1
เอกสารประกอบการสอนวิชาปริทันตวิทยา 2 (401482) ประจําปการศึกษา 2549-2550 หัวขอ : ผูสอน :
Bone destruction in periodontal disease อ.ทพญ. ดร.สาครรัตน คงขุนเทียน เวลาในการสอน 1 ชั่วโมง
วัตถุประสงค
: เพื่อใหนักศึกษาสามารถอธิบายเกี่ยวกับ 1. รูปแบบการทําลายกระดูกชนิดตาง ๆ 2. การทําลายกระดูกเนื่องจากการอักเสบจากเหงือก รวมทั้งลักษณะทางฮีสโตพาโธโลยี ขอบเขตของการทําลาย อัตราเร็วของการทําลายและกลไกของการทําลายกระดูก แบบนี้ 3. การทําลายกระดุกเนื่องจากการบาดเจ็บเหตุสบ (trauma from occlusion) ทั้งแบบที่มี การอักเสบหรือไมมีเหงือกอักเสบรวมดวย 4. การทําลายกระดุกเนื่องจากความผิดปกติทางระบบ 5. ปจจัยที่มีผลตอลักษณะรูปางของกระดูก
เนื้อหาประกอบดวย : 1. บทนําและคําจํากัดความ 2. Bone destruction patterns 3. Classification of FI 4. Bone destruction by extension of gingival inflammation 5. จุลกายวิภาคศาสตรของกระดูกเบาฟน 6. Bone destruction caused by trauma from occlusion 7. Bone destruction caused by systemic disorders 8. Factors determining bone morphology 9. สรุป กิจกรรมการเรียนการสอน
:
การวัดและประเมินผล
:
บรรยายและเปดโอกาสใหซักถาม โดยการใชภาพนิ่งทํา จากโปรแกรมสําเร็จรูป (power point) เปนสื่อ วัดและประเมินผลโดยการสอบขอเขียนกลางปและ สอบยอย (quiz) หลังการบรรยาย 1 สัปดาห
2
Bone Destruction in Periodontal disease บทนํา กระดูกรองรับฟน (alveolar bone) เปนหนึง่ ในอวัยวะปริทันตมีหนาที่รองรับฟน ทําใหฟนอยูใน ขากรรไกรและรับแรงรวมทัง้ กระจายแรงจากการบดเคีย้ วไปยังสวนอืน่ ๆ ของขากรรไกร การทําลาย กระดูกนั้นหากเกิดขึน้ มากและไมไดรับการรักษาที่ถูกตอง อาจนําไปสูการสูญเสียฟนในที่สุด โดยปกติ นั้นระดับของกระดูกนั้นจะอยูในสมดุลระหวางการสราง (formation) และการละลาย (resorption) ซึ่งถูก ควบคุมโดย local และ systemic influences การที่กระดูกถูกทําลายลดระดับลงเนื่องจากการใชงาน (physiologic) หรือเกิด senile atrophy นั้นจะเพิ่มขึน้ ตามอายุที่มากขึ้น ในขณะที่ระดับกระดูกที่ถูกทําลาย โดยโรคปริทันตอักเสบนั้นจะขึ้นอยู local factors ซึ่ง local factors แบงออกเปน 2 กลุม ดังนี้ 1. gingival inflammation Local factors กลุมนี้ไดแก bacterial plaque, calculus เปนตน กอใหเกิดการอักเสบของอวัยวะ ปริทันต และเกิดการทําลายกระดูกโดยลดระดับความสูง (height) ของ alveolar bone ลง 2. Trauma from occlusion Local factors กลุมนี้เกิดจากการบาดเจ็บเหตุสบ ซึ่งไมมีการอักเสบของอวัยวะปริทันตรวมดวย จะพบลักษณะ lateral bone loss ได ซึ่งลักษณะของ bone ที่ปรากฏจะเปนสิ่งที่บงบอกถึง past pathologic experience ในขณะที่ ลักษณะของ soft tissue จะบอกถึง inflammatory condition ในปจจุบนั นอกจากนั้น degree ของ bone loss นั้นไมจําเปนตองสัมพันธกับ - periodontal pocket depth - severity of pocket wall ulceration - pus exudate
