Computer Basic

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Computer Basic as PDF for free.

More details

  • Words: 1,297
  • Pages: 8
เราจะเรียกมันวา  

เราจะเรียกมันวา “Computer Basic” Page 1 of 7

เราจะเรียกมันวา “คํานํา” นาจะไมใชเรื่องงายถาผมจะบังอาจถายทอดความรูทางดานคอมพิวเตอรใหกับใครตอใคร เพราะเปนที่รูๆ กันอยูวา ตัวผมเองก็ไมไดร่ําเรียนมาทางดานนี้โดยตรง และทั้งเนื้อทั้งตัวก็ เต็ ม ไปด ว ยสู ต รสํ า เร็ จ ประเภท “ยาผี บ อก ” ซะเป น ส ว นใหญ . . . จะว า ไปก็ น า จะแค “เอาตัวรอด” ไปไดเมื่อยามที่ไมมีใครใหถามเทานั้น !! นอกจากจะไมไดร่ําเรียนมาโดยตรง ตัวเองก็กลับไมนิยมวิธีการเรียนการสอนที่พบเห็นอยู ทั่วๆ ไปอีกตางหาก . . . เขาขาย “อวดดี” โดยสมัครใจ . . . วางั้น !? ผมเองมักเชื่อเสมอวา การศึกษาคอมพิวเตอรก็คือการศึกษาตัวเอง มีหลายๆ อยางใน กระบวนการเรียนรูที่เราไมสามารถจับตองได มีหลายๆ อยางที่เราไมสามารถอธิบายได ดวยคําพูดหรือถอยคําใดๆ แตเปนสิ่งที่เรารู . . . เปนความรูที่เกิดจากการปะติดปะตอกับ ประสบการณ ห รื อ เรื่ อ งราวหรื อ สิ่ ง ของที่ เ ราคุ น เคย แล ว สร า งเป น ภาพที่ ต อ เนื่ อ งใน กระบวนการคิดของเราเอง จากนั้นถายทอดมันกลับออกมาเปนการลองผิดลองถูกเพื่อเก็บ เกี่ยวประสบการณใหมๆ ตลอดเวลา โดยเหตุผลแลว สิ่งที่จะสาธยายตอไปในเอกสารชุดนี้ ไมนาจะสามารถเขียนเปนตําราหรือ ตัวอักษรใดๆ เพราะมันนาจะเปนเรื่องเลาโดยคําพูดมากกวา แตเพราะเวลาอันจํากัดที่ไม สามารถกําหนดใหทุกคนวางพรอมๆ กัน ผมจึงตัดสินใจเขียนมันออกมาเปนตัวหนังสือ ดวยภาษาที่เลวรายอยางที่นักภาษาศาสตรทั้งหลายตองแชงชักหักกระดูก กฎขอที่หนึ่งของการเรียนคอมพิวเตอรก็คือ . . .

จงเชื่อใน “กฎแหงกู” อยาเชื่อใน “กฎแหงกรรม” คอมพิวเตอรไมใชเทวทูต สิ่งที่มันบอกเราผานหนาจอก็ไมใชพระวจนะของทวยเทพ และ เราก็ไมไดกอกรรมทําเข็ญอะไรไวถาเราเพียงแตบังคับมันไมได . . . มันไมใชพระเจา แต เราเองนี่แหละที่เปนเจาของมัน . . . นี่คือ “กฎแหงกู” บางครั้งมันก็อาจจะบังคับใหเราตองยอมรับสภาพอยูบาง แตการเรียนคอมพิวเตอรไมใช การปฏิบัติธรรม เพราะฉะนั้นตองมีซักครั้งที่มีรายการ “เอาคืน” ตองมีซักครั้งที่เราตอง จัดการมันจนเราพอใจ . . . ลืมเรื่องเวรกรรมที่ยอมระงับดวยการไมจองเวรซะ . . . เพราะ การไมจองเวรกับมันมีทางเดียวก็คืออยาไปยุงเกี่ยวกับมันเทานั้น !! ปจจุบันนี้ คอมพิวเตอรกลายเปนเครื่องมือที่เขามาเกี่ยวของกับชีวิตการทํางานของเราจน เกือบแยกไมออกแลว อยางนอยก็วันละ 6-8 ชั่วโมง หรือประมาณ 1 ใน 4 ถึง 1 ใน 3 ของชีวิตที่เหลือของเรา . . . มันไมใชเวรกรรมของเราที่จะตองมารูจักกับเครื่องมือชนิดนี้ แตเปนเวรกรรมของมันที่ตองมาอยูกับเราตางหาก เพราะจริงๆ แลวคอมพิวเตอรแตละตัว จะหมดสิ้นอายุขัยของมันในเวลาเพียงประมาณ 5 ปโดยถัวเฉลี่ย จะโดยฝมือของเราหรือ ของมันเองก็แลวแต . . . มันตายกอนเราแน . . . รับรอง !!

