Corrosion In Pharmaceutical Industry

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Corrosion In Pharmaceutical Industry as PDF for free.

More details

  • Words: 880
  • Pages: 33
CORROSION IN THE PHARMACEATICAL INDUSTRY

materials of construction - Metals and alloys - Thermoplastic and Thermosetting plastic - Ceramics - Impregnatde Carbon

STAINLESS STEELS Stainless steels

เปนวัสดุที่สมบูรณแบบในอุตสาหกรรมยา เนื่องจากมีความคงทนตอการกัดกรอนสูง และไมทําปฏิกิริยากับกรดหรือเบส อีกทั้งยังมีผิวเรียบทําความสะอาดงาย และทนความรอนหรือความเย็นไดดี รวมถึงทนการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยาง ฉับพลัน

Austenitic Stainless Steels -เปนกลุม "300" ทีถ่ ูกนํามาใชอยางกวางขวางที่สุด -โครงสรางหลักเปน Austenite มีโครงผลึกแบบ FCC -ไมเปนสารแมเหล็ก -เพิ่มความแข็งโดยวิธี cold-working ความแข็งแรงไมสูงมาก ในสภาพอบออน แตเมื่อนําไปขึ้นรูปเย็นความแข็งแรงเพิ่มขึน้ อยาง รวดเร็ว -เปนเหล็กทีม่ ี Cr-Ni และ Cr-Mn-Ni เปนสวนผสมหลัก ยิ่งมี ปริมาณ Cr มาก ยิ่งตองมี Mn-Ni ผสมอยูมากจึงจะเปน Austenite -อาจมีธาตุอื่น ๆผสม เชน Sและ Se ทําใหนาํ ไปกลึงไสไดงาย -มีความตานทานการกัดกรอนดีที่สดุ เมื่อเทียบกับกลุมอื่น -มี Ni อยางนอยที่สุด 8% จะทนทานการกัดกรอนไดดีกวาเหล็กใน กลุม Martensite แตตานทานการกัดกรอนของ Cl เขมขนได นอยกวา

Super Austenitic Stainless Steels

AL-6XN

‐คงความเหนียวไวที่ -1960c และทนความรอนไดถงึ 500c ถาสูงกวานีจ้ ะเกิด precipitation ‐ตานทานการกัดกรอนไดอยางดีทงั้ general corrosion, pitting, crevice corrosion, chloride-induced corrosion และ stress corrosion cracking ในบรรยากาศ oxidizing และในสภาวะทีเ่ ปนดางหรือน้ําเค็ม -เติมโมลิบดีนัม 6-7% และไนโตรเจน 0.18-0.25% เพิ่ม การตานทานการกัดกรอนแบบ pitting และ crevice -เติมนิกเกิล 18-31% เพิ่มการตานทานการกัดกรอนแบบ SCC ‐ราคาถูกกวา Nickle-base alloys และรูปทรง สะดวกตอการใชงาน

Table : Corrosion Resistance in Boiling Solutions Rate ASTM G-31 Test Solution (Boiling)

Corrosion Rate in Mils Per Year (mm/y)

Type 316L

Type 317L

Alloy 904L

Alloy 276

AL-6XN

20% Acetic Acid

0.12 (0.003)

0.48 (0.01)

0.59 (0.02)

0.48 (0.01) 0.12 (0.003)

45% Formic Acid

23.41 (0.60)

18.37 (0.47)

7.68 (0.20)

2.76 (0.07)

2.40 (0.06)

10% Oxalic Acid

44.90 (1.23)

48.03 (1.14)

27.13 (0.69)

11.24 (0.28)

7.32 (0.19)

20% Phosphoric Acid

0.60 (0.20)

0.72 (0.02)

0.47 (0.01)

10% Sodium Bisulfate

71.57 (1.82)

55.75 (1.42)

8.88 (0.23)

2.64 (0.07)

4.56 (0.12)

50% Sodium Hydroxide

77.69 (1.92)

32.78 (0.83)

9.61 (0.24)

17.77 (0.45)

11.4 (0.29)

10% Sulfamic Acid

124.3 (3.16)

93.26 (2.39)

9.13 (0.23)

2.64 (0.067)

9.36 (0.24)

10% Sulfuric Acid

645.7 (16.15)

298.3 (7.58)

100.8 (2.53)

13.93 (0.35)

71.9 (0.35)

0.36 (0.009) 0.24 (0.006)

