Benchmarking 1doc

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Benchmarking 1doc as PDF for free.

More details

  • Words: 648
  • Pages: 12
ประโยชน์

ที่ย่อมจะต้องมีการพัฒนาและปรับตัวขึ้นเรื่อยๆ ไม่ใช่องค์กรจะมี ความเก่งกาจและเชี่ยวชาญในเรื่องของ

Benchmarking ได้ในพริบตาเดียว และยิ่งองค์กรมีประสบการณ์ และความชำานาญในการทำา Benchmarking

เท่าใด องค์กรนั้ นย่อมจะได้รบ ั ประโยชน์จากการทำา Benchmarking เพิ่มมากขึ้น

The Public Sector Benchmarking Service (PSBS) ได้จัดลำาดับ ขั้นของพัฒนาการในการจัดทำา

Benchmarking ขององค์กรต่างๆ ไว้ดังนี้ ขั้นที่ 1 องค์กร ไม่ได้มีการนำา Benchmarking มาใช้แต่อย่างใด เพียงแต่อาจจะมีการดูงานในองค์กรอื่น ร้ส ู ึกว่าหน่วย ราชการ จำานวนมากของไทยยังคงอยู่ในขั้นนี้ นะครับ

ขั้นที่ 2 เริม ่ มีการ วัดผลการดำาเนิ นงานด้วยวิธีการต่างๆ โดยเริม ่ ใช้ตัวชี้วัดเหล่านั้ นใน การเปรียบเทียบกับ

องค์กรอื่น เท่าที่เจอองค์กรจำานวนมากของไทยถือ ว่าอยู่ในขั้นนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรที่นำาเอาระบบการวัดและประเมินผลมา ใช้และเปรียบเทียบกับองค์กรอื่น

ขั้นที่ 3 องค์กรเริม ่ นำา Benchmarking มาใช้อย่างเป็ นระบบ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการในการ ทำางาน บทความของผมในครั้งที่แล้วที่พูดถึง Benchmarking ก็ถือว่าอยู่ในขั้นนี้ ขั้นที่ 4 เริม ่ มีโครง สร้างและระบบที่ชัดเจนในการจัดทำา Benchmarking

พร้อมทั้งมีทำา Benchmarking อย่างต่อเนื่ อง และขั้นที่ 5 สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำา Benchmarking ได้มีการแบ่งปั นทัว่ ทั้งองค์กรเพื่อก่อให้เกิดระบบการเรียนรู้ที่ดี ภายในองค์กร

ในขั้นนี้ คงจะเป็ นขั้นที่ผสมผสานกับแนวคิดในเรื่องของการบริหาร ความรู้และการแบ่งปั นความรู้ (Knowledge

Sharing) ตามที่ได้ เคยนำาเสนอไปก่อนหน้านี้ ครับ เป็ นอย่างไรบ้างครับองค์กรของท่านถือว่าอยู่ในขั้นตอนใดของขั้น ตอนทั้งห้าขั้นข้างต้นครับ

เท่าที่เจอส่วนใหญ่ของไทยเรามักจะไม่ค่อยเกินขั้นที่สามนะครับ มี องค์กร

เพียงบางแห่งเท่านั้ นที่ถือว่ามีพัฒนาการได้ถึงขั้นที่ห้า แต่ก็อย่า เพิ่งหมดกำาลังใจก่อนนะครับว่าตัวเองยังไม่ถึง

ไหน อย่างที่เรียนไว้ในช่วงต้นแล้ว ยิ่งทำา Benchmarking มากก็จะ ยิ่งมีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ มากขึ้น ทีน้ ี เรามาลองดูกันบ้างนะครับว่าอะไรคือองค์ประกอบหรือปั จจัยที่ สำาคัญที่จะส่งผลต่อระดับความสำาเร็จของ

การนำาหลัก Benchmarking มาใช้ภายในองค์กร ปั จจัยที่สำาคัญประการแรกคือปั จจัยทางด้านกลยุทธ์ ดูเหมือน ว่า เราจะหนี กลยุทธ์ไม่พ้นนะครับ