Mr. Z @กรุงเทพฯ, 07.12.2002

เราจะเรียกมันวา “Computer Basic” Page 2 of 7

เราจะเรียกมันวา “โตะทํางาน” ภาพเปรี ย บเที ย บที่ ใ กล ตั ว ที่ สุ ด สํ า หรั บ คอมพิ ว เตอร ก็ คื อ “โต ะ ทํ า งาน ” แต จ งลื ม เรื่ อ ง คําศัพทที่มันใชเรียกสวนประกอบบนหนาจอของตัวมันเองไปกอนชั่วคราว เพราะผมกําลัง จะเลาที่เรื่องอื่น . . . สมมุติวาคอมพิวเตอรทั้งตัวนั่นแหละเปน “โตะทํางาน” สวนประกอบที่สําคัญที่สุดของมันก็คือ hard disk หรือพื้นที่ที่เราใชจัดเก็บขอมูล ผมจะ บอกวามันก็ไมตางอะไรกับ “ลิ้นชัก” . . . แนนอนที่โตะบางโตะมีหลายลิ้นชัก hard disk ก็อาจจะมีไดหลายตัว หรืออาจจะมีตัวเดียวแตแบงยอยออกเปนหลายลิ้นชักก็ได การแบง hard disk ออกเปนหลายๆ ชองเก็บเขาเรียกกันวาเปนการแบง partition . . . ซึ่งเจาตัว หลังนี้ แปลกันตามคําศัพทของมันก็แปลวา “ฉากกั้น” อีกตัวนึงที่เกี่ยวกับการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรก็คือ RAM ยอมาจาก Random Access Memory เขาแปลเปนไทยแบบชาตินิยมวา “หนวยความจํา” . . . หลายคน มักจะสับสนระหวาง hard disk กับ RAM เพราะเชื่อวามันมีเอาไวจําดวยกันทั้งคู การที่ RAM นอยกับการเพิ่มขนาดของ hard disk เปนคนละเรื่องกัน . . . เพราะถาจะใหเห็น ภาพที่ชัดเจนผมก็จะเปรียบเทียบ RAM กับ “หนาโตะ” เทานั้น “ลิ้นชัก” กับ “หนาโตะ” ตางกันขนาดไหน hard disk กับ RAM ก็ตางหนาที่กันอยางนั้น เราล วงมือลงไปทํา งานใน “ลิ้ น ชัก ” ไมได แตเราตองหยิบ งานขึ้น มาทําบน “หนา โตะ ” ถูกมั้ย? . . . “หนาโตะ” มีไวเปนพื้นที่ในการทํางาน สวน “ลิ้นชัก” มีไวเก็บงานที่เราทํา

เสร็จแลว RAM

ที่มีมากจึงหมายถึงพื้นที่ที่เราสามารถหยิบงานขึ้นมาทําพรอมๆ กันไดหลายชิ้น หรือหยิบงานขนาดใหญๆ ขึ้นมาทําไดงาย เพราะไมตางอะไรกับการที่เรามี “หนาโตะ” ใหญๆ เอาไวเบงทับใครๆ วากูนี้เปนคนสําคัญ . . . ทํานองนั้น ☺

สวน hard disk ที่มีขนาดใหญๆ ก็ไมตางอะไรกับการที่เรามีตูเก็บเอกสาร หรือมี “ลิ้นชัก” กวางๆ ลึกๆ ที่เก็บงานไวไดประมาณ 3 ชั่วอายุคน โดยไมตองลบทําลายเลย แตขนาดของ RAM หรือ hard disk นี้ไมไดวัดกันที่รูปทรงภายนอก แตวัดจากความ หนาแนนของสารแมเหล็กที่ใชและชิ้นสวนประกอบที่เรียกวา IC บนแผงวงจรอิเล็คโทรนิค เปนสําคัญ ไมอยางนั้นแลวเราคงตองเพาะกายประกอบการเรียนคอมพิวเตอรไปดว ย เพราะเราจําเปนตองมีขนาดของ RAM และ hard disk มากขึ้นๆ ตามปริมาณและ จํานวนประเภทของโปรแกรมที่เราจะตองใชงานอยูทุกวันๆ คอมพิวเตอรเปนตัวอะไรที่มีความเรียบรอยมาก ทุกครั้งที่เราปดเครื่อง มันจะจัดการเก็บ กวาด “หนาโตะ” ใหเรียบเสมอ . . . เพราะฉะนั้นถาเราเองที่ลืมเก็บงานเขาลิ้นชัก เจาตัว ประหลาดนี่จะจัดการกวาดงานของเรานั้นทิ้งไปหนาตาเฉย . . . มันนั่นแหละที่หนาตาเฉย สวนไอที่หนาเหยเกก็คือเราที่ทะลึ่งไมเก็บงานซะเอง . . . แตถึงกับทําใหงานที่เคยเก็บอยู ในลิ้นชักแลวหายไปมั้ย จริงๆ มันก็ไมโหดรายขนาดนั้น เพราะมันจะจัดการทิ้งไปเฉพาะ สวนที่ยังไมไดจัดเก็บเทานั้นเอง . . . นี่คือธรรมชาติของมันและเราก็ไมสามารถกลาวโทษ ตําหนิมันได เพราะเราตองโทษตัวเองที่เก็บงานไมเรียบรอย

เราจะเรียกมันวา “Computer Basic” Page 3 of 7

หนวยวัดขนาดของ RAM และ hard disk เรียกกันเปน “ไบท” (bite) แตปกติเราจะไม คอยเห็นหนวยพื้นฐานอยางนี้ เพราะเรามักจะเห็นเปน “เม็กกะไบท” (MB) หรือ “กิกกะ ไบท” (GB) แบบเดียวกับที่เราเห็นหนวยวัดระยะทางเปน “กิโลเมตร” (km) ยังไงอยางงั้น เลย . . . ซึ่งจริงๆ แลวมันเปนหนวยวัดมาตรฐานสากลที่เปลี่ยนชื่อหนาหนวยนับทีละ 1000 หนวย คือ 1000 เมตร = 1 กิโลเมตร, 1000 กิโลเมตร = 1 เม็กกะเมตร, พอ 1000 เม็กกะเมตร = 1 กิกกะเมตร, 1000 กิกกะเมตร = 1 เทอราเมตร . . . ในหนวยที่ เปน bite (B) ก็คลายๆ กัน มันก็จะมี kB, MB, GB แลวก็ TB เปน step ของมันไป (แตก็รูไวใชวา ในระบบคอมพิวเตอรที่ใชระบบเลขฐานสอง มันจะกระโดดขามหนวยกัน คราวละ 1024 ไมใช 1000 พอดีๆ เทานั้นเอง) ประมาณกันวา 1 bite ก็คือ 1 ตัวอักษร แตก็เปนอักษรทางคอมพิวเตอรนะ อยาพยายาม นับตัวอักษรที่เห็นบนจอก็แลวกันเพราะนอกจากจะเสียเวลาแลวมันก็ไมคอยจะตรงกับที่ เราเขาใจซักเทาไหร เพราะในขอมูลที่จัดเก็บนั้น โปรแกรมแตละตัวจะมีการเขียนรหัส บางอยางควบคุมเอาไวเพื่อการใชงานดวยเสมอ และเปนสวนที่เราไมสามารถมองเห็นดวย สายตา ใหรูวาหนวยนับของมันเรียกวาอะไรและประมาณไหนเทานั้นก็พอ ตัวที่เอยมากอนตรงนี้คือ RAM และ hard disk คือตัวที่เราจะตองเกี่ยวของเสมอไม ทางใดก็ทางหนึ่ง การเลือกขนาด hard disk ทําไดงายกวาขนาดของ RAM เพราะมันมี หนาที่เพียงการจัดเก็บขอมูล สวน RAM นั้นเกี่ยวกับพื้นที่ในการทํางาน ซึ่งไปเกี่ยวของ กับเรื่องของโปรแกรมที่เราจะเลือกใชงานดวย

2

ในระบบการทํางานของคอมพิวเตอร เราแยกกันคุยเปน 2 เรื่อง เรื่องนึงก็คือ hardware สวนอีกเรื่องนึงก็คือ software hardware