Bone destruction patterns รูปแบบของ bone destruction แบงออกเปนหลายประเภท ไดแก 1. Horizontal bone loss 2. Vertical bone loss 3. Osseous crater 4. Reverse architecture 5. Furcation involvement
3
1. Horizontal bone loss เปนรูปแบบของการทําลายกระดูกที่พบไดบอย มีการลดระดับความสูง (height) ของ alveolar bone (ดังรูปที่ 1) โดยที่ขอบของ bone ยังอยูรอบ ๆ รากฟน กระดูกในสวน proximal หรือ facial/lingual ก็ถูกทําลายดวย แตอาจจะไมเทากันก็ได
รูปที่ 1 2. Vertical or angular bone loss เปนการทําลายกระดูกในแนวเฉียง โดยมีการทําลายกระดูกดานที่อยูช ิดผิวรากฟน base ของ vertical bone loss จะอยูต่ํากวาขอบของ alveolar crest (ดังรูปที่ 2)
รูปที่ 2
บริเวณ
4
ในการตรวจ vertical bone loss นั้น ในบริเวณ interproximal สามารถเห็นไดจากภาพรังสี สวน ทาง facial / lingual จะมองไมเห็น หากตองการเห็นลักษณะของสันกระดูกใหชดั เจนตองใชการผาตัดเปด แผนเหงือกเขาไปดู การจําแนกลักษณะของ vertical bone loss จะใชจํานวน bony wall ที่เหลืออยูเปนตัวจําแนก แบง ออกเปน 5 ลักษณะ ดังนี้ 2.1) Three bony walls : การทําลายลักษณะนี้มีกระดูกเหลืออยูโดยรอบ 3 ดาน โดยสวนมาก มักพบดาน mesial ของฟนกรามบนและลาง (ดังรูปที่ 3)
รูปที่ 3 2.2) Two bony walls : มีกระดูกเหลืออยูรอบ ๆ เพียง 2 ดาน (ดังรูปที่ 4) หรืออยูบริเวณ interdental crater ที่มีกระดูกเหลือดาน buccal และ Lingual สวนอีกสองดานเปนผิวรากฟน
รูปที่ 4
5
2.3) One bony wall : มีกระดูกเหลือเพียงดานเดียว บางทีเรียก hemiseptum ก็ได (ดังรูปที่ 5)
รูปที่ 5 2.4) Four bony wall : ลักษณะการทําลายกระดูกนี้เกิดรอบรากฟน เปนลักษณะ cup-shape หรือ circumferential bone loss ซึ่งลอมดวยกระดูกและผิวฟนหลายดาน (ดังรูปที่ 6)
รูปที่ 6
6
2.5) Combined type : เปนการทําลายกระดูกที่มหี ลายลักษณะ โดยที่ดานของกระดูกที่เหลือใน สวน apical portion อาจไมเทากับสวน coronal portion เชน ดานปลายรากอาจเปน 3 bony wall ในขณะที่ ดานบนอาจเปน 2 bony wall (ดังรูปที่ 7)
รูปที่ 7 3. Osseous crater osseous crater เปนกระดูกที่อยูบริเวณ proximal ของฟน interdental bone crest (ดังรูปที่ 8)
รูปที่ 8
มีลกั ษณะเปน concavity ที่
7
ลักษณะของ craters พบได 35% ของ defect ชนิดตาง ๆ โดยสวนมาก (62%) มักพบที่ mandible และมักพบในฟนหลังมากกวาฟนหนาถึง 2 เทา ซึ่งมีขอสันนิษฐานเกี่ยวกับการเกิด crater ดังนี้ 1) เนื่องจากบริเวณ interproximal เปนบริเวณที่กักเก็บ plaque ไดดี และยากในการทําความ สะอาด 2) ลักษณะ flat หรือ concave ของฟน lower molars เสริมใหเกิด crater ไดดี 3) การมี vascular pattern จากเหงือกมายัง center ของ crest เอื้ออํานวยใหเกิดเปน pathway for inflammation 4. Reverse architecture เปนลักษณะของกระดูกทีไ่ มเปนไปตามรูปรางลักษณะทีค่ วรจะเปนตามธรรมชาติ จาก bone loss ที่ไมสมดุลในแตละดานของฟน
ซึ่งอาจเกิด
5. Furcation involvement (FI) เปนการลุกลามของรอยโรคเขาไปยังบริเวณงามรากฟน (bi- หรือ trifurcation) ซึ่งพบมากที่สุดที่ ฟน upper first molars และพบนอยที่สุดที่ maxillary premolars การจําแนก FI นั้น แบงออกตามลักษณะ การวัด คือ - วัดในแนว horizontal - วัดในแนว vertical
