การเสวนาวิชา ภูมิปญญาไทย ผูดําเนินการเสวนา วิทยากร
ร.ศ. วิยะดา :
รองศาสตราจารยศรีเพ็ญ ศุภพิทยกุล 1). ศาสตราจารย หมอมราชวงศแนงนอย ศักดิ์ศรี เกษียณอายุราชการจากคณะ สถาปตยกรรมศาสตร ผลงานภูมิปญญาไทยที่ศึกษาไวอยางหลายแง หลายมุม โดยเฉพาะดานสถาปตยกรรม บาน วัง วัด และอื่น ๆ 2). รองศาสตราจารยวิยะดา เทพหัตถี เกษียณอายุราชการจากคณะพฤกษศาสตร ศึกษาภูมิปญญาไทยที่แฝงอยูในพฤกษศาสตร 3). ดร.ธีรวัต ณ ปอมเพชร อาจารยภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร รวมกับอาจารยที่ปรึกษาวิชาภูมิปญญาไทย
ความหมายของคําวา ภูมปิ ญญาไทยมีความหมายโดยรวม หมายถึง ความรูความสามารถ ความคิด ความเชื่อ วิธีการ เทคนิค ความชํานาญในทุก ๆ ดาน แตสิ่งที่เปนความรูความสามารถ เปนสิ่งที่คนไทยสรางขึ้นดวยสติปญญาของทาน ถายทอด สืบตอกัน จากบรรพบุรุษรุนแลว รุนเลา จนถึงปจจุบันและมีการพัฒนา ปรับปรุง แกไขใหเหมาะสมกับยุคสมัยนั้น ๆ เลือกสรร สิ่งที่ดีที่สุดแลวสงตอไปยังรุน ตอไป ดังนัน้ เมื่อมาถึงรุนของเราในปจจุบัน เราจึงพูดไดวา ภูมิปญญาไทยเปนสิ่งที่ไดรับการคัดสรรแลว ภูมิปญญาไทยที่เรารูจักนั้น อาจจะมองวาเปนสิ่งผิวเผินในมุมมองทางดานความรูใน สาขาตาง ๆ เชน ดานวิทยาศาสตร การผลิตผลงานหรือสิ่งของ มีเหตุผลมากนอยเพียงไร ยกตัวอยางเชน การทําสวนในอดีตจะเปนสวนผลไมแบบผสมผสาน ปลุกตนไมหลายอยาง เชน สวนทางฝงธน มีทุเรียน มังคุด ลําไย กลวย มะพราว มะไฟ สม สิ่งที่เราจะไดก็คอื การที่ ตนไมแตละอยางทยอยใหผลผลิตในชวงเวลาที่แตกตางกัน ชาวสวนจะมีงานทํากันทั้งป มี รายไดตลอดทัง้ ป เมื่อหมดพืชผลตามฤดูแลว ก็เก็บเกี่ยวพืชผลอยางอื่นที่ออกตลอดทั้งป มีการ ทําสวนแบบยกรอง ยกดินมีรองน้ําทั้ง 2 ดาน เหตุผลที่ทาํ สวนแบบยกรอง คือ ความชื้นในสวน จะไดมากเพียงพอ จากน้ําทีร่ ะเหยขึ้นมา และมีอุปกรณทอี่ อกแบบไวสําหรับรดน้ําตนไมจาก รองสวนโดยเฉพาะ นิสิตอาจจะเคยเห็นอุปกรณในรูปแบบที่เปนไมไผสานหรือทําจากสังกะสี และมีดามยาว ๆ ชาวสวนก็จะไปยืนอยูริมตลิ่งหรือริมรองสวนแลววิดน้ําขึ้นมารดตนไม ไมตองใชน้ําจากที่อื่น ไมตองตอทอสําหรับรดตนไม ถาน้ําในสวนหมดทํายังไง ชาวสวนก็จะ ตอทอใหน้ําเขาและออก ถามีน้ําในรองสวนนอย รอใหนา้ํ ขึ้น แลวกักเก็บไว ถาน้ํามากก็รอน้ํา ลด แลวปลอยน้ําออกไป
ตัวอยางที่อาจารยยกมา คือ ทางดานวิทยาศาสตร ซึ่งจะเห็นไดวา คนไทยในสมัยกอน มีความรูคอนขางมาก ไมวาจะเปนในดานการเกษตรที่เปนอาชีพหัวใจหลักของคนไทย หรือ ในดานอืน่ ก็ตาม ร.ศ.ศรีเพ็ญ :
ตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน เราจะเห็นไดวา ภูมปิ ญญาไทยในแงของทางดานวิทยาศาสตรเปน อยางไรบางแลว ตอไปขอเชิญทานอาจารยธีรวัต ใหมุมมองในเรื่องภูมิปญญาไทย
อาจารย ดร.ธีรวัต : ปญหาในการมองภูมปิ ญญาไทยในเชิงประวัติศาสตร พบวา นักประวัติศาสตรที่ศึกษา ประวัติศาสตรไทยจะตองมองในบริบทสากล คือ จะตองดูพฤติกรรมของผูนํา ปฏิกิริยาของ ผูนําหรือชนชัน้ นําในแตละประเทศวา เมือ่ เผชิญกับวิกฤตการณไมวาจะเปนสงครามหรือการ ตางประเทศ มีปฏิกิริยาอยางไร มีทาทีอยางไร เมื่ออาจารยศึกษาประวัติศาสตรจากตางประเทศถูกปลูกฝงใหมองประวัติศาสตรทุก อยางเปนสากล ยกตัวอยางเชน พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ “เกง” มีพระปรีชาสามารถใน การดําเนินนโยบายตางประเทศ เมื่อเทียบกับพระเจามินดงในพมาที่อยูในชวงเวลาเดียวกัน และมีนโยบายคลายกัน แตทาํ ไมพมาตองกลายเปนเมืองขึน้ แตไทยไมเปน จากจุดนี้เองที่ อาจารยศึกษาไปเรื่อย ๆ ไมวาจะเปนสมัยพระนารายณหรือสมัยพระจอมเกลาฯ หรือพระ จุลจอมเกลาฯ ก็เลยไดขอคิดขึ้นมาวา บางอยางก็เปนภูมิปญ ญาไทยในการที่รูจัก ประนีประนอม ซึ่งถึงแมจะเปนคุณสมบัตสิ ากลก็จริง แตเราก็ไดนํามาปรับมาใชใน สถานการณในบริบทของไทยเราเอง จนกลายเปนภูมิปญ ญาไทยได เพราะฉะนัน้ ในการเสวนา ครั้งนี้ อาจารยก็จะพูดใน 2 ประเด็น คือ 1). มีอะไรที่เราจะอางไดวาเปนภูมิปญญาไทยในประวัตศิ าสตรไทย 2). เตือนนิดหนอยวา บางอยางที่เราเห็นเปนไทย มันก็อาจจะมีในอินโดนีเซีย หรือใน ประเทศอื่นๆ ภูมิปญญาในการทําสวน ทําไร บางทีถาสภาพภูมิอากาศ หรือสภาพพืน้ ที่มีความ คลายคลึงกันอยางเชนที่ฟลิปปนส ซึ่งเขาภาคภูมิใจวามีการปลูกขาวบนเขา และที่บาหลีก็มี เหมือนกัน ดังนั้น เราจึงควรจะมองในมิตทิ ี่เปนภูมิปญญาสากลดวยเหมือนกัน และเมื่อเรามอง ทางดานประวัติศาสตรไทย เราก็ตองมาวิเคราะหวาประเทศไทยมีความสําเร็จ ความยิ่งใหญ อะไร แคไหน ร.ศ. ศรีเพ็ญ : ภูมิปญญาที่อาจารยธีรวัตพยายามขยายความเพิ่มเติมก็คือ เพื่อความอยูรอดและดีที่สุดตาม สภาพแวดลอมไมวาจะเปน ดานเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม
ศ.ม.ร.ว.แนงนอย : พูดถึงภูมปิ ญญาไทยนั้น ทานอาจารยวยิ ะดาก็ไดกลาวนําไปแลววา ภูมิปญญาไทยไดมี การสรางขึ้น มีการสืบทอด มีการคิดสรรและสงตอเรื่อยมาจากรุนหนึ่งสูรุนหนึ่งจนถึงปจจุบัน อาจารยจะขอกลาวถึงภูมิปญ ญาไทยในดานศิลปะ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ดานสถาปตยกรรม ศิลปะตาง ๆ สรางขึ้นโดยชางในสมัยกอน มีหลายแขนงมาก บางครั้งก็เรียกวา ชางสิปปหมู ซึ่งคนไทยในปจจุบันเขาใจวามีอยู 10 อยาง แตจริง ๆแลว สิปป ในที่นี้ หมายถึง สิปปะ หรือ ศิลปะทั้งหลายโดยจัดเปนหมวดหมูที่มีมากกวา 10 อยาง หลักใหญทางดานศิลปะทั้งหลายที่เรามองเห็นภาพเมื่อเราไปยังวัดใดวัดหนึ่ง เราจะ พบสิ่งแรกคือ ตัวอาคารหรือสถาปตยกรรม และเมื่อเขาไปในโบสถ สิ่งแรกที่เราจะเห็นอยูขาง ฝาโดยรอบตลอดทั้ง 4 ดานก็เปนจิตรกรรม หลักใหญ ๆ ของงานศิลปะในชวงนี้ก็มีดาน สถาปตยกรรม จิตรกรรม และประติมากรรม เปนตัวหลัก สถาปตยกรรม ประกอบดวย ตัวอาคารที่เกิดขึ้น อาจารยขอใหนิสิตนึกถึงวัดกอน จะ เปนวัดใดวัดหนึ่งก็ได เมื่อนิสิตเขาไปเห็นพระอุโบสถ ไมไดหมายความวา นิสิตจะเห็นแตตวั อาคารอยางเดียว มันยังมีสิ่งประดับตกแตงอีกเยอะแยะ เชน ปูนปนตามที่ตาง ๆ หรือการ ประดับกระจก สวนประดับหัวเสา สวนหนาบัน สิ่งตาง ๆ เหลานี้จะเปนชางอีกพวกหนึ่ง อยาง ชางประดับกระจกพวกนี้กเ็ ปนชางประดับกระจกโดยเฉพาะ เขาไมไดทําอยางอื่น หรือชางปน องคพระพุทธรูป ก็ตองตองพิจารณาวาทําดวยอะไร ถาทําดวยปูนปนก็เปนชางปนพวกหนึ่ง ถา เปนพระพุทธรูปที่ทําดวยโลหะก็เปนชางหลอ ดังนั้น เราจะเห็นไดวา มีชางตาง ๆ เยอะมาก แต ก็จะเห็นไดวาทางดานศิลปะ ไมวาจะเปนสถาปตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรมทั้งหมด นี้ไมไดมกี ารหยุดนิ่ง ถึงไดเกิดเปนศิลปะหลายแบบทั้งทวารวดี กรุงธนบุรี อยุธยา และ รัตนโกสินทรเปนตน มีการเลื่อนไหลอยูตลอดเวลา ความเลื่อนไหลอันแรก คือ ความคิดสรางสรรค (Creativities) ของชาง และบางครั้งก็ จะเห็นไดวา ชางเปนคนขี้เบือ่ ถาทําอะไรจําเจ ซ้ํา ๆ ซาก ๆ ก็อยากจะทําอยางอื่นบาง สิ่งแรกที่ อยากจะเปลี่ยน คือ มองไปรอบ ๆ ตัวเราวามีอะไร ถาเผื่อวาเปนภูมิปญ ญาไทยในอดีตที่มีการ เปลี่ยนแปลง เราจะพบวาความเปลี่ยนแปลงเหลานี้มาจากอิทธิพลของตางชาติ ซึ่งมาจากการ คาขาย หรือเศรษฐกิจ สังคม ประเพณีตาง ๆ เราจะมองเห็นวา พอคนตางชาติเขามาคนไทย รับงาย เชน วัดราชโอรส ที่สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยสายตาของคนทั่วไปจะคิดวา วัดนี้ เปนวัดจีนทั้ง ๆ ที่มีลวดลายหนาบันเปนลวดลายปูนปนแบบจีน นอกจากนั้นเปนแบบไทยหมด แตวา ไทยเอาจีนมาผสม เพราะวา สถาปนิกหรือชางขี้เบือ่ ก็ลองหาวา จะทําอะไรอยางอื่นที่ มันไมเหมือนของเดิมไดบางไหม หรืออยางเชนวัดราชบพิตร ภายนอกประดับกระเบื้องเคลือบ ทั้งหมด ลักษณะสถาปตยกรรมก็เปนแบบไทยสวยงาม แตมองเขาไปขางในก็จะคิดวา ทําไม เราเปนฝรั่ง เพราะวา ขางในใสองคประกอบศิลปะของตะวันตกมาประดับตกแตง แตก็ไม
เคอะเขิน หรืออยางวัดนิเวศนทองประวัติ บางปะอิน ซึ่งรัชกาลที่ 5 บอกวา ทานอยากสรางวัด เปนตะวันตก เพื่อใหดเู ปนของแปลกสําหรับประชาชนจะไดเห็น ถาเขาไปดูขางในที่ใดเปน ที่ตั้งของพระเยซูเจา ทานก็จะเอาพระพุทธรูปมาใสแทน สวนใดทีเ่ ปนที่ตั้งของสาวกพระเยซู ทานก็จะเอาพระโมคคัลลานะ พระสาลีบุตรใสเขาไป เพราะฉะนั้น ก็จะเห็นความกลมกลืน ระหวางของไทยกับของตางประเทศ ซึ่งไทยเราไดรับอิทธิพลมาจากที่ไหน ๆ ก็ไดมาสูงาน ศิลปะ ที่เลามาทั้งหมด จะเห็นไดวา เรามีการสืบทอด มีการถายทอดแลวคิดสรรออกมา เรื่อย ๆ มาจนถึงปจจุบัน เหมือนอยางที่กรมพระยานริศฯ ไดทรงรับสั่งไว บอกวา คนไทยจะ ทํางานศิลปะใหดี ทําไดอยางเดียวคือวา กลืนลงไปแลวใหออกมาเปนเหงื่อ เหงื่อที่ออกมานั้น ก็คือ เปนการคิดสรรสิ่งดี ๆ ตาง ๆ เหลานั้นเอามาปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง จนทายที่สุด กลายเปนของไทย เปนภูมิปญ ญาไทยที่คนไทยทั้งหมดไดมีการสืบทอดและถายทอดมา ร.ศ. ศรีเพ็ญ : จะเห็นวาในเรื่องภูมิปญญานั้น ไมใชวา ทําเพื่อการอยูร อดอยางเดียว แตทําเพื่อความพึงพอใจ เพื่อความงดงาม เพื่อสะทอนความเชื่อของคนในจุดนั้น ๆ ออกมาดวย ดังจะเห็นไดจาก สิ่งประดิษฐและความคิดสรางสรรคที่เติบโตขึ้นมาเรื่อย ๆ และทานอาจารยบอกวา รับเขาไป กลืนเขาไปแลวใหออกมาเปนเหงื่อ มิใชรบั เขาไปทั้งหมดแลวออกมาโปะตั้งเอาไวโดยตรง อยางพิซซาหนากระเพรา ก็คอนขางประยุกตเล็กนอยใหเขากับคนไทย ความรูสึกของคนไทย ทําใหขายดี เปนตน ร.ศ. วิยะดา :
จากที่ทานอาจารยดร. ธีรวัตไดกลาวมา อยางไมแกะสลักของอินโดนีเซียของไทยเราก็มี แลว เราจะมีวิธีจับประเด็นอยางไร วานี่เปนภูมิปญญาไทย