คือสวนที่จับตองได เรียกวาเปนวัตถุที่สามารถจับตองได เชนเดียวกับสาย ไฟฟาแรงสูงที่ดูเหมือนจับตองได เพราะบางสวนก็ไมควรไปจับตองเหมือนกัน ในกรณีของ RAM และ hard disk ถือเปน hardware (ฮารดแวร) แลวก็ยังมีสวนอื่นๆ เชน keyboard หรือชองเสียบอุปกรณตางๆ เหลานี้ถือเปน hardware ทั้งหมด เรียกแบบนักภาษาศาสตรชาตินิยมกินกบาลวา “ละมุนภัณฑ” ปกติเรามักจะ ไดยินชาวบานที่ไมรักภาษาไทยเขาเรียกกันวา “โปรแกรมคอมพิวเตอร” สวนนี้คือสวนที่ไม สามารถสัมผัสไดดวยมือ แตตองสัมผัสทางอารมณเทานั้น เพราะบางครั้งมันก็กวนโมโห โดยที่เราไมเห็นตัวมันเอาซะเลย โดยเฉพาะเวลาที่มันทําอะไรที่ไมใชอยางที่ใจเราตองการ . . . software แบงออกเปน 2 ประเภท เรียกวา โปรแกรมควบคุมระบบ (Operating System) และโปรแกรมประยุกต (Application Software)

software

ตัวอยางของ Operating

System ก็จะมีที่รูจักกันแพรหลายเชน DOS, Windows, OS2, Netware, UNIX, MacOS, Linux และอื่นๆ สวนมากมันก็คือ software ที่ ควบคุมการใชงานของชิ้นสวนทางดาน hardware เปนหลัก ถือเปนตัวประสานงานกับ

เราโดยตรงในการสั่งงานอุปกรณตางๆ ที่ติดตั้งอยูกับเครื่องคอมพิวเตอรนั้นๆ . . . โดย ปกติถือวาไมไดมีประโยชนในการใชงานอื่นใดเลย นอกจากจะมี Application หรือ โปรแกรมประยุกตสอดแทรกเขามาระหวางกลางอีกชั้นหนึ่ง สิ่งที่ทําใหคอมพิวเตอรแสดงอิทธิฤทธิ์ไดอยางนาอัศจรรยก็คือโปรแกรมประยุกต หรือ Application นั่นเอง มันคือสวนที่สื่อสารกับเราโดยตรง ผานอุปกรณที่ตอพวงกับ คอมพิวเตอรอยาง keyboard และจอภาพ ซึ่งทั้งหมดนั้นอยูภายใตการควบคุมของ Operating System (OS) หรือโปรแกรมควบคุมระบบ ทั้งตัว Application และ OS

เราจะเรียกมันวา “Computer Basic” Page 4 of 7

จะตองประสานกันเปนอยางดีกับ “ตัวเรา” จึงจะสามารถแสดงปาฏิหารยทางเครื่องจักรกล ชนิดนี้ได . . . อยาลืมวา “ตัวเรา” คือตัวแปรสําคัญในเรื่องนี้เสมอ เพราะนี่คือ “กฎแหงกู” Application ในวงการธุรกิจ แยกเปนกลุมหลักๆ แค 3 ประเภทเทานั้นคือ 1. Word Processor

เป น โปรแกรมประยุ ก ต ป ระเภทการประมวลคํ า หรื อ การพิ ม พ เ อกสารแทน เครื่องพิมพดีดนั่นเอง ทุกวันนี้คงไมตองพูดถึงตัวอื่นนอกจาก Microsoft Word 2. Database

เปนโปรแกรมประยุกตประเภทฐานขอมูล ทําหนาที่ในการจัดเก็บและบริหาร ฐานขอมูลตั้งแตขนาดเล็กๆ จนถึงขนาดใหญโตมโหฬารกระดับโลกไปเลยก็ได ถา hard disk มีพื้นที่พอใหทํากันขนาดนั้น กลุมนี้ถือเปนกลุมใหญที่สุดและมี ความหลากหลายมากที่สุด เกือบจะเรียกไดวาไมมีคายใดคายหนึ่งผูกขาดแต เพียงผูเดียว เนื่องจากความตองการในการจัดเก็บและการใชงานของฐานขอมูลมี ความแตกตางกันมากระหวางองคกรแตละแหง ในโลกของยุคขอมูลขาวสารนั้น software ในตระกูลนี้ถือเปนแกนหลักของ ระบบไปเลยก็วาได เพราะอิทธิฤทธิ์ของ software ในตระกูลอื่นๆ จะฉายฉาน ไดเต็มที่ก็ตอเมื่อสามารถนําขอมูลในระบบฐานขอมูลมาใชประโยชนไดมากนอย แคไหนดวยเสมอ Application ในกลุมนี้จะมีตัวหลักๆ ที่เราใชงานก็คือตระกูล XBase ที่มี dBase, FoxBase และ Clippers เปนหัวหอกในวงการ สวนพวกรุนใหมก็จะ มี Microsift Access และพวกที่เปน SQL ที่เรายังไมไดเริ่มใช เพราะความ