ไม่ว่าจะทำาอะไรหรือนำาเครื่องมือทาง การจัดการตัวไหนมาใช้ กลยุทธ์จะต้องเกี่ยวข้องอยู่เสมอ ในองค์กรที่จะ

นำา Benchmarking มาใช้น้ ั นกลยุทธ์จะต้องมีความชัดเจนและใน ขณะเดียวกันกลยุทธ์และทิศ

ทางขององค์กรก็จะต้องสอดคล้องและสนั บสนุ นต่อแนวคิดของ การพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง

โดยกลยุทธ์ท่ีดีจะช่วยบอกให้ ผ้บ ู ริหารทราบว่าจุดหรือกระบวน

การใดบ้างที่ควรจะต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาโดยอาศัยการทำา Benchmark รวมทั้งการทำา Benchmarking

เพื่อวัตถุประสงค์อะไรนั้ นย่อมควรจะต้องสอดคล้อง กับ วัตถุประสงค์ทางกลยุทธ์ท่ีสำาคัญขององค์กร และใน

ขณะเดียว กันข้อมูลต่างๆ ที่ได้รบ ั จากการทำา Benchmarking จะย้อนกลับมาเป็ นข้อมูลที่ช่วยทำาให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจใน เชิงกลยุทธ์ได้ดีและชัดเจนขึ้น

นอกเหนื อจากกลยุทธ์แล้วปั จจัยที่สำาคัญอีกประการคือวัฒนธรรม องค์กร ค่อนข้างที่จะชัดเจนนะครับว่า

องค์กรที่จะนำา Benchmarking มาใช้จนประสบความสำาเร็จได้ จะ ต้องมีวัฒนธรรม

และค่านิ ยมที่มุ่งเน้นต่อการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงตนเอง อยู่ ตลอดเวลา รวมทั้งจะต้องพร้อมที่จะเรียน รู้จากผู้ท่ีดีท่ีสุด ปั จจัยประการที่สามได้แก่ ความพร้อมของระบบสนั บสนุ นในการ ทำา Benchmarking

ระบบสนั บสนุ นในที่น้ ี หมายถึงทั้งในด้านของการสนั บสนุ นการ ทำางานเป็ นทีม การให้คำาแนะนำาจากผู้บริหาร

หรือผ้เู ชี่ยวชาญ การอบรมและพัฒนา หรือเครือข่ายและข้อมูลที่ จะทำา Benchmarking ซึ่งค่อนข้างสำาคัญมาก

นะครับ ในประเทศ ไทยเวลาองค์กรใดอยากทำา Benchmarking ก็ ทำาเลยโดยไม่สนใจว่าระบบสนั บสนุ นพร้อม

หรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรื่องของเครือข่ายและข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง

ปั จจัยประการสุดท้ายคือความแม่นยำาของหลักการ องค์กรที่จะนำา Benchmarking มาใช้คง

จะต้องเลือกปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และวิธีการในการทำา Benchmarking ที่ถูกต้อง

โดยเฉพาะองค์กรที่เพิ่งเริม ่ หรือคิดจะทำาเป็ นครั้งแรก คง จะต้อง ยึดตามหลักเกณฑ์ท่ีเป็ นที่ยอมรับกันอย่าง

แพร่หลาย แล้วหลังจากนั้ นค่อยพัฒนาแนวทางและวิธีการของ ตนเองให้สอดคล้อง ต่อองค์กรแต่ละแห่ง

ท่านผู้อ่านลองพิจารณาดูแล้วกันนะครับว่าถ้าองค์กรท่านประสงค์ที่ จะทำา Benchmarking มาใช้ ปั จจัยทั้งสี่

ประการขององค์กรท่านมีความพร้อมแล้วหรือยัง นอกเหนื อจากปั จจัยข้างต้นแล้ว ยังได้มีการกำาหนดประเด็นสำาคัญ อื่นๆ ที่สำาคัญต่อการทำา Benchmarking