Table : Critical Pitting Temperatures CCCT1

Product 0F

CPT2 0C

0F

CPT3 0C

0F

304

<27.5

<-2.5

316

27.5

-2.5

59

15

35 68 110

1.7 20 43

66 104 117

18.9 40 80.5

317 904L AL-6XN

77 113 172

7

25 45 78

ตัวอยางของโครเมียมคารไบดที่เกิดขึ้นตามแนวขอบเกรน ทําใหพื้นที่โดยรอบของโครเมียมและโมลิบดีนัมลดลง

ภาพแสดงวัสดุทางการแพทยที่ถูกกัดกรอนแบบหลุม ที่ใชฝงในการรักษา

Duplex Stainless Steels -มีโครงสรางผสมระหวาง Ferrite และ Austenite ภายหลังการชุบแข็งดวยน้ํา (Water Quenching) -มีความแข็งแรงสูง และมีคุณสมบัติตานทาน stress corrosion-cracking มากกวากลุม Austenite - มีคา Elongation ต่ํากวากลุม Austenite -มีความเหนียวกวากลุม Austenite ราคาจึงแพงกวา กลุมอื่นๆ -เชื่อมและหลอไดงาย เนื่องจากมีปริมาณของ Ferrite อยูคอนขางมาก -ขอเสีย คือ ขึ้นรูปไดยากเพราะมี 2 เฟส มีคา Yield strength สูงกวากลุม Austenite

Ferritic Stainless Steels -สวนผสมหลักคือเหล็กและโครเมียม (ไมมีนกิ เกิล) แตมี ปริมาณคารบอนนอยกวา 0.08-0.12 % การที่ไมมี นิกเกิลผสมอยูทําใหมรี าคาถูกกวากลุม Austenitie -มีความตานทานการกัดกรอนต่ํากวากลุม Austenite แตสูงกวากลุม Martensitie -โครงสรางหลักเปน Ferrite มีโครงผลึกแบบ BCC -มีคณ ุ สมบัติเปนสารแมเหล็ก -ทําใหแข็งตัวดวยวิธี cold worked และทําใหออน ตัวโดยการ Annealing -ไมสามารถใชงานที่อุณหภูมิต่ํามาก ๆ ได เพราะทําให เปราะเนื่องจากมีโครงสรางแบบ BCC

High Purity Superferritic Stainless Steels

E-Brite 26-1

- Property data below is typical of annealed samples - sheet and strip for use in chemical process equipment to combat chloride pitting and stress corrosion cracking - Specific uses include solenoid valves, pressure vessels, coker components, heat exchangers, air preheaters and heat recuperators

ZIRCONIUM UNS R60702 ‐pure zirconium contains 95.5‐99.2% ‐resistance to corrosive attack in most organic  and inorganic acids, salt solutions, strong alkalis,  and some molten salts

NICKEL ALLOYS Nickel and Nickle-Base Alloys Nickel-Copper Alloys Nickel-Chromium Alloys Nickel-Molybdenum Alloys Nickel-Chromium-Molybdenum Alloys Nickel-Chromium-Molybdenum-Copper Alloys

IMPERVIOUS GRAPHITE ⌧

other materials of construction    () ⌧ ()    ()  ()  ()  

resistance to corrosion over a wide range of pH environments

ความลมเหลวของวัสดุและการกัดกรอนทีพ่ บ 1.การเสียดสีของโลหะภายนอก ปญหาโดยทั่วไป คือ การขัดสีบริเวณผิวภายนอก ที่ไดรับความชื้นในอากาศจะเกิดการกัดกรอนอยางรวดเร็ว

สาเหตุที่ 1 คือ ทอ,รางสง,แผนโลหะบริเวณผิวจะไดรับการเสียดสีจาก ลูกกลิ้ง การอบออน(annealing) และแชน้ํายาเคมี ซึ่งทําใหเกิด สารเคมีฝงแนนเปนสาเหตุใหเกิดการกัดกรอน ดังนั้นการทํา ความสะอาดในสวนนี้จึงเปนสิ่งสําคัญ เพื่อปองกันสารเคมีที่ ตกคางโดยเฉพาะทอและขอตอภายนอก

ความลมเหลวของวัสดุและการกัดกรอนทีพ่ บ สาเหตุที่ 2 คือ บริเวณแผนโลหะและทอดานใน ถูกขีดขวนจากการเสียดสี ของแผนโลหะและภาชนะที่ใชในการลําเลียงวัตถุดิบตางๆ ซึ่งจะเกิดรอยขีดขวนที่ลึกมากบริเวณผิว