ยืดหยุนของโครงสรางขอมูลมีความซับซอนมากกวา 3. Spreadsheet

เปนโปรแกรมประยุกตที่เรียกกันวา “กระดานคํานวณ” เปน Application ที่ใช งานไมยากมาก แตอิทธิฤทธิ์นาตื่นตาตื่นใจสําหรับคนที่เริ่มใชงานคอมพิวเตอร ใหมๆ พอสมควร เพราะคํานวณอะไรตอมิอะไรไดอยางรวดเร็ว ซ้ํายังสามารถ จัดการกับฐานขอมูลขนาดยอมๆ ไดอยางสบายๆ อีกดวย จริงๆ แลวถาเริ่มใช เครื่ องคอมพิว เตอรใหมๆ แลว ถูกหลอกใหเ ลน โปรแกรมในกลุม นี้สํ า เร็จก็จะ สามารถทําใหคนๆ นั้นติดงอมแงมกับคอมพิวเตอรไปเลยก็วาได ในระยะหลังๆ นี้เมื่อเอยถึง Spreadsheet ก็คงเหลือเพียงหนึ่งเดียวใหพูดถึงคือ Microsoft Excel

ยังมี Application ในกลุมอื่นๆ อยูบางแตก็คอนขางเฉพาะงานเกินไป เชนโปรแกรม เกี่ยวกับการทํางาน graphic หรือตัดตอรูปภาพ(โป), โปรแกรมที่เกี่ยวกับการเขียนแบบ ทั้งงานดานสถาปตยกรรม และวิศวกรรม หรือโปรแกรมที่จัดการเกี่ยวกับงานพิมพขนาด ใหญ ซึ่งพวกเราเขาไปเกี่ยวของนอยมาก ก็คงละไวในฐานที่เขาใจวายังมีอีกเยอะ แตที่ เกี่ยวกับเราก็จะมีเพียง 3 กลุมหลักๆ ที่เอยไวนี้เทานั้น

“โตะทํางาน” ชักจะรกแลวนะ . . . เก็บกวาดซะหนอยดีกวา เดี๋ยวจะเลาเรื่องอื่นตอแลว !!

เราจะเรียกมันวา “Computer Basic” Page 5 of 7

เราจะเรียกมันวา “งาน” ตอนที่แลวเราทําความรูจัก “โตะทํางาน” กับสวนประกอบของโตะไปบางแลว เลายอนยอๆ กันพอใหเห็นภาพวา . . . hard disk ก็เหมือนกับ “ลิ้นชัก” สําหรับเก็บเอกสาร RAM ก็เหมือนกับพื้นที่ “หนาโตะ” ทํางานของเรา Operating System หรือโปรแกรมควบคุมระบบ นาจะเหมือน “ปากกา” Application Program ก็นาจะเหมือนกับ “หมึกและกระดาษ”

แลวก็ “กู” ก็คือคนที่ใชปากกาที่มีหมึกเขียนอะไรๆ ลงไปที่กระดาษบนโตะกอนที่จะเก็บใส ลิ้นชักใหเรียบรอย