8
Classification of FI วัดในแนว horizontal (Hamp et al., 1975) แบงออกเปน 1) Class 0 : กรณีนี้ไมมกี าร involved furcation (ดังรูปที่ 9)
รูปที่ 9 2) Class 1 : กรณีนมี้ ีการ involved furcation ในแนว horizontal เขาไปไมเกิน 3 มม. (ดังรูปที่ 10)
รูปที่ 10
9
3) Class 2 : วัดการ involved furcation เขาไปมากกวา 3 มม. ในแนว horizontal แตยังไมมีการ ทะลุไปอีกดานหนึ่ง (ดังรูปที่ 11)
รูปที่ 11 4) Class 3 : กรณีนี้มกี าร involved furcation แบบ trough-and-through (ดังรูปที่ 12)
รูปที่ 12
10
สวนการ classification ในแนว vertical นั้นจําแนกออกเปน subclass A, B และ C ดังนี้ 1) Sub class A : มีการทําลายกระดูกบริเวณงามรากฟนในแนวดิ่ง ประมาณ 1-3 มม. (ดังรูปที่ 13)
รูปที่ 13 2) Sub class B : มีการทําลายกระดูกบริเวณงามรากฟนในแนวดิ่ง ประมาณ 4-6 มม. (ดังรูปที่ 14)
รูปที่ 14 3) Sub class C : มีการทําลายกระดูกบริเวณงามรากฟนในแนวดิ่ง ตั้งแต 7 มม. (ดังรูปที่ 15)
รูปที่ 15
11
ซึ่งการที่กระดูกujบริเวณงามรากฟนถูกทําลายเกิดเปน FI นั้น ทําใหเกิดบริเวณทีย่ ากตอการเขาไป ทําความสะอาด เกิดบริเวณสะสม plaque ไดดี ทําใหการพยากรณโรคแยกวาในฟนรากเดียวที่ไมมี FI ที่มี การทําลายกระดูกพอ ๆ กัน สาเหตุอื่น นอกเหนือจากการเปนโรคปริทันตอักเสบแลว อาจเกิดจาก trauma from occlusion ก็ได ซึ่งจะทําใหเกิดลักษณะเปน crater-like หรือ angular deformities และเกิด FI ตามมา นอกจากนั้นการมี cervico-enamel projection หรือ CEP ก็เปนอีกปจจัยที่ทําใหเกิด FI ไดงาย
Bone destruction by extension of gingival inflammation โดยทั่วไปนั้น การทําลายกระดูกมักเกิดจากโรคปริทันตอักเสบ ซึ่งเริ่มตนมาจากการมี chronic inflammation จากเหงือกมากอน และเมื่อมีการเปลี่ยนจาก gingivitis จนกลายเปน periodontitis นั้น องคประกอบของ plaque โดยเฉพาะชนิดของเชื้อแบคทีเรียก็มีการเปลีย่ นแปลงไป ซึ่ง extension ของการ อักเสบนั้นจะขึ้นอยูกับปจจัยที่สําคัญ 2 ประการ คือ 1. Pathogenic potential of plaque 2. Host defense mechanisms จุลกายวิภาคศาสตรของกระดูกเบาฟน มีหลาย เซลลที่ทําหนาที่สลายกระดูกนั้นมีตนกําเนิดมาจากโมโนไซตท่เี ปนเซลขนาดใหญ นิวเคลียส พบบริเวณเยื่อหุม กระดูก เซลลสลายกระดูกสรางเอนไซมไดหลายชนิด เชน ไลโซไซม เอนไซมสลายคอลลาเจน เอนไซมสลายฟอสเฟต และเอนไซมที่สลายกรดอินทรียอนื่ ๆ เปนตน โดยการ ทําลายกระดูกจะเริ่มที่เสี้ยนใยกระดูกกอน แลวผิวกระดูกเบาฟนจะถูกทําลายภายหลัง นอกจากนั้นสารที่ เกิดจากปฏิกิรยิ าระหวางปจจัยความรุนแรงของจุลชีพและเม็ดเลือดขาวก็สามารถกอใหเกิดการละลาย กระดูกได โดยถาเกิดการละลายที่กึ่งกลางสันกระดูกเบาฟนกอน ก็จะมีการละลายแบบ horizontal bone loss ถาไมเกิดการละลายทีก่ ึ่งกลางสันกระดูกก็จะเกิดการทําลายแบบ vertical bone loss โดย Selikowitz และคณะ (1981) รายงานวาอัตราการละลายกระดูกเบาฟนเกิดขึ้นประมาณ 0.1 มิลลิเมตรตอป เมื่อติดตาม การละลายของกระดูกดวยภาพรังสี bite wing ลักษณะทางพยาธิวิทยานั้น จะเริ่มจากมีการอักเสบของเหงือกแลวลุกลามไปตาม collagen fiber bundles และ blood vessels เขาไปยัง alveolar bone หากเปนบริเวณฟนกรามบน การอักเสบนั้นอาจลาม ไปถึง maxillary sinus ได ในบริเวณ interproximal นั้น การอักเสบจะขยายไปตาม transeptal fibers และเขาสู bone ผาน ทาง vessel channels (รูปที่ 16 A) สําหรับการเกิด horizontal bone loss นั้น การอักเสบเริ่มตนจากเนื้อเยื่อ ยึดตอชนิดหลวมรอบนอกหลอดเลือด ตอไปที่ตําแหนงกึ่งกลางกระดูกเบาฟน และดานขางสันกระดูก ( เลข 1 ในรูป 16 A) หรืออาจไปตามรอบนอกหลอดเลือดที่เลี้ยง PDL เนื่องจากแรงสบมากเกิน ทําใหเกิด vertical bone loss (เลข 3 ในรูป 16A)
12
ในขณะที่ดาน facial / lingual นั้น การอักเสบจะขยายไปตาม outer periosteal surface และเขาสู marrow space ผานทาง vessel channels ใน outer cortex (ดังรูปที่ 16 B) โดยการเกิด horizontal bone loss นั้นการอักเสบไปสูกระดูกเบาฟนเปนสวนใหญ (เลข 1 ในรูป 16B) หรือเสนทางสวนนอยจะเริ่มจาก เหงือกไปยัง PDL เกิด Vertical bone loss เนื่องจากแรงที่สบเกิน (เลข 3 ในรูป 16B)
รูปที่ 16 A และ B ในบริเวณของ marrow จะพบ cell ตาง ๆ และ leukocytic และ fluid exudate , new blood vessels และ proliferating fibroblast cell ที่พบวามีบทบาทสําคัญในการทําลายกระดูก ไดแก 1. Osteoclast : มีหนาที่ยอยสลายสวน mineral portion ของกระดูก 2. Mononuclear cell : มีหนาทีย่ อยสลายสวน organic matrix Radius of action การทําลายกระดูกรองรับฟนนั้นมีขอบเขตที่คอนขางจํากัด โดย Page และ Schroeder ได ทําการศึกษาและรายงานผลในป ค.ศ. 1982 สรุปไดดังนี้ 1. ประมาณ 1.5-2.5 มม. โดยรอบของตําแหนงที่มี bacterial plaque จะมีการทําลายกระดูก 2. เกินกวา 2.5 มม. ขึ้นไป จะไมพบการทําลายกระดูก ซึ่ง radius of action นี้จะมีผลตอการกําหนด type ของ bone loss บริเวณ interdental septa (ดังรูป ที่ 17)
13
รูปที่ 17 A = narrow B = average C = wide Mechanisms ของการทําลายกระดูก Local agents ที่พบวามีบทบาทในการทําลายกระดูกที่รูจกั กันดีไดแก - Prostaglandins - Osteoclast-activating factor (OAF) - Proteolytic enzymes เชน collagenase, hyaluronidase เปนตน
Bone destruction caused by trauma from occlusion Trauma from occlusion มีผลตอ PDL, cementum และ alveolar bone โดยมีสาเหตุมาจากฟนถูก แรงมากเกินกระทําเปนระยะเวลานาน และทิศทางของแรงไมลงตามแนวแกนฟน ในระยะเริ่มแรกบริเวณ ที่รับแรงดึงเกิดการเปลี่ยนแปลงเฉียบพลัน คือ ชอง PDL กวางขึน้ , PDL เหยียดตึง เกิด thrombosis ซึ่ง เปนภาวะทีห่ ลอดเลือดมีลิ่มเลือด มีเลือดออก cementum ฉีกขาดและละลาย สวนบริเวณที่ถูกกดเกิดการ เปลี่ยนแปลงคือ PDL เรียงตัวไมเปนระเบียบ เกิดการตายเฉพาะสวน ในชอง PDL มี thrombosis และ เลือดออก มีกระดูกละลายแบบ vertical bone loss