สาเหตุที่ 3 คือ การปนเปอนของโลหะที่ใชในการทําเครื่องมือ เชน สวนที่ใชในการขึ้นรูป,สายพานหรือแผนกระบังโลหะ เปนตน การออกแบบการลําเลียงสารเคมีใหระบายไปไดไหลลื่นและสมบูรณ

ความลมเหลวของวัสดุและการกัดกรอนทีพ่ บ การตรวจสอบ สามารถตรวจสอบโดยใชน้ําไหลผานอุปกรณตางๆ เปนเวลา 24 ชั่วโมง แลวตรวจสอบการเกิดสนิม การใชน้ําเปนตัว ทดสอบเปนวิธีที่งายและแนนอน สําหรับในอุปกรณที่มีความไวตอ น้ําจะใชวิธี Ferroxyl Test

ความลมเหลวของวัสดุและการกัดกรอนทีพ่ บ แนวทางในการปองกันและแกไข การแชโลหะในน้ํายา เปนวิธีแกไขที่ดีที่สุดเนื่องจากผิวถูกชะลางเอา น้ํามันและสิ่งสกปรกออก เพราะจะละลายออกหมด สารเคมีที่ใชเปนการผสม ระหวาง HNO3 และ HF ที่ 50๐C HNO3จะเอาสิ่งปนเปอนบนผิวทั่วๆไปออก แลวคอยๆซึมเขาในสวนที่ลึกลงไป ชิ้นสวนเล็กๆจะใชการแพรกระจาย ไปทั่วเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทําความสะอาด นอกจากนี้ยังมีวิธีทําความสะอาดดวยหยดน้ําแกวเหลว เพื่อปดสิ่งปนเปอนใหหลุดออกไปพรอมกับน้ําแกว แตใหใชทราย เพราะจะเปนการเพิม่ แนวโนมในการกัดกรอนบนพื้นผิว

ความเสียหายของวัสดุและการกัดกรอนที่เกิดขึน้ 2.ความเสียหายของอุปกรณเหล็กที่บุดวยแกว สวนใหญความเสียหายนี้ไมเกี่ยวกับการเสื่อมสภาพภายในดวยสารเคมี แตขึ้นอยูกับอิทธิพล เชิงกลและความรอน ประเภทความเสียหายที่เกิดขึ้นในการใชอุปกรณตางๆในอุตสาหกรรมยาและสารเคมี รวมทั้ง mechanical shock, การกัดกรอน, การขัดสี, thermal shock และ thermal stress

Mechanical shock

เปนสาเหตุหลักของความเสียหายนี้ เกิดจาก การกระทบกันบนดานนอกหรือดานในของภาชนะ เมือ่ ใชงานอุปกรณควรระมัดระวัง เพราะภาวะเฉียบพลัน (shock) ที่ดานนอกของภาชนะเปนสาเหตุใหเกิดความเสียหายที่ ดานในซึ่งบุดวยแกว การออกแบบควรสอดคลองกับการใชงานใหหยิบจับไดสะดวก การ ใชยางมารองรับสวนที่เกิดความเสียหายไดงาย เปนการปองกันรอยขีดขวน ถาเปน ชิ้นสวนที่เคลือ่ นยายตลอดเวลา การใชเครื่องมือที่ทําจากโลหะจะเกิดปญหาไดงาย จึง นิยมใชพลาสติกหรือไมแทน

ความลมเหลวของวัสดุและการกัดกรอนทีพ่ บ Acids ที่ทําใหเกิดการกัดกรอน ยกเวน HF,H3PO4และกรดฟอสฟอรัส โดยทั่วไปอัตราการเกิดการกัดกรอนจะลดลง แตเมื่อเพิ่มอุณหภูมิกรดจะ ทําปฏิบัติอยางรุนแรง ฟลูออไรดในกรดจะกัดกรอนอยางรุนแรง โดยเฉพาะในสวนที่สัมผัสตอเนื่อง กรดไฮโดรฟลูออริกจะตอตาน ซิลิกอนไดออกไซดซึ่งเปนสวนผสมหลักในแกว ทําใหซิลิกอนไดออกไซด ถูกทําลายกลายเปนซิลิกอนเตตระฟลูออไรดและไอน้ํา ซิลิกอนในชวงที่ เปนไอน้ํา เมื่อมีสิ่งเจือปนอยูในไอน้ําสัมผัสกับผนังภาชนะ มันจะเกิดการ ระเหยเหลือเพียงซิลิกอนไดออกไซดและกรดไฮโดรฟลูออไรดซิลิอิกทับถม กันอยู ซึ่งซิลิกอนเตตระฟลูออไรดและไฮโดรฟลูออริกที่มีอยูในสารจะทําลายผนังภาชนะในรูปของน้ําและสีที่เปลี่ยนไป ในอากาศก็จะมีไอของฟลูออไรดปนอยูดวย