แลวเก็บยังไงถึงเรียกวาเรียบรอยโดยไมตองรองเรียกความชวยเหลือ? ปญหาใหญของการใชงานคอมพิวเตอรก็คือ ทุกอยางที่เรากระทําลงไปมันคลายกับภาพ สมมุติที่เราจะตองจิน ตนาการตามไปตลอดเวลา งานหรือขอมูลที่เ ราจัด เก็ บเขา ไป ดู เหมือนหายวับไปกับตา โดยที่เราจะเห็นมันอีกก็ตอเมื่อเราเปดมันขึ้นมาบนจออีกครั้ง ไม เหมือนการจัดเก็บเอกสารจริงๆ ที่เห็นกันเปนตั้งเปนกองเปนตูเปนพะเรอเกวียน มีใหนับมี ใหจับใหลูบคลําอยางหนําใจ . . . แตการเก็บงานในคอมพิวเตอรนั้น จะวาตูก็เปนตูหลอกๆ จะวาลิ้นชักก็ดูแคคลายๆ จะวาเปนงานก็สงสัยวามันเอาไปซุกไวที่ไหน สิ่งที่จัดเก็บไวในคอมพิวเตอรเราเรียกกันวา “ไฟล” อานจากภาษาอังกฤษคําวา File . . . บางคนชอบแปลเปนไทยวา “แฟมขอมูล” แตแลวก็ใบกินเมื่อมาเจอคําวา Folder ที่ แปลวา “แฟม” อีกเหมือนกัน . . . ตกลงวาชาตินิยมไดครึ่งเดียว . . . สมน้ําหนา!! เราจะเรียกมันวา “ไฟล” ก็แลวกัน (สะกดดวยภาษาไทยเพื่อจะไมแสลงใจพวกชาตินิยม แลวนะเอา !!) แตใหลองนึกภาพของการจัดเก็บเอกสารใหดีๆ เราจะไมยัดเอกสารทั้งหมด ไวในลิ้นชักเดียวถูกมั้ย หรือไมอยางนั้นเราก็ไมไดยัดมันไวรวมๆ กันทุกๆ เรื่องอยูในชอง เดียวกันจริงรึเปลา อยางนอยเราก็ยังพยายามจัดหมวดหมูของมัน ดวย clip หนีบบาง ดวยแฟมออนบาง ดวยแฟมแข็งบาง แยกออกจากกันเปนเรื่องๆ . . . ใชรึเปลา? การเก็บ “ไฟล” ในระบบคอมพิวเตอรก็เหมือนกัน เราจะเอา “ไฟล” เรื่องเดียวกันหรือที่ เกี่ยวของกันไวในที่เดียวกัน ไอที่เดียวกันที่วานี่แหละเราเรียกมันวา Folder (อานวา “โฟลดเดอร” ไมใช “โฟลดเยอร” นะ ตัวหลังสําหรับพวกนักภาษาสติแตกเขาเขียนกัน) สมัยกอนเขาเรียกกันวา directory แปลเปนไทยวาอะไรไมรู . . . ปวดใจนักภาษาศาสตร ยิ่งนัก !! ความไมเหมือนกันอีกอยางของระบบการจัดเก็บของไฟลในคอมพิวเตอรกับเอกสารฉบับ จริงๆ ก็คือ เราสามารถจัดเก็บไฟลใน folder ที่ซอนอยูใน folder ลงไปหลายๆ ชั้นก็ได ซึ่งในโลกของความเปนจริงไมสามารถทําอยางนั้นไดกับไฟลที่เปนกระดาษ และแทบจะ เปนไปไมไดที่ลิ้นชักเอกสารจริงๆ จะมีพื้นที่เพียงพอใหเราจัดเก็บกระดาษในแบบที่เราใช ในคอมพิเตอร . . . แตก็เอาเถอะ เพราะเราเอาวิธีคิดกับแนวความคิดเทานั้นที่นํามาใชใน การเปรียบเทียบนี้

เราจะเรียกมันวา “Computer Basic” Page 6 of 7

เมื่อเราจะเก็บไฟลลงไปใน hard disk ตัวระบบเองก็จะถามหาชื่อเรียกที่เราจะตองเปน คนกําหนดขึ้นมา แบบเดียวกับที่เราตองเขียนอะไรซักอยางลงบนสันแฟมเพื่อใหตัวเองหา งายๆ อยางนั้นแหละ . . . ตรงนี้มีขอกําหนดเล็กนอยที่จะตองจําใหดีๆ 1.

ชื่อไฟลควรจะมีความยาวไมเกิน 8 ตัวอักษร (แมวาในระบบคอมพิวเตอรปจจุบัน จะสามารถทําไดมากกวานั้นก็ตาม แต Windows ที่เปนระบบปฏิบัติการยอด นิยมกลับทํางานแบบคลุมดีคลุมรายกับชื่อไฟลยาวๆ)

2.

หามใสเ ครื่องหมายวรรคตอนใดๆ หรือเครื่องหมายที่ไมใชตัวอักษร (ยกเวน ตัวเลข) ลงไปเปนสวนหนึ่งของชื่อ แมแตชองวางก็ไมควรใช เพราะ Windows ไมคอยเกงกับวิธีที่แสนชาญฉลาดของเรา

3.

นามสกุลหรือสวนขยายทายชื่อไฟล ปลอยใหเปนหนาที่ของ software นั้นๆ เปนตัวกําหนด อยาไปยุงกับมันถาไมจําเปน (ในกรณีที่เราอยากระบุลงไปเอง ให ใสไดไมเกิน 3 ตัวอักษรเทานั้น)

4.