โดยปกติแลวภาวะเจ็บเหตุสบนี้ไมทําอันตรายตอ เหงือก เนื่องจากไมรบกวนการไหลเวียนโลหิตที่มาเลี้ยงเหงือก Trauma from occlusion ถือเปน secondary cause ของการทําลายอวัยวะปริทันต ซึ่งทําใหเกิดการ ทําลายกระดูก โดยอาจมีการอักเสบรวมดวยหรือไมกไ็ ด กรณีที่ไมมีการอักเสบรวมดวย : trauma from occlusion ทําใหเกิด compression และ tension ตอ PDL และเพิ่ม osteoclast ทําใหเกิดการ necrosis ของ PDL และ bone และเกิด resorption ของ bone และ tooth structure หากเอาแรงนั้นออกไป ก็จะเกิดการซอมสรางของอวัยวะปริทันตขึ้นมาได แตหาก
14
แรงนั้นยังคงอยูตอไปก็จะทําใหเกิด funnel-shaped widening of PDL ในสวน crestal portion และมีการ ละลายของกระดูกขางเคียงและทําใหฟน ทีไ่ ดรับแรงนั้นโยก กรณีที่มีการอักเสบรวม : การทําลายอวัยวะปริทันตจะเกิดขึน้ รวดเร็วและรุนแรงกวากรณีทไี่ มมี การอักเสบรวมดวย และมีการทําลาย attachment และทําใหเกิด angular bone loss
Bone destruction caused by systemic disorders Systemic disorders บางอยางมีผลตอ defense mechanisms และยังผลใหการทําลายอวัยวะ ปริทันตที่เกิดขึ้นนั้นรุนแรงยิ่งขึ้น นอกจากนั้นยังมีโรคบางอยางในกลุม generalized skeletal disturbances เชน hyperparathyroidism, leukomia, Hand-Schueller-Christian disease เปนตน ที่ทําใหเกิด bone destruction
Factors determining bone morphology มีปจจัยหลายอยางที่กําหนดลักษณะของกระดูกรองรับฟนใหมีรูปรางแตกตางกันไป ไดแก 1. Normal variation in alveolar bone 2. Exostoses 3. Trauma from occlusion 4. Buttressing bone formation 5. Food impaction 6. Juvenile periodontitis Normal variation in alveolar bone : ลักษณะที่เปน normal variation บางอยางมีผลตอรูปราง ของ bone loss เชน ความหนา ความกวาง และ crestal angulation ของ interdental septa, ความหนาของ facial / lingual plates , การมี fenestration หรือ dehiscence , การตอบสนองตอการใชงานโดยการหนาตัว เพิ่มของกระดุก หรือแมแตการเรียงตัวของฟน (ดังรูปที่ 18 , 19)
15
รูปที่ 18
A – normal
รูปที่ 19 B – fenestration
C – dehiscence
16
Exostoses : เปนการเจริญเพิ่มขนาดของกระดูก ซึ่งอาจจะพบในลักษณะเปน small / large nodules, sharp ridge, spike-like projection, หรือหลายลักษณะรวมกัน พบไดถึง 40% ทางดาน palatal (ดังรูปที่ 20)
รูปที่ 20 Trauma from occlusion : จากการที่มแี รงเกินกวาแรงบดเคี้ยวปกติ อาจทําใหเกิดการหนาของ margin of alveolar bone ได หรืออาจทําใหเกิดการละลายของกระดูกแบบ vertical หรืออาจทําใหเกิด buttressing bone ก็ได Buttressing bone formation : การเกิด buttressing นั้นพบไดทงั้ ในขากรรไกรและบริเวณ external surface ของขากรรไกรก็ได หากเกิดในขากรรไกร เรียกวา central buttressing Bone formation หากเกิดภายนอกเรียก pheripheral buttressing bone formation หรือ lipping ซึ่งจะเห็นเปน bulging of bone contour ซึ่งมีสวนรวมในการกอใหเกิด osseous crater และ angular defect ไดงายขึ้น
