มำกกว่ำภำษำ,คำำพูดหรือถ้อยคำำ ทัง้ นี้เพรำะมีภำคปฏิบัติกำรจริง
ของวำทกรรมเป็นปัจจัยเกื้อหนุนทีท ่ ำำให้สิ่งที่วำทกรรมสร้ำงขึ้น ดำำรงอยู่ / ตรำตรึงและแผ่ขยำยเป็นที่ยอมรับของสังคมโดยทั่วไป เช่น วำทกรรมด้วยกำรพัฒนำ / ด้อยพัฒนำ สิ่งใดจะถือว่ำ เป็นกำรพัฒนำ / ด้อยพัฒนำขึ้นอยู่กับกฎเกณฑ์ชุดหนึ่งที่วำทกรรม ว่ำด้วยกำรพัฒนำนั้นกำำหนดขึ้น โดยกระทำำผ่ำนกำรสร้ำงองค์ ควำมรู้ ( เช่นกำรเข้ำไปศึกษำค้นคว้ำวิจัย ) และสร้ำงภำคปฏิบัติ กำรทำง เช่น กำรมีธนำคำรโลกเพื่อเป็นแหล่งรับรองกำรกู้ยม ื / กำรมีไอเอ็มเอฟเพื่อให้กู้ เป็นต้น ทัง้ นี้ในตัวมันเองคือเทคนิควิธี กำรและวิทยำกำรของอำำนำจที่แยบยลแบบหนึ่งเนื่องจำกกำรปิด ป้ำยฉลำกจำกกำรจัดประเภทเหล่ำนี้เป็นตัวกำำหนดกฎเกณฑ์ สถำนภำพควำมสูงตำ่ำ บทบำท หน้ำที่ หรืออำำนำจ ข้อสังเกตใน แง่นี้จึงปรำกฏขึ้นมำว่ำเมือ ่ เป็นเช่นนี้ เรื่องของควำมรุนแรงและ อำำนำจจึงแยกไม่ออกจำกวำทกรรม เพรำะวำทกรรมได้ก่อให้เกิด กำรเก็บกด ปิดกั้น ยัดเยียด เพือ ่ สร้ำงอัตลักษณ์ / ผลิตควำมหมำย โดยกระทำำผ่ำนอำำนำจที่แยบยลเป็นเครื่องมือ อย่ำงเช่น ควำมรู้ / ควำมจริง โดยเฉพำะ ควำมรู้ / ควำมจริง ได้กลำยเป็นอำำนำจชนิดใหม่ที่ ไม่ใช่เป็นกำรใช้กำำลังอำำนำจเข้ำบีบบังคับโดยตรง แต่เป็นอำำนำจ เชิงบวกที่ถูกฟอกจนขำวสะอำดและพร้อมที่จะเข้ำไปปิดกั้น กดทับ และผลิตควำมหมำยให้กับสรรพสิ่งอย่ำงแยบยล กำรผลิตควำมรู้ / ควำมจริง กับควำมรุนแรงจึงเป็นสิ่งทีเ่ กี่ยวพันธ์กันอย่ำงสลับซับ ซ้อนและลึกซึ้ง ในแง่นี้กำรเข้ำใจ / วิเครำะห์วำทกรรมจึงทำำให้ สำมำรถสืบค้นถึงกระบวนกำร ขั้นตอน ลำำดับเหตุกำรณ์และรำย ละเอียดปลีกย่อยต่ำง ๆในกำรสร้ำง / ผลิตควำมหมำยให้กับสรรพสิ่ง และภำคปฏิบัติกำรของเรือ ่ งที่ว่ำด้วยเรือ ่ งนั้น ๆ ว่ำมีควำมเป็นมำ อย่ำงไรหรือ ผลกระทบของกำรเก็บกด / ปิดกั้นมีที่มำอย่ำงไร กำร ที่เข้ำใจกระบวนกำรทำำงำนของวำทกรรมจะทำำให้ผู้วิเครำะห์ สำมำรถเข้ำใจถึงกำรเข้ำมำกดทับ/ปกปิดของอำำนำจได้อย่ำงรู้เท่ำ ทัน สิ่งที่น่ำสนใจประกำรหนึ่ง คือ มุมมองของไชยรัตน์ เจริญสิน โอฬำรทีม ่ ีต่อกำรวิเครำะห์วำทกรรม / กำรรู้ทันวำทกรรมอย่ำงง่ำย และโดยพื้นฐำนที่สด ุ คือ “ การถามคำาถามทีด ่ ูเรียบง่ายและพื้น ๆ ว่าสิ่งนั้น / สิง่ นี้คือ อะไร เพื่อค้นหาวาทกรรมและภาคปฏิบัติการของวาทกรรมว่าด้วย