กฎเกณฑเดียวกันนี้ ใหถือปฏิบัติกับชื่อของ Folder ขึ้นมาดวยเสมอ

ตางๆ ที่เราจะสรางมัน

และสวนที่ทั้ง OS และ Application จะตองเกี่ยวของกันอีกอยางก็คือ ไฟลนั้นถูกสราง โดย Application แต Folder จะตองถูกสรางโดย OS เทานั้น สวนใครจะเปนผูกําหนด วาตองสราง Folder หรือไมก็คือ “ตัวกู” นั่นเอง นี่คือหลักการพื้นฐานที่เราจะตองใชเพื่อการสรางไฟล หรือที่เราจะเรียกมันวา “งาน” นั่น แหละ การแยกชองเก็บ หรือแยกกลุมของไฟลเราตองเปนผูแยก หรือจําแนกเปนเรื่องๆ ดวยตัวของเราเอง ผานคําสั่งของ OS เพื่อแบงซอยพื้นที่ใน hard disk ใหเปนระเบียบ ตามที่เราตองการ การสรางไฟลจะสรางผาน Application เทานั้น สวนการลบไฟลออก จาก hard disk ก็ยอนกลับไปเปนเรื่องของ OS อีก เพราะมันเกี่ยวกับการบริหาร คอมพิวเตอรสวนที่เราเรียกวา hardware จําไดมั้ย? hard disk ถือเปน hardware ชิ้นนึงของระบบ ดังนั้นการจัดการอะไรกับ hard disk จึงตองใชคําสั่งของ OS เปนตัว จัดการ การโอนยายขอมูล หรือการ copy ที่เรียกวาทําสําเนาขอมูล ก็เปนเรื่องของการ จัดการ hard disk จึงเปนเรื่องของ OS สวน Application เปนเรื่องของการสรางไฟล ใหมเทานั้น ไมมีสวนเกี่ยวของกับการบริหารพื้นที่ใชสอยใน hard disk แตประการใด ทั้งสิ้น สําหรับคําถามวาเราจะสรางไฟลไดยังไง? เราจะเรียกไฟลออกมาใชงานไดยังไง? หรือ แมแตเราจะจัดการกับ hard disk ในลักษณะงานตางๆ ยังไง? เปนเรื่องของรายละเอียด ที่ไมใชหัวใจหลักของความรูพื้นฐาน . . . ที่สําคัญคือหลักการในการใชงาน สวนคําสั่งจะ เปนอะไรนั้นขึ้นอยูกับ software ที่เราเลือกและใชบนพื้นฐานที่ถูกตองนี้เทานั้นจึงจะ สมบูรณ หากทุกคนเริ่มตนจากการกระโดดใสที่การทองจําคําสั่งตั้งแตแรก การจัดเก็บใน ระบบขอมูลก็จะเลอะเทอะ และสรางปญหาใหตัวเองไวไปคอยโทษกฎแหงกรรมอยูร่ําไป การที่เครื่องคอมพิวเตอรดูเหมือนกับควบคุมไดยาก เพราะเราเองไมพยายามควบคุมมัน เองตั้งแตเริ่มหัดใชซะมากกวา . . . อยาไปโทษฟาโทษแผนดิน เพราะนี่เปนดินแดนของ “กฎแหงกู”