อาจารย ดร.ธีรวัต : ตอบยากมาก กวาจะออกมาเปนผลงานหนึ่งชิน้ มันก็ตองผานกระบวนการและ ประสบการณหลายชั่วคน มันก็จะเปนของไทยได เพียงแตวาในบางเรื่องที่นอกจากงานฝมือ ผมจะมองในแงที่เรารับอิทธิพลจากนานาชาติทั่วโลกมาใชเพื่อประโยชน เพื่อความกาวหนา ของเราเอง ทีนี้ก็เลยลําบากวาจะตัดสินยังไงวาเปน “ภูมปิ ญญาไทย” ตอนไหนถึงไดกลายเปน ”ไทย” อยางในสถาปตยกรรมหรือประติมากรรมนี่เห็นไดคอนขางชัด แตในประวัตศิ าสตรนี้ ตอบยากวามีอะไรที่แฝงอยู เชน เมื่อครั้งที่รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสยุโรปชวงที่ฝรั่งเศสกับ อังกฤษคุกคามสยาม ถาไมระวังสยามอาจถูกยึดเปนอาณานิคมของฝรั่งเศสหรืออังกฤษได พระองคจึงเสด็จไปรัสเซียเพื่อไปสังสรรคกับราชวงศโรมานอฟ ไปเยอรมนีสังสรรคกับไก เซอร ไปพบปะกับกษัตริยเบลเยี่ยม เดนมารก คือพูดงาย ๆ วา พระองคเสด็จประพาส
อารยประเทศที่ไมใชฝรั่งเศสหรืออังกฤษเพื่อเปนการคานอํานาจกันไปในตัว ซึ่งเปนพระปรีชา สามารถหรือวิสัยทัศนของรัชกาลที่ 5 แตวา เปน “ภูมิปญญาไทย” หรือเปลานั้นไมชัดเจน นัก ประวัติศาสตรจึงตัดสินไดยากมากวาเปนภูมิปญญาไทยหรือไม แตแนนอนวาเปนภูมปิ ญญา และเปนความสามารถของผูนํา ศ.ม.ร.ว.แนงนอย : ศิลปะของแตละชาติ ยอมมาจากพื้นเพของแตละทองถิ่น นอกจากนี้ยังมีระเบียบประเพณี วัฒนธรรม มันก็จะนํามาสูศ ิลปะทั้งหมด ถาดูใหดี ๆ ศิลปะไมแกะสลักของอินโดนีเซียกับ ของไทย สมมติวาอินโดนีเซียเขาแกะสลักเปนเรื่องรามายณะเยอะมากเลย แตพระนารายณไทย กับพระนารายณอินโดนีเซียก็ไมเหมือนกัน ยักษอินโดนีเซียหนาตาก็ไมเหมือนยักษไทย รูปรางเขาตัวเล็ก ๆ แถมนุงผาตาสก็อต เปนตน รากของศิลปะอาจจะมาจากถิ่นเดียวกัน แตวา ขณะเดียวกันเมื่อมันมาถึง ณ ที่ตาง ๆ กันแลว ภูมิปญญาของทองถิ่นจะปรากฏ แลวพัฒนาใน ลักษณะ ที่แตกตางกัน ซึ่งจะเห็นไดชดั เจน ดังที่ไดกลาวไปเมื่อสักครู ร.ศ. วิยะดา :
ภูมิปญญาไทยในสาขาเกษตรกรรม ทรัพยากรสิ่งแวดลอม ศิลปะ ภาษา หรือแมแตสาขาดาน ประวัติศาสตรและการปกครอง ก็เปนสาขาของภูมิปญญาไทยเหมือนกัน ในสไลดที่อาจารย นํามาใหดูนี่เปนรวม ๆ เราดูในภาพแรก ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม เพราะฉะนั้น ความรูของคนไทยจึงสอดคลองกับสภาพแวดลอมหรือทรัพยากรของเรา การทํานาของไทยก็ จะทําในที่ราบลุม นาของเราจะเปนนาที่ใชน้ํา ไมใชนาขัน้ บันได ความสามารถในเรื่องของการ ทํานา เราจะรูว าทํานาในหนาไหนที่ฝนกําลังดี เวลาที่จะปลูกขาว การดํานา เนื่องจากมันเปนที่ ที่น้ําขังอยู ชาวนาจึงนําเมล็ดขาวไปเพาะจนเปนตนกลา เวลาเอาขาวกลาไปดําในนาก็ไมไดทํา ทีละตน เพราะวาขาวจะขึ้นมาในลักษณะที่เปนกอ ชวยกันพยุงทําใหตนขาวอยูรอดเปนตนขาว ตนโตขึ้นมาได ชาวนาจึงตองรวบตนกลาหลาย ๆ ตนเปนกําแลวดําลงไป แบงระยะหางกันให พอสมควร ในขณะเดียวกัน ในการทํานาของไทย เราก็จะใหเพื่อนของเรามาชวยทํานาและชวย ทํางานอยางอืน่ อีกสารพัด พวกที่อยูใ นที่รมิ น้ํา การทํามาหากินจะสอดคลองกับลักษณะ ภูมิประเทศ เรามีการปลูกพืชน้ํา เก็บพืชน้ําไปใชประโยชน หรือทําประมงทั้งน้ําจืดและน้ําเค็ม และสอดคลองกับสิ่งมีชีวิตที่เขาจะจับ เชน อุปกรณในการจับปลาของคนไทยที่มหี ลากหลาย รูปแบบ ทําไมตองมีหลายแบบ เพราะวาคนไทยรูว า ปลาหรือกุงที่เราจะจับมีหลายขนาด มี รูปรางแตกตางกันอยางไร ใชอุปกรณอะไรจึงจะเหมาะสม ในการทํางานอาชีพ ทําการคาขาย คนไทยอยูริมน้ําเยอะ พาหนะที่ใชจะเปนเรือ การทํากิจกรรมอะไรตาง ๆ ก็จะทําในเรือ หรือ การคมนาคมเราก็ใชเรือ แดดรอนเกินไปเวลาที่นั่งอยูใ นเรือ เรามีหลังคาเปนประทุน ถาอากาศ รอนเกินไปเวลานั่งอยูในประทุน เราก็เจาะประทุนเปนชวง ๆ เหมือนเปนหนาตาง นัง่ ไปก็ มองเห็นวิวขางทางไปดวย
เรื่องอาหาร คนไทยทําอาหารเกงมาก อาหารของเรานอกจากจะมีความสวยงามและ รสชาติอรอยเทานั้น แตคณ ุ คาทางอาหารยังมีเยอะและมีความเหมาะสม อาหาร 1 จานที่เรา มองเห็นอยูต อนนี้จะมีผักหลาย ๆ อยางที่ใหประโยชน มีปลาซึ่งใหโปรตีน เพราะฉะนั้นเราจะ ไมขาดสารอาหาร ในอาหารที่เปนประเภทแกง เชน แกงเลียงก็จะมีพืชผักหลาย ๆ อยางอยูในนี้ รับประทานแลวจะทําใหรางกายอบอุน หรืออยางอาหารจานเด็ดจานนี้ซึ่งมีสมุนไพรเยอะแยะ ไปหมด มีขิง มะนาว หัวหอม ใบชะพลู หรือแมแตพริก ที่มีสรรพคุณในการเปนยาแกทองอืด ทองเฟอได เมือ่ เราทานมะพราวคั่วที่ใหพลังงาน แตมีไขมัน เพราะฉะนั้นจะทําใหการยอย อาหารไมดี แตเราก็ไดสมุนไพรตัวอื่น ๆ มาชวย เรามีกงุ แหงเปนโปรตีน มีผักตาง ๆ นี่คือความ เหมาะสม สัดสวนที่ถูกตองในการจัดเปนอาหาร 1 จานมาใหเรารับประทาน หรืออยางจานนี้ นิสิตทราบไหมวาคืออะไร สีชมพูที่อยูในจานนี้คืออะไร นิสิตอาจไมเคยเห็น มันคือเกสรดอก ชมพูมะเหมี่ยวหรือชมพูสาแหรก คนไทยทราบวาเกสรชมพูรับประทานได มีรสเปรี้ยวนิด ๆ มี กลิ่นหอมนิด ๆ เราก็เอามาปรุงเปนอาหาร