เรื่องนั้น ๆ นอกจากจะทำาให้เราเห็นโยงใยของความสัมพันธ์เชิง อำานาจในสังคมทีส ่ ิ่งนั้นดำารงอยู่แล้ว ยังทำาให้เราเห็นถึงความลื่นไหล เปลี่ยนแปลงมากกว่าความเป็นเอกภาพ แน่นอน ตายตัว ของ สรรพสิ่งต่าง ๆในสังคมด้วยว่าเป็นเพียงผลผลิตของวาทกรรมชุด หนึ่งเท่านั้น ในส่วนของการพัฒนา คำาถามที่ว่าอะไรคือการพัฒนา นั้น จะช่วยทำาให้เราเห็นถึงโยงใยของอำานาจในสังคมระหว่างสังคมว่า ใครมีอำานาจ / ความชอบธรรมที่จะพูดถึงเรื่องของการพัฒนา และ พูดอย่างไร ทำาไมจึงเป็นเช่นนั้น เช่น ด้วยวิธีการใดและด้วยเหตุผล อะไรที่นักเศรษฐศาสตร์สามารถผูกขาดพูดถึงเรื่องการพัฒนาและยัง เป็นการพูดถึงการพัฒนาในแบบเดียวด้วย ยิ่งไปกว่านั้น บรรดานัก เศรษฐศาสตร์เหล่านี้ยังทำาตัวเหมือนผู้พิพากษาที่กำาหนดตัดสินว่า อะไรคือการพัฒนาอีกด้วย ” นัยนี้กำรทีเ่ รำสำมำรถรู้ได้อย่ำงคร่ำว ๆ ว่ำสิ่งทีต ่ ้องกำรศึกษำ / พูดถึงคืออะไรแล้ว กำรศึกษำว่ำสิ่งนั้นมีบทบำทและหน้ำที่ อย่ำงไรในสังคมก็จะเป็นอีกแรงผลักดันหนึ่งที่จะส่งเสริมให้เห็นถึง เครือข่ำยทำงอำำนำจที่วำทกรรมชุดนั้นดำำรงอยู่ ดังนั้นกำรใช้กรอบ “Discourse ” ในฐำนะทีเ่ ป็นวำทกรรมมำ เป็นหน่วยในกำรวิเครำะห์จึงทำำให้สำมำรถเห็นถึง “ ธำตุแท้ ” และเครือข่ำย / โยงใยอำำนำจที่แยบยล อีกทั้งกำรใช้วำทกรรมมำ เป็นหน่วยในกำรวิเครำะห์ยังช่วยให้สำมำรถตรวจสอบ ตั้งคำำถำม กับบรรดำสรรพสิ่งต่ำง ๆ ที่ห่อหุม ้ ตัวเรำ ซึ่งจะทำำให้เกิดควำม ระมัดระวัง ไม่ทึกทัก / มองข้ำม ในขณะเดียวกันก็ไม่มองสรรพสิ่ง ในฐำนะที่หยุดนิ่ง ตำยตัว แต่จะทำำให้มีทัศนะกำรมองที่ลื่นไหล เปลี่ยนแปลงอยูต ่ ลอดเวลำตำมกำรต่อสู้เพื่อช่วงชิงกำรนิยำม / ให้ ควำมหมำยกับสิ่งนั้น ๆ และสิ่งทีส ่ ำำคัญไปกว่ำนั้น คือ กำรวิเครำะห์วำทกรรมได้เปิดพื้นที่ / เวทีแห่งใหม่สำำหรับกำรต่อสู้ในสังคมและระหว่ำงสังคม ให้กว้ำง ไกลไปจำกเดิมที่วนเวียนอยู่แต่เรื่องของกำรเมืองแบบสถำบัน เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่จะเพิ่มพื้นที่กำรต่อสู้ในเชิง วำทกรรมบรรจุเข้ำไปด้วย
บรรณำนุกรม
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬำร. วำทกรรมกำรพัฒนำ : อำำนำจ ควำมรู้ ควำมจริง เอกลักษณ์ และควำม เป็นอื่น. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย, 2545. เพียรศิริ วงศ์วิภำนนท์. ศำสตร์แห่งภำษำ : เอกสำรวิชำกำร. กรุงเทพฯ : ภำควิชำภำษำศำสตร์ คณะอักษรศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย, 2530. สมทรง บุรุษพัฒน์. วจนะวิเครำะห์ : กำรวิเครำะห์ภำษำระดับ ข้อควำม. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : บริษัท สหธรรมิก, 2537. อมรำ ประสิทธิร ์ ัฐสินธุ์. ภำษำศำสตร์สังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ แห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย, 2541.