Bla 6 2549 Linux-command

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Bla 6 2549 Linux-command as PDF for free.

More details

  • Words: 288
  • Pages: 5
คําสั่ง Linux เบื้องตน ธวัชชัย สุขสาย คําสําคัญ Linux, ระบบปฏิบัติการ, OS ลีนุกซเปนระบบปฏิบัติการสายพันธุย ูนกิ ซ การใชงานสวนมากจะเปนแบบ Command Line ซึ่งเหมาะสําหรับผูบริหารระบบโดยตรง เพียงแคพิมพคาํ สั่งลงไป ก็สั่งรันงานไดเลย คําสัง่ เหลานี้จะมีความเปนมาตรฐาน นําไปใชกบั ลีนุกซคายอืน่ ได ปจจุบันการใชงานลีนกุ ซ งายมากขึน้ เนื่องดวยทางผูผลิตไมวาจะเปน Distributor ใดๆ ก็ พยายามทําใหเปน GUI หรือ Graphic User Interface แตถาคุณตองการพัฒนาการใชงานให กาวหนาอีกระดับ หรือเปนผูด ูแลระบบ แลว คุณจะตองเรียนรูคําสั่งที่เปนรูปแบบ Command Line เพื่อไมใหเสียเวลามาเริ่มกันเลยดีกวาครับ

รูปที่ 1 PuTTY เปนโปรแกรมที่ใชสําหรับติดตอไปยัง Host

ตัวอยาง ที่ชอง Host Name (or IP address) พิมพ ชื่อโฮสต หรือ หมายเลข IP address จากนั้นคลิกทีป่ ุม Open

รูปที่ 2 ใส login และ password

รูปที่ 3 ls เปนคําสัง่ ที่ใชสําหรับดูรายชื่อไฟลตางๆ ใน Directory รูปแบบคําสัง่ ls –[option] name option ตางๆ มีดังนี้ -a แสดงไฟลทั้งหมด -l แสดงรายละเอียดทั้งหมด -c แสดงรายละเอียดไฟลตามลําดับเวลาที่สรางหรือแกไข -t แสดงชื่อไฟลเรียงตามลําดับเวลาที่แกไขลาสุด -u แสดงชื่อไฟลตามเวลาทีเ่ ขาใชงาน

รูปที่ 4 chown เปนคําสั่งสําหรับเปลี่ยนแปลงเจาของไฟล หรือ Directory รูปแบบ chown file name/directory name chgrp ใชสําหรับการเปลี่ยนแปลงกลุมของไฟล หรือ Directory รูปแบบ chgrp file name/directory name chmod เปนคําสั่งในการเปลี่ยนแปลงสิทธิ์การใชงานไฟลของเจาของไฟล กลุมผูใช เดียวกับเจาของไฟล ผูใชอื่นๆ รูปแบบ chmod file name/directory name ในสวนของ permission สามารถแสดงไดโดยใชคําสั่ง ls ดังรายละเอียดดังนี้ 1 -

2 r

3 w

4 x

5 r

6 w

7 -

8 r

9 w

จากตารางชองที่ 1 เปนสวนที่แสดงชนิดของไฟล ถาเปนตัวอักษร d จะหมายถึง directory ชองที่ 2-4 เปนสิทธิ์การใชงานของเจาของไฟล ชองที่ 5-7 เปนสิทธการใชงานไฟลของกลุม เดียวกับเจาของไฟล

10 -

ชองที่ 8-10 เปนสิทธิ์การใชงานไฟลของผูใ ชอื่นๆ โดยที่ r = Read สามารถอานไฟลได W = Write สามารถเขียนไฟลได X = Execute สามารถ run ไฟลได สําหรับคาที่ใชกําหนด permission นั้น จะใชตัวเลขแทนเพื่อความสะดวกซึง่ r=4 , w=2 , x=1 เชน ถาตองการให อาน เขียน run ไฟล ได นําตัวเลขมาบวกกันดังนี้ 4+2+1 = 7 เปนตน

รูปที่ 5 cp คําสั่งสําหรับคัดลอกไฟลหรือ Directory รูปแบบ cp [option] source destination mv คําสั่งที่ใชในการยายไฟล หรือ Directory รูปแบบ mv source destination mkdir คําสั่งสําหรับสราง Directory รูปแบบ mkdir Directory name rm คําสั่งสําหรับลบไฟล หรือ Directory รูปแบบ rm [option] file name/directory name Option -r สําหรับลบ directory ที่มีไฟลอยู

-f ลบไฟลโดยไมมีการถามยืนยัน -i ถามยืนยันการลบไฟล สรุป คําสั่งตางๆใน Linux นั้นจะคลายกับคําสั่งใน dos ซึ่งใชแบบ Command Line แมวา ปจจุบันจะมีการใชแบบ GUI (Graphic User Interface) แตงานบางอยาง เชน การเขียน script ก็ ยังใชคําสัง่ เหลานัน้ อยู พบกันใหมในตอนหนา สวัสดีครับ

สํานักบริหารและรับรองหองปฏิบัติการ โทร 0-2201-7194 e-mail [email protected] 1 มิถุนายน 2549

Related Documents

Bla 6 2549 Linux-command
November 2019 18
Bla Bla Bla
June 2020 22
2549
June 2020 3
Bla Bla Bla
May 2020 21
Bla Bla Fucking Bla
October 2019 49