เราไดอาหารจานที่มีคุณคาขึน้ มาอีกอยางหนึ่ง ใน เรื่องการใชทรัพยากรธรรมชาติที่เปนพืชผักพื้นเมืองสารพัดอยางที่จะนํามาใชเปนอาหารได และเราจะทราบดวยวาอะไรที่สามารถรับประทานดิบ ๆ หรืออะไรที่ควรจะทําใหสุก ภูมิปญญาในสิง่ เหลานี้ ถาเรามองใหดใี นแงของวิทยาศาสตร เราจะมองเห็นอีกเยอะ ทีเดียวในเรื่องของพวกผักที่เราเอามาดอง เชน ผักหนาม ผักเสี้ยน ที่ตองดองเพราะวาผักเหลานี้ มีสารพิษที่สามารถทําลายไดดวยกรรมวิธขี องการดองเทานั้น นี่คือสิ่งที่แฝงอยูในอาหารที่เรา มองเห็น หรือ สับปะรดที่แตกหนอเล็ก ๆ ขึน้ มาธรรมดามันจะไรประโยชน ตองตัดทิ้ง เราก็ นํามาปอกเปลือกแลวเหลือแกนขางใน ซึ่งจะคลาย ๆ ยอดมะพราวออน ๆ อรอย และสามารถ นํามาใชทําเปนอาหารไดอยางดี ทีนี้เรามาดู ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่น คนไทยจะรูวาจะไปหาน้ําตาลบน ยอดตนตาลไดอยางไร โดยการปนขึ้นไปบนตนตาล ปาดตาลแลวเอากระบอกรองน้ําหวาน เพราะฉะนั้นการที่เราจะขึ้นไปบนตนตาลทีส่ ูงขนาดนี้ได พาชนะที่เราเอาขึ้นไปดวยก็ตอ งเปน อะไรที่ทะมัดทะแมง รัดกุม สามารถที่จะผูกรอยขึ้นไป ดีที่สุดคือ กระบอกไมไผใชเชือกรอย แขวนขึน้ ไปไดทีละเยอะ ๆ พอเก็บน้ําหวานมาไดกใ็ สลงไปในกระทะใบบัว แลวเอาไปเคี่ยว ใหขน แลวหยอด ก็จะออกมาหนาตานาทาน เราเรียกวา น้ําตาลปก ซึ่งไดจากตนตาล หรือ มะพราวซึ่งจะใชวิธีการคลาย ๆ กัน ในเรื่องของเครื่องใชไมสอย คนไทยก็เปนยอดในเรื่องของการคิดทํา อะไรที่มีความ เหมาะสมสามารถจะนําเอามาใชได อยางภาพบนสุด คือ ไมกวาดกานมะพราว ภาพตอไปคือ แปงสมุนไพรที่ใชรักษาสิวที่ไดมาจากเมล็ดของดอกบานเย็น ภูมิปญญาไทยในสาขาหัตถกรรมของคนไทยก็มีเยอะ มีหลากหลายรูปแบบที่ สอดคลองกับประโยชนใชสอย นี่ก็ความสามารถของคนไทยอีกเหมือนกัน ในการเลีย้ งตัว
หนอน ผานกรรมวิธรตาง ๆ ออกมาเปนเสนไหมที่ใชทอผา เปนสินคาที่มีชื่อเสียงของประเทศ ไทย เปลือกไม อยางเชน เปลือกไมฝางที่มีสีสม ๆ เหลือง ๆ หรือดอกไมชนิดนี้ที่เปน ดอกไมหอม สีสม สีแสด นี่คือดอกกรรณิการ สีที่มีอยูในตนไมเหลานี้ คนไทยจะนํามาใชเปน สีผสมอาหารบาง สียอมผาบาง เปนสีที่มีคุณภาพและมีลักษณะเฉพาะ ที่เห็นเปนกิ่งมีลูกเขียว ๆ อันนั้นคือ มะเกลือ มะเกลือที่เอามาใชยอมผาใหเปนสีดาํ โดยใชลูกมะเกลือเขียว ๆ มาตํา แลว จะไดอะไรที่ขน ๆ มียางสีเหลือง ๆ ผสมน้ํา แลวเราก็จะเอาผาที่เราจะยอมชุบน้ํา ไปแชหรือ คลุกเคลาจนทั่ว แลวเอาไปตาก ผาที่ไดในตอนแรกจะมีสีเขียวขุน ๆ เมื่อทําปฏิกิริยากับอากาศ จะกลายเปนสีเทาอมเขียว แลวเราก็เอาไปยอมใหมอีกประมาณ 7 ครั้ง หรือ 10 ครั้ง จนไดผาสี ดําอยางที่เราเห็น กรรมวิธีนคี้ อนขางยุงยากและลําบากมาก เมื่อเราคุยกับชาวบานวา ถาอยากให ผาที่ยอมมะเกลือออกมามีสีดําสวยเปนมันจริง ๆ ก็ตองนําไปยอมสักประมาณ 5 – 7 ครั้ง แลวก็ นําผานั้นไปหมักในโคลน ในดินเลนเละ ๆ เลยทีเดียว ขัน้ ตอนเหลานีม้ ันตองผานการเรียนรู การรวบรวมองคความรูตาง ๆ แลวก็พัฒนาขึ้นมาจนกวาจะไดมาถึงขนาดนี้ ภาพนี้เปนภาพของใบลานที่เรานํามาทํางานหัตถกรรมเปนงอบ หรือปลาตะเพียนทีใ่ ช แขวนเปลของเด็ก เราจะเห็นวา ปลาตะเพียนตัวนี้สีสันลวดลายคอนขางแปลก คนไทยที่ทําแต ดั้งเดิมจะมีลวดลายเรียบ ๆ แตเดีย๋ วนี้ ปลาตะเพียนแบบนี้จะเปนของชาวบานมุสลิม สีและ ลวดลายที่ออกมาจะคลาย ๆ เรือกอและ ในดานภูมิปญญาดานการแพทย คนไทยจะรูจักวาพืชที่มอี ยูมากมายนั้นอะไรที่ใชทํา ยาไดบาง เชน ผักบุงทะเลที่ใชเปนยาถอนพิษแมงกะพรุน เรารูวา เมื่อไรจะตองใชยาตม สมุร ไพรชนิดไหนที่จะสกัดไดโดยการใชน้ํารอน บางชนิดเปนแคยาชง หรือบางอยางอาจตองทํา เปนยาดอง คือใชแอลกอฮอลเปนตัวสกัดเอายาออกมาและรูปแบบอื่น ๆ ยาเม็ด ยาผง ยานัตถุ เหลานี้ก็เปนรูปแบบของสมุนไพรทั้งนั้น ในแงของงานศิลปะ งานประดิษฐ ก็มีตั้งแตงานงาย ๆ ที่เรามองเห็นอยางการพับ ดอกบัว การประดิษฐดอกไม การรอยดอกไมใหเปนตัวกระแตเกาะกับกิ่งไม เปนงานฝมือที่มี ความสวยงามมาก นี่คืองานฝมือที่ผานการพร่ําสอน การถายทอดกันมาหลายตอหลายรุน เหลือเกินกวาจะไดมาขนาดนี้ สรุปแลว ภูมิปญ ญาไทยไมไดมีอยูแตเฉพาะวิ๔ชีวิต การทํามาหากิน ปจจัยสี่เทานัน้ แตยังหมายรวมไปถึงงานศิลปะตาง ๆ ในเรื่องของดนตรี ทั้งเครื่องดนตรี การฝก การหัด การ สรางทารําใหม ๆ หรือแมแตเพลงก็มีภูมปิ ญญาอยูในนัน้ ในดานพุทธศาสนา การที่จะ ปรับเปลี่ยนพระธรรมคําสั่งสอนตาง ๆ โดยใชภูมปญญาไทยและใหอยูใ นรูปที่คนไทยสามารถ ทําความเขาใจและยอมรับได ประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อพวกนี้มีภูมิปญ ญาไทยแฝงอยู ทั้งนั้น