ได้แก่ 1) การสนั บสนุ นอย่างต่อเนื่ องจากผู้บริหาร ระดับสูง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการสนั บสนุ นต่อการพัฒนา องค์กร 2) องค์กรจะต้องมีการกำาหนดวัตถุประสงค์ของการทำา Benchmarking ที่ชัดเจนตั้งแต่เริม ่ แรก เพื่อ ให้ทุกคน ได้รบ ั รู้และเข้าใจร่วมกัน 3) ขนาดของโครงการคงจะต้องมีระดับที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ทรัพยากรทั้งด้านการเงินและเวลาที่มีอยู่ 4) คณะทำางานจะต้องมีภาพของสิ่งที่จะ Benchmark ที่ชัดเจนทั้ง ใน

ด้าน ของกระบวนการและผลการดำาเนิ น งาน ก่อนที่จะเข้าไป ติดต่อองค์กรที่ จะทำา Benchmark ด้วย เนื่ องจาก

ภาพและความเข้าใจที่ไม่ชัดเจนอาจ จะส่งผลต่อการเลือกองค์กรที่ ผิด

5) คณะทำางานและผู้ท่ีเกี่ยวข้องทุกคนจะต้องมีทักษะและความรู้ท่ี เพียงพอ

นอกเหนื อจากปั จจัยที่จะนำาไปสู่ความสำาเร็จข้างต้นแล้ว ยังมีข้อ ควรระวังในการนำา Benchmarking มาใช้ใน

องค์กรด้วย โดยข้อควรระวังเหล่านี้ ประกอบด้วย 1) อย่าทำา Benchmarking เพราะคนอื่นเขาทำา แล้วเลยอยากทำา ด้วย โดยตนเองไม่มีวัตถุประสงค์ท่ีชัดเจน ว่าจะทำาไปทำาไม 2) อย่าไปมุ่งเน้นในเรื่องของการวัดหรือการเปรียบเทียบเป็ นหลัก เพียงอย่างเดียว

จะต้องให้ความสำาคัญที่กระบวนการและวิธีการในการพัฒนา กระบวน การให้ดีข้ ึนด้วย

3) อย่าคาดหวังว่าการทำา Benchmarking เป็ นสิ่งที่ง่าย และทำาได้ รวดเร็วอันนี้ ถือเป็ นประสบ การณ์ของผม

เองก็ว่าได้ ในครั้งแรกๆที่มีโอกาสทำา Benchmarking นั้ น เมื่อ ศึกษาทั้งหลักการและกรณี

ศึกษาจนมัน ่ ใจแล้วคิดว่าไม่ใช่ส่ิงที่ยากและใช้เวลาแต่อย่างใด แต่ พอได้ทำาจริงเลยทราบว่าสิ่งที่คิดนั้ นผิดหมด

เลย Benchmarking ก็คล้ายๆ กับเครื่องมือทางการจัดการหลายๆ ตัวที่หลักการและแนวคิดดูง่ายและชัดเจนดี

แต่พอทำา จริงแล้วจะพบว่าไม่ง่ายอย่างที่คิด 4) อย่าไปคาดหวังว่าจะเจอองค์กรที่จะทำา Benchmarking ได้ โดย ง่าย อันนี้ ถือเป็ นประสบการณ์ท่ีล้ ำาค่าอีก

อย่างหนึ่ ง ทั้งนี้ ในไทยนั้ นการที่จะให้องค์กรอื่นเปิ ดเผยข้อมูลหรือ ศึกษาเปรียบเทียบด้วยก็ไม่ใช่เรื่องง่ายแล้ว

ความยากลำาบากอีกประการหนึ่ งคือการหาองค์กรที่มีกระบวนการที่ เหมือนหรือคล้ายกันที่พอจะให้ศึกษา

เปรียบเทียบได้ การยอมให้องค์กร อื่นเปิ ดเผยข้อมูลนั้ นเกือบจะ เป็ นไปไม่ได้เลยในบ้านเรา ถึงแม้จะเป็ น