ความลมเหลวของวัสดุและการกัดกรอนทีพ่ บ แกว ไมสามารถปองกันการทําลายจากฟลูออไรดและสารประกอบที่เปน อัลคาไลดในสภาพแวดลอมได ดังนั้น การลดกาซไฮโดรเจนฟลูออไรดกอนที่ จะเกิดการทําปฏิกิริยาของไฮโดรฟลูออริกกับไอน้ําจะเปนการชวยลดอัตรา การเกิดการกัดกรอน ในสวนที่เปนน้ํา ฟลูออไรดจะกัดกรอนแกวรุนแรงมาก และทําใหเกิดผิวที่ขรุขระบนผนังสงผลตอการกัดกรอนมากขึ้น ในสวนที่เปน ไอน้ําการทําลายจะถูกจํากัดและเขมขนบริเวณซอกและรูเล็กๆจะเห็นไดชัดแต ไมทําลายพื้นผิวแกวในวงกวาง การควบคุมปริมาณฟลูออไรดไมบริสุทธิ์ ใหมีฟลูออไรดที่เหมาะสมกอนใชงานดวย H3PO4 และเกลือจะไปชวย ลดความเปนกรดอนินทรีย

ความลมเหลวของวัสดุและการกัดกรอนทีพ่ บ การกัดกรอนของ Alkalides ในเยื่อบุแกวมีมากกวากรด โดยจะกัด กรอนในสวนที่เปนน้ํา หากมีความเขมขนของคา pH ของอัลคาไลด สูงๆ การกัดกรอนในหลุม,รอยแตกและพืน้ ผิวจะเกิดอยางรุนแรง โดย แกวจะมีปฏิกิริยาตอบสนองตอสารอัลคาไลดที่ไดรับทันที โดยเฉพาะ ในที่ที่มีแรงอัดและไดรับความรอน น้ําเปนตัวชวยใหเกิดการกัดกรอน ที่รุนแรงขึ้นโดยเฉพาะในน้ําบริสุทธิ์ และอุณหภูมิเหนือจุดเดือด เมื่อ หยดน้ําบนพืน้ ผิวแกวอัลคาไลดไอออนจากแกว จะเปนสารละลายไป ทําลายแกวอยางชาๆ

ความลมเหลวของวัสดุและการกัดกรอนทีพ่ บ • รอยขีดขวน ในแกวทําใหเกิดการสึกกรอน เมือ่ รวมกับกรดจะทําใหเกิดการ กัดกรอนเปนผลใหผิวขรุขระและเคลือบเงาเสียหาย • การเปลีย่ นแปลงอุณหภูมทิ นั ทีทนั ใด สงผลตอเคลือบแกวขนาดเล็ก แตใน เคลือบแกวหนาจะไมสงผลมากนัก โดยมีสาเหตุมาจาก 4 พฤติกรรม ดังนี้ 1.ลดอุณหภูมิผิวหนาเคลือบแกวลงดวยน้ําเย็นหลังจากผานการเผาทันที 2.ใหอณ ุ หภูมิแกผิวเคลือบแกวอยางรวดเร็วเมือ่ มีน้ําเย็นไหลผาน 3.ใหอณ ุ หภูมิแกผิวเคลือบดวยของเหลวรอนในภาชนะที่เย็น 4.ลดอุณหภูมิของผนังภาชนะดวยของเหลวเย็นหลังจากผานการเผาทันที

ความลมเหลวของวัสดุและการกัดกรอนทีพ่ บ ความเสียหายที่เกิดจากความเคนเนื่องจากความรอน ความเคนที่เกิดจากความรอนเกิดขึ้นจากความแตกตางในการใหความรอน หรือการทําใหเย็นตัวอยางชาๆ ซึ่งความเคนที่เกิดจากความรอนจะปรากฏ ที่ผนังทอของผิวเคลือบแกว ภายในผิวเคลือบแกวที่มีการใหความรอนหรือ การทําใหเย็นตัว ที่อุณหภูมิ 2050c เปนอุณหภูมิที่ทําใหเกิด stain ที่ผิว เคลือบแกว และเปนผลใหเกิดการ crack ได ความเคนที่เกิดจากความ รอนสามารถลดลงได โดยการควบคุมกระบวนการใหความรอนหรือ กระบวนการทําใหเย็นตัว นอกจากนี้การใชฉนวนกันความรอนก็สามารถ ลดระดับความเคนไดเชนกัน