หรือภาษาไทยที่เปนภาษาของเราเอง สุภาษิตตาง ๆ คําพังเพย สํานวนไทยนี่เปนสิ่งที่ เราสามารถไปศึกษาและแสวงหาไดวา ภูมปิ ญญาไทยแฝงอยูในรูปแบบใดไดบาง โดยเฉพาะ วรรณคดีไทย เปนตัวที่สะทอนภูมิปญญาไทยอยางมากมายทีเดียว ถาเชนนั้น เราจะไปศึกษาภูมิ ปญญาไทยในที่ใดไดบาง แหลงที่รวบรวมและอนุรักษเกี่ยวกับเรื่องของไทย ๆ ภูมปิ ญญาไทย อาจจะเปนหองสมุด พิพิธภัณฑ หรือศูนยของชุมชนทองถิ่นตาง ๆ โดยเฉพาะในปจจุบันนี้จะมี อยูเยอะมากที่เปนศูนยภูมิปญ ญาไทยในจังหวัดตาง ๆ เชน ศูนยผาทอมือยอมสีธรรมชาติ ถาจะ ศึกษาในเรื่องที่เกี่ยวกับการแพทยแผนโบราณก็อาจจะไปวัดโพธิ์ ถาสังเกตใหดภี าพจิตรกรรม ฝาผนังตาง ๆ เหลานี้ คือ ภาพที่แสดงถึงสรีระของคน ใหความรูเรื่องสรีระวิทยาของมนุษย มี ภาพใหดู สามารถศึกษาได หรือเรื่องของการออกกําลังกาย การนวด การกายบริหาร ในแงของ สมุนไพรตําหรับยารักษาโรค ก็จะมีบนั ทึกไวอยูตามผนัง เปนตํารายาที่มีการบันทึกไวหรือจาก สมุดขอย บุคลากรที่ทรงความรูเปนผูที่มีภมู ิปญญาที่จะสั่งสอนกันได ก็คือ คนที่อยูในทองถิ่น ตาง ๆ ที่เราจะเขาไปหาเขาและเรียนรูจากเขา แมแตการยอมดวยครั่ง จะเห็นวาในอางนี้สีนา เกลียดมาก นี่เปนรังครั่ง แตพอยอมออกมาจะไดผาที่มีสสี วยงามมาก หรืออยางอันนี้ ที่เปน ศูนยทําดอกไมจากตนโสน จากแกนหรือไสของตนโสน เราก็ไปเรียนรูวาเขาทํากันยังไง อาจารยอยากจะย้ําตรงนี้ ผูทมี่ ีภูมิปญญาไทย หรือผูสูงอายุตาง ๆ นั้น นับวันแตจะหมดไปที่ เห็นนี่คือ แตละทานอายุ 80 ปขึ้นไปทั้งนั้น เราก็ไปรบกวนใหทานมาถายทอดภูมิปญญาไทย ทานเหลานี้คือ ทรัพยากรที่มคี าของเราในเรื่องของภูมิปญญาไทย สวนเรื่องของสมุนไพรที่นิสิตคงเคยไดยิน เชน ตนทองพันชั่ง หมอก็พสิ ูจนและมี งานวิจยั หลายชิ้นเปนตัวยืนยันวารักษาโรคมะเร็งไมได อยางมากก็เปนไดแคยาแกคนั แตวา ใน ตําหรับยาสมุนไพรไทยที่ใชรักษาโรคมะเร็ง 50% ยังคงมีทองพันชั่งเปนสมุนไพรผสมอยูใน ตัวยานั้นเสมอ ดังนั้น จึงควรใชวิจารณญาณและเหตุผลทางดานวิทยาศาสตรเขาพิจารณารวม ดวย ผูรวมเสวนา : เมื่อวันหรือสองวันนี้ หนังสือพิมพลงวา มีดอกหรือเปลือกของตนทองกวาวทีว่ าจะทําใหชวย สรางฮอรโมนเพศหญิง บอกวาจะทําใหเพิม่ ฮอรโมนและทดลองที่หนูทําใหหนาอกใหญขึ้น แตเขาบอกวามีสารบางอยางที่ตองสกัดออกมาเหมือนกัน ร.ศ. วิยะดา :
คงจะเปนสวนที่เปนรากของมันมากกวา คือตนไมที่เราใชในเรื่องของฮอรโมน เราคงเคยไดยิน ที่เราเรียกวา กวาวเครือ ที่สามารถนํามาใชเพิ่มสัดสวนของคุณผูหญิง ก็ปรากฏวา มีคนอยากให สวยมาก ๆ เลยกินเขาไปเสียเต็มเหนีย่ ว ผลก็คือ เธอมีเตานมเพิ่มอีก 1 เตา กลายเปน 3 เตา เปน เรื่องที่ดังระดับโลกเลนในตอนนั้น ก็เลยมีความสนใจกันมากกวา กวาวเครือมีฮอรโมนที่
เกี่ยวกับเพศหญิง ซึ่งจะไปกระตุนทางสรีระ ประมาณ 30 กวาตัว หมอก็บอกวามันจะมีอันตราย มากกวาประโยชนที่ไดรับ สวนทองกวาว คนไปเรียกตามทองถิ่นวา ตนกวาวและมีทองกวาวบางชนิดที่เปนไม เลื้อย ไมใชตนไมอยางที่เรารูจ ัก เขาเรียกกันวา กวาวเครือ ก็เลยมีความเขาใจกันวา ทองกวาวที่ เปนไมเลื้อยนัน้ มีคุณสมบัตแิ บบเดียวกัน แตงานวิจัยไมปรากฏผลกันชัดเจน แตถาในตํารายา ไทยมีการใชจริง อยางนี้ตองระวัง คืออะไรที่จะทําใหเกิดอันตรายกับตัวเราไดก็อยาเพิง่ เสี่ยงดี ที่สุด อาจารย ดร.ธีรวัต : สิ่งที่เห็นอยูนี้ (ไมฝาง)เปนสิ่งที่ทําใหอาณาจักรอยุธยาเจริญรุงเรืองขึ้นมา ในยุคสมเด็จ พระเจาทรงธรรม สมเด็จพระเจาปราสาททอง และสมเด็จพระนารายณ เพราะวาเปนสินคา สงออกที่สําคัญรายการหนึ่งของไทย สงไปมากที่สุดที่ประเทศญี่ปุน สีจากไมฝางที่สวนใหญ ญี่ปุนไดมาจากเมืองไทยนั้นใชยอมผา เขาบอกวาในบรรดาสียอมผากิโมโนในกรุงเกียวโตจะมี สีที่เรียกวา แดงสยาม ซึ่งเปนสีที่ไดจากฝางนั่นเอง (เปนสีแดง แดง-มวง) ในดานประวัตศิ าสตร ก็มีภูมปิ ญญาเกิดขึ้นเหมือนกับเรื่องไมฝาง ซึ่งราชสํานักไทยใน สมัยนั้นรูจักทีจ่ ะใชของปาทีช่ าวบานสงสวยเขาพระคลังในกรุงศรีอยุธยา คนไทยเดินเรือ ระยะไกลไมคอ ยเกง ฝรั่งเขามาในสมัยพระนารายณหรือนคริสตศตวรรษที่ 17 อางวาชาวสยาม ไมมีกองทัพเรือ เดินเรือก็ไมไดความ แตทาํ ไมเราสามารถสงไมฝาง หนังกวาง หนังกระบือ อะไรตออะไรไปขายถึงญี่ปุน ถึงจีน ถึงมะนิลา แลวก็อินเดีย บางอยางไปถึงยุโรป ก็เพราะวา ผูนําไทยสามารถที่จะปรับ รับบางสิ่งบางอยางมาใชใหเกิดประโยชน การที่มีชาวตางชาติเขามา มาก พระมหากษัตริยก ็ทรงเห็นวา ใหคนตางชาติเหลานัน้ มาเดินเรือให เพราะฉะนัน้ ในระบบ โครงสรางหรือระบบราชการแตโบราณ อาจจะเริ่มตั้งแตสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (อาจมีการเสริมหรือดัดแปลงมาเรื่อย ๆ) มีการแบงหนวยงานที่ทําการคาขายกับตางประเทศ เปนกรมทาซายกับกรมทาขวา กรมทาซายก็จะมีหลวงโชฎึกราชเศรษฐีซงึ่ ก็เปนคนจีนตลอด กรมทาขวาคือของจุฬาราชมนตรีเปนพวกมุสลิม พวกนีร้ ับผิดชอบแตงเรือ จัดเรือสําเภาออกไป ในดินแดนโพนทะเล ทําใหรัฐมีรายไดจากการคาขายกับตางชาติดวยจากของปาที่เรามีมากมาย มหาศาล ร.ศ. วิยะดา :