องค์กรที่อยู่ในคนละอุตสาหกรรมกันก็ตาม 5) อย่าหวังเป็ นผู้รบ ั ข้อมูลเพียงอย่างเดียว การทำา Benchmarking กับองค์กรอื่นนั้ นเราไม่ได้เป็ นผู้รบ ั เพียง

อย่างเดียว แต่จะต้องทำาหน้าที่เป็ นผู้ให้ด้วย นั้ นคือถ้ามีองค์กรใด ตกปากรับคำาที่จะ Benchmark กับเราแล้ว

เขาย่อมอยากจะเรียนรู้บางสิง่ บางอย่างจากเราด้วย 6) การใช้เวลานานเกินไป เนื่ องจากยิ่งใช้เวลานาน จะยิ่งยากที่จะทำาให้ทุกคนที่เกี่ยว ข้องเกิดความกระตือรือร้นและ การสนั บสนุ นได้ในระยะยาว

เป็ นอย่างไรบ้างครับ อ่านแล้ว อย่าเพิ่งท้อนะครับว่าการทำา Benchmarking เป็ นสิ่งที่ยากลำา

บากเหมือนกับการเข็นครกขึ้นภูเขา ประโยชน์ของ Benchmarking มีหลายประการ

นอกเหนื อจากการเปรียบเทียบและเรียนรู้แล้ว ใน ยุคที่องค์กร ต่างๆ ได้มีการนำาเครื่อง มือทางการจัด

การใหม่ๆ หลายอย่าง เข้ามาใช้ไม่ว่าจะเป็ น Balanced Scorecard, Knowledge Management หรืออื่นๆ

จริงๆ แล้วบทความนี้ ได้นำาเสนอเนื้ อหาของเครื่องมือทางการจัด การใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา

ท่านผู้อ่านคงจะเห็นพ้องกันว่าถ้าจะให้ดีแล้วเครื่องมือทางการ จัดการเหล่า นี้ ไม่ควรจะใช้แยกกัน แต่ควรจะ

นำามาใช้ร่วมกัน เนื่ องจากเครื่องมือ แต่ละประเภทจะมีประโยชน์ และจุด เด่นไปคนละอย่าง

และเครื่องมือเพียงแค่ชนิ ดใดชนิ ดหนึ่ งย่อมไม่สามารถที่จะทำาให้ องค์กรดีข้ ึนได้ใน ทุกๆ ด้าน เครื่องมือแต่ละ ประการ ก็ย่อมมีจุดเด่นของตนเอง สำาหรับความสัมพันธ์ระหว่าง Benchmarking กับเครื่องมือทาง การจัดการอื่นๆ นั้ นเป็ นไปในสองลักษณะ

ได้แก่ ประการแรกเครื่องมือหลายๆ ประการไม่ว่าจะเป็ น Balanced Scorecard, Customer Relationships

Management, Six Sigma, Activity-Based Management จะช่วย ใน การระบุถึงกระบวนการที่มีความ

สำาคัญขององค์กร ซึ่งองค์กรจะต้อง มีการพัฒนาและปรับปรุง กระบวน การเหล่านั้ นเพื่อนำาไปสู่ส่ิงที่องค์กร

ต้องการ โดยการพัฒนาและปรับ ปรุงกระบวนการเหล่านั้ นสามารถ ที่จะทำาได้โดยการนำาหลักของ

Benchmarking เข้ามาช่วย พูดง่ายๆ ก็คือ Benchmarking ถือเป็ นส่วนเสริมที่สำาคัญประการหนึ่ งในการนำาเครื่องมือเหล่านั้ น มาใช้

ประการที่สองก็คือเมื่อองค์กร ตัดสินใจที่จะนำาเครื่องมือทางการจัด การใหม่ๆ มาใช้ภายในองค์กร

ผู้บริหารสามารถที่จะเลือกใช้วิธีการ ในการ Benchmarking เพื่อ เป็ นแนวทางในการนำาเครื่องมือเหล่านั้ น