รูปที่ 21
17
Food impaction : การมีเศษอาหารอัดติดซอกฟนเปนอีกปจจัยหนึง่ ที่ทําใหเกิดการละลายของ กระดูกบริเวณ interproximal และเกิด reverse architecture ได กรณีนี้มักเกิดจากบริเวณ contact point ของฟน 2 ซี่นั้น มีการเปดออกหรือผิดปกติไป อาจเกิดเนื่องจากฟนเคลื่อนที่ไปยังชองวางขางเคียง ฟน เคลื่อนยอยต่ําหรือยื่นขึ้นมาในชองวางของบริเวณคูสบ หรือเกิดจากฟนสึกจน marginal ridge หายไป Juvenile periodontitis : กรณีที่เปนโรคปริทันตชนิด aggressive แบบ localized juvenile periodontitis นั้นจะมี pattern ของการทําลายกระดูกคอนขางเปนเอกลักษณ คือ มีการทําลายกระดูกใน แนว vertical ของ first molars และ incisors
สรุป กระดูกรองรับฟนเปนอวัยวะปริทันตอยางหนึ่งที่สําคัญมาก มีหนาที่ในการรองรับฟน ทําใหฟน อยูในขากรรไกรได หากมีการทําลายอวัยวะสวนนี้ไปมากรวมกับไมไดรับการรักษาแลว มักกอใหเกิด การสูญเสียฟนได การทําลายกระดูกนั้นโดยหลักแลวมีสาเหตุที่สําคัญ คือ การมี local factors ซึ่งแบง ออกเปน gingival inflammation และ trauma from occlusion ซึ่งมีลักษณะทางฮิสโตพาโธโลยี , radius of action , rate of bone loss และ mechanism ของการทําลายกระดูกดังที่ไดกลาวมาแลว นอกจากนั้นยัง พบวาโรคทางระบบบางอยางก็มีสวนสงเสริมใหมีการทําลายกระดูกดวย ซึ่งลักษณะรูปแบบของการ ทําลายกระดูกนั้นอาจแบงเปนแบบ horizontal bone loss, และ furcation involvement ซึ่งก็มีการจําแนก ชนิดหรือ classification ออกเปนชนิดตาง ๆ ซึ่งจะมีประโยชนตอการวางแผนการรักษาตอไป
เอกสารอางอิง Clinical Periodontology , 8th ed., Carranza and Newman, 1990. Clinical Periodontology and Implant Dentistry, 3rd ed., Lidhe; Karring and Lang , 1998. Color Atlas of Periodontal surgery, Teruo ITO Jeffrey D. Johnson, 1994. Color Atlas of Dental Medicine 1, Periodontology, 2nd revised and expanded edition, K.H. Rateitschak, 1986. 5. เอกสารประกอบคําสอน เรื่อง Bone destruction in Periodontal disease. อาจารยดาเรศ บุรสิกพงศ ภาควิชาปริทนั ตวิทยา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 1. 2. 3. 4.
***************************************
18
เอกสารประกอบการสอน วิชาปริทันตวิทยา (DPER 482) เรื่อง
Bone Destruction in Periodontal disease
วัตถุประสงค เพื่อใหนักศึกษาสามารถอธิบายเกีย่ วกับ 1. รูปแบบการทําลายกระดูกชนิดตาง ๆ 2. การทําลายกระดูกเนื่องจากการอักเสบจากเหงือก รวมทั้งลักษณะทางฮีสโตพาโธโลยี , ขอบเขตของการทําลาย , อัตราเร็วของการทําลาย และกลไกของการ ทําลายกระดูกแบบนี้ 3. การทําลายกระดูกเนื่องจากการบาดเจ็บเหตุสบ (trauma from occlusion) ทั้งแบบที่มี การอักเสบหรือไมมีเหงือกอักเสบรวมดวย 4. การทําลายกระดูกเนื่องจากความผิดปกติทางระบบ 5. ปจจัยที่มีผลตอลักษณะรูปรางของกระดูก
อ.ดร.สาครรัตน คงขุนเทียน ภาควิชาปริทนั ตวิทยา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน 2548 เวลา 08.00-09.00 น.