จากที่ทานอาจารยกลาวมาจะเห็นไดวา นี่เปนภูมิปญญาไทยแนนอน เปนภูมิปญญาในการ บริหารจัดการ ซึ่งเห็นไดชดั เจนวา คนไทยเราฉลาดมากในการจัดการเรื่องเหลานี้
ร.ศ. ศรีเพ็ญ : ที่อาจารยธรี วัตกลาวถึงกรมน้ําทา วันกอนไดฟงมาวา พวกนี้จะติดตอกับตางประเทศก็เลย ตองทําตัวใหทนั สมัยทัดเทียมเลยตองใชเครื่องแบบที่มีสีน้ําเงิน จะบอกวา สีกรมทามาจากกรม
เจาทานี่เอง ภาษาก็เลยเขามามีสวนรวมในการปรับแตงใชผสมผสานใหเขากับภูมิปญ ญาไทย จึงไดความรูว า สีกรมทา มาจากสีของเครื่องแบบของพนักงานกรมน้ําทา นิสิตคงจะเห็นแลววา คนไทยคิดอยางไรในรายละเอียดเกีย่ วกับชีวิตความเปนอยูที่อาจารยวิยะดาไดใหดูสไลดไป แลวนั้น อาจารยธีรวัตจะกลาวตอเลยไหมวา ในเรื่องการปกครองการเมือง การจัดการทาง สังคมทําใหประเทศชาติมาถึงทุกวันนี้ มีภมู ิปญญาอะไรบาง อาจารย ดร. ธีรวัต : ในประวัติศาสตรไทย เทาที่ไดศึกษามามีอะไรที่คอนขางเฉพาะ ผมก็ไปดูตําราของนัก ประวัติศาสตรอังกฤษ(D.G.E. Hall) เขาเปนคนที่เขียนตําราประวัติศาสตรเอเชียตะวันออก เฉียงใต และวิเคราะหประวัตศิ าสตรของประเทศเพื่อนบานของเราแตละประเทศ และได สรุปวา การที่ไทยในสมัยสมเด็จพระนารายณไมไดตกเปนเมืองขึ้นของฝรั่งเศส หรือสมัย รัชกาลที่ 4 หรือรัชกาลที่ 5 ที่ไทยไมไดตกเปนเมืองขึ้นของอังกฤษหรือฝรั่งเศส หรือหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 ไมไดถกู ลงโทษเพราะเราประกาศสงครามกับสัมพันธมิตรในฐานะ นักการฑูต เขาไมคิดวาจะมีชาติใดเกงกวาชาติสยามในการเอาตัวรอด ในแงประวัติศาสตรก็ ตองยอมรับวา ผูนําหรือผูบริหารบานเมืองสามารถปรับตัว วางตัว มีทาทีเหมาะสมกับกาลเวลา ในชวงประวัตศิ าสตรที่เกิดขึ้น การปฏิรูปครั้งใหญในสมัยรัชกาลที่ 5 ทําใหประเทศไทยเปนสมัยใหมขึ้น สราง ภาพลักษณ มีความเปน “ศิวไิ ล” และชาวไทยก็ปรับตัวใหดู “ศิวิไล” เพือ่ ผลประโยชนของคน ไทยเปนรากฐาน เพราะฉะนัน้ ประเด็นของผมก็คือ ไทยเรารูจักปรับตัวรับมือกับภัยคุกคาม คอนขางดี เปนเพราะวาเรารับอะไรงาย เราสนใจอะไรแลว เราก็ไมคดิ วาจะเปนการ กระทบกระเทือนหรือคุกคามวัฒนธรรมของไทยเรามากเกินไป ยกตัวอยางงาย ๆ วา การคากับ ตางประเทศในสมัยอยุธยา พมาในสมัยของพระเจาบุเรงนองเปนรัฐทีย่ ิ่งใหญมาก มีเมืองหลวง ที่หงสาวดีที่เปนเมืองทา พมาไดรับกําไรจากการคากับตางประเทศมากมาย ในสมัยหลัง จากนั้น ชวงทีไ่ ทยเราสงออก อยูในเครือขายการคาทางทะเลนานาประเทศ พมากลับมีปฏิกิริยา ตรงกันขาม ยายเมืองหลวงจากหงสาวดีขึ้นไปอยูเมืองอังวะทีใ่ ชเวลาเดินทางจากปากแมน้ํา อิรวดีเปนเดือนกวาจะถึง เทียบกับกรุงศรีอยุธยาที่ใชเวลาเดินทาง 2 วัน ก็แสดงถึงภูมปิ ญญา ไทยอยางหนึ่งหรือไม ที่วาเราชอบรับอิทธิพลจากตางประเทศ ชอบที่จะรับรูวาอะไรเกิดขึ้น แต พมาเขาก็ภูมใิ จในสิ่งที่เขามีอยู แตถามองประวัติศาสตรในดานภูมิปญญาก็คงจะยากกวาอยางอื่น อาจารยอยากให นิสิตมองถึงวิวัฒนาการของมันในแงที่นาสนใจดวย เชน อาหารไทยในตอนนีเ้ ปนวัฒนธรรมที่ สงออกไดเปนอยางดีในตางประเทศ
ศ. ม.ร.ว.แนงนอย : จริง ๆ แลวคนไทยขี้เหอทีเดียว เพราะฉะนัน้ รัชกาลที่ 5 โปรดใหสรางตําหนัก พระราชทานแกพระมเหสี เจาจอมที่โปรดปรานเปนจํานวนมาก แตกอนเราอยูแบบตําหนัก ชั้นเดียว แลวกลายเปนตําหนัก 3 ชั้น 4 ชั้น ก็มี แลวยังไมพอ มีหองรับแขก หองรอเฝา ตกแตง เปนฝรั่งเลยทีเดียว ดิฉันไดรับโปรดเกลาฯ จากสมเด็จพระเจาอยูหวั ใหเขาไปศึกษาไดทุกหลัง ในเขตพระราชฐานชั้นใน ก็จะพบวา แปลกดีที่หองตาง ๆ เหมือนฝรั่ง คนไทยไมใช แลวหองที่ อยูขางหลังหรืออยูขางบนเอาไวทําอะไร มีแตฝาผนังเกลีย้ ง ๆ มีตั่งอยูตวั หนึ่ง คนไทยในสมัย นั้นก็นุงผาโจงกระเบน ใสเสื้อ หมผาแถบอะไรตออะไร เสวยก็เสวยบนตั่ง ทุกสิ่งทุกอยางก็ เปนแบบไทยเหมือนเดิม ถาเปรียบเทียบเฉพาะจุด ฝรั่งก็เปนเปลือก ตัวอาคารเปนเปลือกที่ มองดูแลวจะเปนฝรั่ง แตแลวเนื้อหานี่เปนคนไทยหมดเลย ไมมีอะไรที่เปนฝรั่งแมแตอยางเดียว ยกเวนแตวาพระมหากษัตริยม ีงาน ตองออกแขก ลูกเจานายแตงตัวกันงาม ๆ ถาไมออกแขก ทุก สิ่งทุกอยางก็คอื คนไทยเหมือนเดิม อาจารย ดร. ธีรวัต : คนไทยยังนั่งอยูก ับพืน้ อยูใชไหมครับ ศ. ม.ร.ว.แนงนอย : ยังนั่งกับพื้น แลวก็หมอบ ๆคลานๆ เหมือนเดิม ไมมีอะไรที่เปลี่ยนแปลงไปกวานั้น แลวก็มี คนมาถามวา ทําไมหองตาง ๆ ที่อยูกันกอนฝรั่งเขามานี้เปนหองเล็ก ๆ จะกินขาว จะรับแขก อยางไร คําตอบคือ คนไทยเปนคนสมถะ ทุกสิ่งทุกอยางไมวาจะเปนการนอน รับประทาน อาหาร รับแขกอะไรตาง ๆ ก็ใชพื้นทีน่ อย ถาเผื่อไมเชื่อก็ไปอานหนังสือเรื่องแมพลอย สี่ แผนดิน ของคุณคึกฤทธิ์ ชวงที่นางพลอยอยูในวังก็คงจะทําใหทราบประเพณี วัฒนธรรม ความ เปนอยูในชวงรัชกาลที่ 5 ดวย ร.