มาใช้ นั้ นคือแทนที่องค์กรจะเริม ่ จากศูนย์หรือการไม่รู้อะไรเลย องค์กรสามารถเริม ่ จากการศึกษาและเรียนรู้จากองค์กรอื่นถึงวิธี การ และแนวทางในการนำาเครื่องมือเหล่า

นั้ นมาใช้ เรียกได้ว่าเป็ นการนำา Benchmarking มาช่วยในการ นำา เครื่องมืออื่นๆ มาประยุกต์ใช้ อีก

ทั้งยังสามารถเป็ นเครื่องมือที่ใช้เปรียบเทียบถึงพัฒนาการหรือ ความก้าวหน้าของการนำาเครื่องมือนั้ นๆ มาใช้

เมื่อเทียบกับองค์กรชั้นแนวหน้าแห่งอื่นได้อีกด้วย

ทีน้ ี เรามาลองดูความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องมือทางการจัดการบาง ตัวที่ได้เคยนำาเสนอผ่านบทความนี้ กับ Benchmarking กันนะครับ เป็ นที่ยอมรับกันโดยทัว่ ไปว่า Benchmarking เป็ นเครื่องมือที่ สำาคัญในการบริหารความรู้ภายในองค์กร

(Knowledge Management) โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรที่มุ่งเน้น และให้ความสำาคัญกับการ ทำา Benchmarking

จะพบว่าเป็ นองค์กรที่มีวัฒนธรรมองค์กรที่เปิ ดกว้างต่อการแลก เปลี่ยนความรู้และความคิดเห็นระหว่างกัน

อีกทั้งยังยอมรับต่อความรู้ที่หาได้จากที่อ่ ืนและพร้อมที่จะเรียนรู้ และมีการพัฒนาตนเองจากการเรียนรู้จาก ผู้อ่ ืนอยู่ตลอดเวลา คงจะเห็นนะครับว่าองค์กรที่อยากจะนำาแนวคิดในเรื่องของการ บริหารความรู้เข้ามาใช้ภายในองค์กร

สามารถที่จะนำาหลักการของ Benchmarking เข้ามาผสมผสาน ได้ หรืออย่างในการทำา Balanced Scorecard

นั้ น Benchmarking จะเกี่ยวข้องโดยตรงต่อการพัฒนากระบวนการ ภายในที่สำาคัญภายใต้ มุมมองด้าน

กระบวนการภายใน (Internal Process Perspective) โดย Benchmarking อาจจะเป็ นแนวทางหรือวิธีการหนึ่ ง

(Strategic Initiatives) ที่องค์กรจะทำาเพื่อให้เกิดการปรับปรุง กระบวนการที่กำาหนดไว้

ท่านผู้อ่านคงจะเห็นนะครับว่าการทำา Benchmarking ก่อให้เกิด ประโยชน์อย่างยิ่งกับองค์กร

แต่ก็ต้องอย่าลืมด้วยนะครับว่าเวลาเราพูดถึง Benchmarking เราไม่ได้พูดถึงเฉพาะการเปรียบเทียบเพียงอย่างเดียวจะต้องเกิด การเรียนรู้ด้วย ถ้าเริม ่ ที่ระดับองค์กรลำาบาก

เราลองมาเริม ่ ที่ระดับตัวบุคคลก่อนก็ได้นะครับ ท่านผู้อ่านอาจจะกำาหนดเป้ าไปเลยว่าต้องการ Benchmark อะไร กับใครบ้าง เช่น ทำาอย่างไรถึงจะพูดในที่

สาธารณชนได้ดี หรือ ทำาอย่างไรถึงจะมีรูปร่างที่ดี หรือ ทำาอย่างไร ถึงจะรวย (ถ้าทราบแล้วช่วยบอกผมด้วย นะครับ จะขอ Benchmark ด้วยคน)

ที่มา http://thaitax.bravepages.com/business144.html

Related Documents

Benchmarking 1doc
June 2020 45
Benchmarking
May 2020 22
Benchmarking
October 2019 30
Benchmarking
November 2019 32
Benchmarking
June 2020 17
Benchmarking
June 2020 15