ความลมเหลวของวัสดุและการกัดกรอนทีพ่ บ ความเคนที่ปลายทอ แกวมีความสามารถในการทนแรงอัด แตถา คาแรงอัด ณ จุดๆ หนึ่ง มีคามาก ก็สามารถที่จะทําใหเกิดความ เสียหายที่ปลายทอแกวได บริเวณนูนที่ดานบนของปลายทอ แกวจะไวตอการเกิดความเสียหายจากความเคนไดมาก และจุดที่ มีการเชื่อมของทอแกวก็สามารถเกิดความเสียหายจากความเคน ของแรงบิดคามากๆได คาความเคนมากๆนั้นจะทําใหเกิดการ แตกที่ผิวของปลายทอแกว

ความลมเหลวของวัสดุและการกัดกรอนทีพ่ บ ความเสียหายที่เกิดจากการซอมแซมอุปกรณ แทนทาลัมเปน วัสดุที่ถูกใชในการซอมแซมงานโดยทั่วไป แตสําหรับผิวเคลือบ แกวแทนทาลัมสามารถปองกันการกัดกรอนไดดีมาก โดยที่ สามารถปดสวนที่ตองการปองกันไดอยางดี ยกเวนในบริเวณที่มี ควันของกรดซัลฟลูริกที่อุณหภูมิสูงกวา 650c ความเขมขน 98%

การกัดกรอนแบบกัลวานิก เปนสาเหตุที่ทําใหการซอมแซมดวย แทนทาลัมเกิดความเปราะเนื่องจากไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น เพราะ แทนทาลัมมีการสัมผัสกับเหล็กทําใหเกิดการครบวงจรของการกัด กรอนแบบกัลวานิก

ความลมเหลวของวัสดุและการกัดกรอนทีพ่ บ ความเสียหายที่เกิดจากไฮโดรเจน เกิดจากกรดที่อยูบนผิว เหล็กภายนอกของเคลือบแกว การทําปฏิกิริยาของเหล็ก การ formตัวของไฮโดรเจน การแพรของไฮโดรเจนในโลหะเคลือบ แกว และรอยขีดขวนรอยบิ่นในแกวทําใหเกิดความดันสะสม การหลีกเลี่ยงคือ เมื่อโลหะเคลือบแกวสัมผัสกับกรด ควรนําไป ลางดวยน้ําโดยทันที เพื่อหลีกเลี่ยงการทําปฏิกิริยากับกรด นอกจากนี้ควรเคลือบสารที่ปองกันกรดไดดี

ความลมเหลวของวัสดุและการกัดกรอนทีพ่ บ 3. ความเสียหายการกัดกรอนภายใตฉนวนความรอน - การกัดกรอนเปนปญหาที่สามารถปรากฏภายใตฉนวนความรอน ที่มีการ ประยุกตใชที่ผิว และทอที่เปนสวนประกอบของอุตสาหกรรมทางดานเภสัช จะเกิดขึ้นเมื่อฉนวนมีความชื้น ซึ่งการดัดกรอนนั้นสามารถอธิบายไดจาก กระบวนการกัดกรอนทางเคมี - ฉนวนความรอนที่ผลิตจะตองมีลักษณะแหงเพื่อปองกันการกัดกรอนที่เกิด จากความชื้นหรือมีสารละลายและสิ่งเจือปนเชน คลอรีน เปนสาเหตุที่ ทําใหเกิดการกัดกรอนของโลหะได

วัสดุที่ใชในการทําฉนวน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

Polyurethane foam Polyisocyanurate foam Flexibie foamed elastomer Cellular glass Glass fiber Mineral wool Calcium silicate Protective coatings

กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง Thermal Conductivity และ อุณหภูมิในไฟเบอรกลาสที่เปนฉนวน

น.ส. อิสรา น.ส. พิณศิริ น.ส. พิรุณ น.ส. งามนิจ

บํารุง ID.4909617039 อําพนพนารัตน ID.4909617070 ปน บรรจง ID.4909617328 วัฒนวรากุล ID.4909617419 MR 366 Corrosion and Degradation of Materials Materials Science THAMMASAT UNIVERSITY

Related Documents