ศ. ศรีเพ็ญ : ตอนนี้เราก็คงจะทราบแลววา คนไทยเปนคนใจกวาง และรับอะไรงายแตวาสิ่งหนึง่ ที่ยังมีอยู ในหัวใจก็คือความเปนไทย ถึงแมวาเราจะรับอะไรมาก็ตาม แตเราก็ยังคงเปนคนไทยอยู แลวก็ คงจะไมเสียชาติ ถึงแมจะมีเปลือกเปนฝรั่งก็ตาม อาจารยผูรวมฟงการเสวนา : อยากจะเสริมสวนที่อาจารยพูดถึงพงศาวดารวา ในสมัยการคบฝรั่งตางชาติ เริ่มมา ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 3 ที่ทรงสงพระราชโอรสไปศึกษาตอตางประเทศ และชวงทีเ่ ราเสียกรุง อยุธยานี้ ยอยยับจริง ๆ กษัตริยที่ครองราชวงศจักรี ทานก็ขึ้นมาจากคนธรรมดา ทานไดมีพระ ราชปณิธานวาจะรักษาเอกราชของชาติไทยไวใหไดมากทีส่ ุด สุดชีวิตทีเดียว เพราะฉะนั้น ขา ราชบริพารทุกคน คงใหความรวมมืออยางดีในทุกรัชกาล
สมัยรัชกาลที่ 5 การที่ทานไปคบกับฝรั่ง การดําเนินพระราโชบายตางประเทศของ พระองคเปนแบบฝรั่ง พวกพอคาวาณิชยทมี่ าจากตางประเทศ ก็เขามารับราชการในเมืองไทย รวมกับขาราชการไทยใหคําปรึกษาหารือที่จะใหทานทําอยางนั้น ดิฉันไมไดคิดวาทานจะทรง คิดแตลําพังพระองคเดียว แตเนื่องจากเปนรัชกาลของพระองคก็คงตองยกใหเปนพระองคไป แลวตอนไทยเสียดินแดนที่ทา นตองยกใหฝรั่ง เพื่อที่จะรักษาเอกราชของไทยเอาไว มีใน วรรณคดีที่สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงแตงกาพยยานีเอาไว เลาเรื่องเหตุการณใน ครั้งนั้นวา รัชกาลที่ 5 ทรงเสียพระทัยอยางมาก ขนาดวา ลมเจ็บหนัก สมเด็จกรมพระยาดํารง ราชานุภาพจึงไดทรงตอบทานวา ถาหาก รัชกาลที่ 5 ทานไดทรงทําอยางดีที่สุดแลว ทานเปน กัปตัน พาเรือผานคลื่นลม แมวาเรือนั้นจะลม แตทานก็ทาํ สิ่งที่ดีที่สุด เพราะฉะนัน้ ก็คงจะไมมี ใครมาติเตียนทานได ทานจึงไดลุกขึ้นมาแกปญหาจนสําเร็จลุลวงไป นีก่ ็คือเรื่องราวใน ประวัติศาสตร เปนจดหมายที่หมอมเจาหญิงพูนพิศมัยไดนํามาเผยแพร จะเห็นไดวา ในเรื่อง ของภูมิปญญานั้นมิใชแตวาคนเดียวที่จะทําได ตองหลาย ๆ คนชวยกันคิดชวยกันทําและหา ทางออก ร.ศ. ศรีเพ็ญ : มีเรื่องราวเยอะมาก ไมจบสิ้นเกี่ยวกับภูมิปญญาไทย ตอไปเราจะมาดูสไลดสวย ๆ พรอม คําอธิบายใหเราเห็นมุมมองในดานงานศิลปวัฒนธรรมจากทานอาจารยแนงนอย ศ. ม.ร.ว. แนงนอย : บานไทย เกิดจากภูมปิ ญญาทองถิ่นรอยเปอรเซ็นต บานในแตละพื้นที่ทองถิ่นเกิดขึ้นเปน ศิลปะพื้นบานที่ลงตัวกับสิ่งแวดลอม ลงตัวกับวัฒนธรรมประเพณี การกินอยูทั้งหลาย บานทาง ภาคเหนือจะไมเหมือนบานภาคอีสาน บานภาคอีสานจะไมเหมือนบานภาคใต บานภาคใตกจ็ ะ ไมเหมือนบานภาคกลาง ตางที่ตางก็มีสิ่งแวดลอม มีบริบทตาง ๆ เปนตัวกําหนดที่ทําใหบาน แตละหลังไมเหมือนกัน ภาพนี้เปนตัวอยางอันหนึ่งที่ควรจะไปดู คือ เรือนคําเที่ยง ที่สยามสมาคม แถวอโศก เพราะวาเปนเรือนภาคเหนือที่สมบูรณแบบที่สุด ผิดแตวา วางทิศไมตรงกับความเชื่อของทาง ภาคเหนือ และภายในเรือนก็มีศิลปะพื้นบานที่บอกถึงภูมิปญญาของการกอสรางและภูมิปญญา ของความเปนอยู วัฒนธรรมประเพณีของเขาเปนเรื่องใหญ ภาพนีก้ ็เปนการตกแตง มีธงอยูขางหนา ชาวเหนือเรียกวา “ตุง” เนื่องจากวา เรือนไทย หลังนี้ไดรับการยายมาจากทางเหนือ จึงมีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุง เปนตนวา พื้นชัน้ ลางก็ปู ดวยอิฐ แตทางเหนือคงไมไดปูในลักษณะนี้ บานไทย คนไทยไมวาจะอยูท ี่ไหนก็จําเปนตองมีตนไม ตนไมเปนสิ่งแวดลอมที่สําคัญ ที่สุด ภาพนีก้ ็เปนการตกแตงเรือนคําเที่ยงในชวงเวลาที่มีงาน
เรือนไทยโดยทั่ว ๆ ไป สิ่งที่สําคัญที่สุดคือ 1). จะตองเปนเรือนยกพื้น คนไทยจะไมนอนกับพืน้ ดิน เพราะบานที่อยูติดดินจะ เปนบานที่ไดรับอิทธิพลจากจีน บานไทยจะตองยกพื้น ยกเสาขึ้นไปอยางนี้ แตขอเสียคือ ตรง คอเสาระหวางอากาศกับพื้นดินอยูนาน ๆ ไป จะผุแลวก็พัง คนจีนหรือคนญี่ปุนจึงนําหินมา รองรับไวกอน ศัพททางชางเรียก “ขาดคอดิน” 2). บานไทยสวนมากมักจะมี 2 หลัง หลังใหญกับหลังเล็ก หลังใหญเปนที่นอน หลัง เล็กเปนที่รับแขกก็ได ภาพนี้เปนภาพบานอีสาน ภายในบานคอนขางมืดเพราะวา อาคาร 2 หลังเขามาชนกัน แลวตรงนี้เปนสวนที่เปนรอยตอระหวางหลังตอหลัง สวนนี้คือรางน้ํา ภาพนี้คือเรือนผูไททางภาคอีสาน หรือ “ตูบตอเลา” ตูบ คือ อาคารใด ๆ ก็ตามที่เปน ของชั่วคราว เมื่อเวลาหนุมสาวแตงงานใหม สตางคยังไมมี จากตรงนี้เปนเลาขาวก็จะตอเพิง ออกมา เปนทีอ่ ยูเปนเรือนหอของหนุมสาวที่ไมมีเงิน หรือเรือนครัวของภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคใตกจ็ ะเหมือน ๆ กัน พืน้ จะโปรง เพราะการประกอบอาหารน้ําทาตาง ๆ จะไหลลงไป มี เตาไฟ มีชั้นเก็บของเล็ก ๆ นอย ๆ ขณะเดียวกัน คนไทยชอบอยูขางนอก ไมมีใครอยูในหอง เพราะฉะนั้นไมวาที่ใดก็ตาม จะตองมีตนไมใหญ ๆ และมีที่ยกเปนแคร ยกเปนแทน ใชเปนที่ สังสรรคของชาวบานนัน่ เอง นี่คือลักษณะของคนไทยที่แทจริง ถาหากคุณไปเทีย่ วภาคอีสาน สิ่งแรกที่คุณจะพบคือ ถาไมมีตนไมใหญ ๆ อยางนี้ คนอีสานจะนั่งอยูใตถุนบาน เพราะขางบน จะเปนบานมุงสังกะสี คนจะอยูขางบนบานเวลากลางวันไมไดเพราะมันรอนเหลือทน ก็เอาตัว บานเปนฉนวนกันความรอน แลวก็ทําอะไรตออะไรขางลางใตถุนนี้ สบายดี เรือนภาคใต ภาคใตมีฝนตกชุกมาก แตความเปนอยูของทุกคนจะอยูนอกบาน แตดวย ความที่ฝนตกชุก บันไดทางขึ้นก็ตองมีคานปดไวเพื่อใหฝนไมสาด แดดไมสอง สามารถ แกปญหาเรื่องฝนตกนั้นได ภายในบานจะเปนที่นอน วิธีการใหแสงคือ เนื่องจากหลังคาเหลานี้เปนหลังคาที่คุมลง มามาก การใหแสงจะใหจากสวนหลังคาดานบน ซึ่งสวนที่ซอนกัน เลื่อมกัน จะทําใหมีแสง เกิดขึ้นได สวนใตถุนก็จะเปนที่นั่งเลน หรือฝาผนังสวนมากก็จะเปนไม ถาไมมีสตางค ฝาพวก นี้ก็จะเปนพวกไมไผสานขัดแตะ ภาคกลาง เราเปนชุมชนชาวน้ํา อยูริมน้ํากันตลอด ถาดูจากภาพในอดีต ชวงสมัย รัชกาลที่ 4 พื้นที่ชวงริมแมน้ําเจาพระยาจะประกอบไปดวยเรือนแพเต็มไปหมด ซึ่งอันนี้เปน ภูมิปญญาอยางหนึ่งเหมือนกันที่วา คนไทยอาศัยแมน้ําเปนเสนทางคมนาคม สายน้าํ จะเปนวิถี ชีวิตของเขา เปนที่ปลูกเรือน เรือนพวกนีม้ ี 2 อยางคือ อยางแรกจะเปนที่อยูอาศัยจริงๆ หรืออีก ประเภทคือ เรือนคาขาย ถาเปนเรือนคาขายตรงนี้จะมีแผงที่เปดสูริมน้ําใหคนมาทําการคาขาย
ตอกันได หรือเรือนของชาวบานที่เห็นอยูท ั่ว ๆ ไปจะเปนเรือนยกพื้นและมีหลังคาทรงชะลูด มี 2 ระดับ ระดับบนสําหรับเมือ่ ฝนตกชุก เราสามารถระบายน้ําไดอยางรวดเร็ว สวนลางของมุม หลังคาตรงชวงลางกับชวงบนจะไมเทากัน มุมลางเปนการชะลอน้ําอยางหนึ่ง หลังจากนั้น สวนกันสาดดานลางก็ใชเปนสวนบังแดด บังฝนใหกับหนาตางที่มีอยู เปนการออกแบบที่คิด แลวลงตัวทุกอยาง ถาเปนบานชาวบานธรรมดาที่ยกพืน้ สูง ก็มักจะมีบนั ไดไมไผ ยกขึ้นไป พอกลางคืนก็ สามารถยกบันไดไมไผนี้เก็บไปไวบนเรือนได ขโมยก็ขึ้นบานไมได สวนมากภาพของเรือนไทยที่เราเห็น มักจะเปนเรือนแฝด วิถีชีวิตอยูขา งนอก มากกวา อยูขางใน ภายในบานมักจะเปนหองนอนของลูกสาว หรือเปนที่เก็บสมบัติ สวนภายนอกจะใช สังสรรค หรือทํากิจกรรมอืน่ ๆ สวนเรือนในกรุง บานในอดีตของกรุงเทพฯ ถาเปนบานของผูมีฐานะดีก็จะมีเรือน หลายหลังแยกออกจากกัน บานตาง ๆ จะมีหลังคา 2 ระดับ มุงดวยกระเบื้องดินเผาไมเคลือบสี เรือนฝาไมก็จะเปนฝาปะกน สิ่งประดับตกแตงใตหนาตางจะมีหยองที่เปนฐานรองรับกรอบ หนาตาง ซึ่งบงบอกฐานะของผูอยู หรือความสูงศักดิ์ของชนชั้น ทั้งหมดนี้คือ ภาพรวมของเรือนหลายหลัง ซึ่งประกอบดวยเรือนหลายหลังเขาดวยกัน เรือนแตละหลังมักจะอยูใกลกัน บังแดดใหแกกนั และกัน เวลาแดดออกจะไดไมรอน การเปน กลุมเรือนที่โอบลอมกันอยูนี้ ถาลมมาอีกดานหนึ่งก็จะสามารถลอดผานมายังอีกดานหนึ่งได เปนการแกปญ หาเรื่องการรับลม และพยายามจะมีตนไมเพื่อใหเกิดความรมรื่นแกพื้นที่ สวน นอกชานสวนใหญจะทําดวยไม แตอยางเรือนไทยของจุฬาฯ นอกชานจะปูกระเบื้อง ก็ทําให เกิดปรากฏการณที่ความรอนสะทอนเขาสูอาคาร สรุปไดวา บานไทยมีลักษณะสําคัญ ๆ คือ บานไทยแตละทองถิ่นจะไมเหมือนกัน องคประกอบทุกสิ่งทุกอยางเกิดขึ้นจากภูมอิ ากาศ สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี แตก็มีตัว รวมเหมือนกันคือ คนไทยไมนอนกับพืน้ บานยกใตถุนสูงและใชพื้นที่ใตถุนใหเปนประโยชน เปนที่พักผอน นั่งเลน และเปนสวนสําหรับทอผา ปอกหอม ปอกกระเทียม เปนตน ถึงแมจะ เปนคนไทยเหมือนกันแตถาอยูคนละภาคเราก็จะเห็นความแตกตางของบานเรือนแตละภาคนี้ อยู นี่ก็เปนตัวอยางเล็ก ๆ ที่เปนภูมิปญญาชาวบานที่ลงตัวกับภูมิอากาศ วิถีชีวิต ความเปนอยู และสิ่งแวดลอม ณ สถานที่นนั้ ๆ ร.ศ. ศรีเพ็ญ : ภูมิปญญาไทยหรือภูมิปญ ญาทองถิ่นมีความละเอียดออน มีระดับทีเ่ หมือนและตางกัน เปน เอกลักษณของตนเอง ซึ่งขึ้นอยูกับภูมิอากาศ ภูมิประเทศ แตโดยภาพรวมก็จะเปนเอกลักษณ ของไทย
ร.ศ. วิยะดา : ดังนั้น เมื่อเรารูวา ภูมิปญญาไทยมีคุณคา เรารูคุณคาของภูมิปญญาไทยจนเกิดความรัก ความ หวงแหนในสิง่ ตาง ๆ เหลานั้นแลว ก็จะเกิดจิตสํานึกในการอนุรักษสิ่งเหลานั้นไว ไมอยากให เสียหาย หรือสูญเสียไป และพัฒนาภูมิปญ ญาไทยตอไป ใหมีความเจริญ มีประโยชนตอ ประเทศชาติ ตัง้ แตจุดเริ่มตนตรงนี้ คือ ความเขาใจวา ภูมปิ ญญาไทยคืออะไร ร.ศ. ศรีเพ็ญ : การรูจักคิดวิเคราะห แลวนํามาไตรตรองวา เราควรจะเลือกรับอันไหน ปรับอันไหน เพื่อจะ นําไปใชประโยชน และสิ่งสําคัญยิ่งก็คือ สิ่งที่เรารับเขามานั้น ใหเปนเพียงเปลือก เปนสวน ประดับ แตหัวใจขอใหเปนไทย ใหคงความเปนไทยไว ไมมีใครสามารถจะมากลืนความเปน ไทยไปได ตราบใดที่เรามีใจเปนคนไทยอยู ในวันนี้ ขอกราบขอบพระคุณทานอาจารยวิทยากร ที่ไดมารวมใหความรูกับเราในวันนี้