เราจะเรียกมันวา “Computer Basic” Page 7 of 7

เราจะเรียกมันวา “สรุป” ปกติผมก็สอนคอมพิวเตอรทุกคนแคนี้ เพราะที่เหลือเปนรายละเอียดที่สามารถหาอานเอา เองไดจากตําราหรือแผน CD ที่ไหนก็ได หรือไปหาเรียนเอาเองจากศูนยทีเขาเปดอบรม กันอยูดาษดื่นทั่วประเทศ หรือไมก็ตะบันใชงานมันไปเรื่อยๆ กับ software ที่เรา จําเปนตองใชงาน แตเอกสาร 5-6 หนานี้เทานั้นที่จะไมมีการเขียนหรือบอกเลาไวใหพวก เราเขาใจในที่อื่น (ยกเวนตําราที่ไมคอยมีคนนิยมอานกันบางเลมเทานั้น) แนนอนที่มันดูเปนเรื่องบาบออยางที่สุด ที่ผมจะบอกทุกคนวาคอมพิวเตอรที่จําเปนตองรูก็ มีเพียงเทานี้เองที่สามารถบอกเลาเปนตําราได ที่เหลือก็จะตองเรียนจากของจริงเทานั้น คูมือหรือตําราทั้งหลายก็เพียงแตสรางเหตุการณณจําลองขึ้นมา เพื่อบอกเลาวิธีใชงานของ software แตละตัวเปนการเฉพาะ แตละตัวก็จะมีพื้นฐานที่แตกตางกันบาง แตหัวใจ หลักๆ ของการบริหารจัดการคอมพิวเตอรมีแคนี้จริงๆ พวกเราเชื่อหรือไมวานักแขงรถใชรถยนตที่มีจํานวนเกียรมากกวาของเรา หรือวาเขามี พวงมาลัยมากกวาหนึ่งที่ไมเหมือนกับรถของเรารึเปลา? มันก็อีหรอบเดียวกันทั้งนั้นครับ ผมเริ่มตนจากที่ตัวเองรูเทานี้ แลวก็ตะบันมันเขาไปอาทิตยละกวา 100 ชั่วโมงจนกระทั่ง ปจจุบัน . . . อืมม . . . ซักกวา 10 ปเห็นจะไดถึงจะเปนอยางที่ทุกคนเห็นในวันนี้ โดยไม คอยจะไดอานตํารับตําราดานนี้มากนัก (หนังสือตุนไวเยอะครับ แตเอาไวคนไมไดเอาไว อาน) มันเปนเรื่องที่ตองอาศัยเวลาในการบมเพาะพอสมควร ผมยังถือวาตัวเองเปนเพียง user รายหนึ่งของโลกเทานั้น ยังไมถึงขั้นที่จะเขียนโปรแกรม หรือพัฒนา software ตัวหนึ่งตัวใดขึ้นมาใชงานอยางจริงๆ จังๆ แตผมก็เปน “ผูใช” ที่ “ใช” จริงๆ ใชแบบ “โคตรใช” และสรรหาทุกวิถีทางที่จะใชบนพื้นฐานของ “กฎแหงกู” ที่วา มาทั้งหมดนี้ ปญหาสําคัญของ “การใชงาน” คอมพิวเตอรก็คือ เราจะตองรูจักตัวเอง ตองรูวาตัวเอง ตองการอะไร ตองการใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานอะไร ประเภทไหน และควรจะใช software ประเภทอะไรไปสั่งงานมัน . . . สั่งยังไงเปนเรื่องหลังสุดเสมอ . . . ในขณะที่ ตามโรงเรียนที่เขาสอนเขาจะสอนไลจากทายสุด คือสอนวิธีการใชคําสั่งกอน แลวคอยๆ ตอดเอาเงินเราไปเรื่อยๆ โดยไมยอมสอนพื้นฐานที่ถูกตองซะที !! เอาละ !! ตอนนี้มีเครื่องคอมพิวเตอรที่พรอมใชงานกันคนละเครื่องแลว ลองถามดูซิวา อยากใหมันทําอะไรใหเราบาง . . . ถาอยากใหมันทําทุกอยางแทน “กู” ละกอ . . . ไปเกิด ใหมไดเลย !! เพราะคอมพิวเตอรทําไมไดอยางเดียวคือ “การคิด” และหนาที่ในการคิดเปน หนาที่โดยตรงของพวกเรา . . . มันเปนแคเครื่องมือที่ชวยใหเรื่องที่เราคิดมันเสร็จเร็วขึ้น เทานั้นเอง . . . ผมถึงบอกไวแลวไงวาสวนผสมที่สําคัญที่สุดยังเปน “ตัวกู” เสมอ !! ลองคํานวณผลคูณของ 1458412563896 x 5695425845 แลวหารดวย square root ของ 125489653 แลวเอาทั้งหมดไปยกกําลัง 3 เพื่อหาจํานวนเต็มที่เกิดขึ้นดูสิ ถา นี่คือขอสอบสําหรับตัดสินวาใครจะไดขึ้นสวรรคหรือลงนรก โดยจํากัดจํานวนคนที่สามารถ ทําเสร็จกอน ซึ่งทุกคนจะตองแยงกันทําใหเสร็จเร็วที่สุดเทานั้น . . . คําวา “เร็วกวา” มี ความหมายประมาณนั้นในโลกปจจุบันครับ !!

Related Documents

Basic Computer
June 2020 10
Basic Computer
November 2019 25
Computer Basic
November 2019 29
Computer Basic
November 2019 26
03 Basic Computer Network
November 2019 12
Basic Computer Terms
May 2020 13