Backward[1]

  • July 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Backward[1] as PDF for free.

More details

  • Words: 3,563
  • Pages: 37
การออกแบบการจัดการเรียนรูโดยเทคนิค Backward Design หลักการ แนวคิด Backward Design Backward Design หรือการออกแบบยอนกลับ เปนกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู ที่กําหนดหลักฐานการแสดงออกของผูเรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตาม มาตรฐานการเรียนรู หรือตามผลการเรียนรูที่คาดหวังกอน แลวจึงออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความสามารถ และแสดงความรู ความสามารถตามหลักฐานการแสดงออก ของผูเรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนที่กําหนดไว วิธีนี้ไดเผยแพรโดย Grant Wiggins และ Jay McTighe เมื่อ ค.ศ.1998 ไดใหแนวการออกแบบการจัดการเรียนรูส ําหรับ 1 หนวยการเรียนรูไว 3 ขั้นตอนใหญ ๆ ไดแก ขั้นที่ 1 กําหนดความรูความสามารถของผูเ รียนที่ตองการใหเกิดขึ้น(Identify desired results) ตามมาตรฐานการเรียนรู/ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ขั้นที่ 2 กําหนดหลักฐานที่แสดงวาผูเรียนมีความรู ความเขาใจอยางแทจริง หลังจากไดเรียนรูแลว ซึ่งเปนหลักฐานการแสดงออกที่ยอมรับไดวา ผูเรียนมีความรู ความสามารถตามที่กําหนดไว (Determine acceptable evidence of learning) ขั้นที่ 3 ออกแบบการจัดประสบการณการเรียนรู(Plan learning experiences and instruction) เพื่อใหผูเรียนไดแสดงออกตามหลักฐานการแสดงออกที่ระบุไวในขัน้ ที่ 2 เพื่อเปนหลักฐานวา ผูเรียนมี ความรู ความสามารถตามทีก่ ําหนดไวในขัน้ ที่ 1 แตละขั้นตอนมีรายละเอียดโดยสรุป ดังนี้ ขั้นที่ 1 กําหนดความรูความสามารถของผูเ รียนที่ตองการ(Identify desired results)เปนเปาหมาย การจัดการเรียนรู คือ ครูผูสอนจะตองวิเคราะหใหไดวา ในหลักสูตร/มาตรฐานการเรียนรูของหนวย การเรียนรูที่ออกแบบ กําหนดไววาผูเรียนจะตองมีความรูความเขาใจเรื่องอะไร ตองมีความสามารถทํา อะไรได และสาระ/ความรู และความสามารถอะไร ที่ควรเปนความเขาใจคงทนที่ตดิ ตัวผูเรียนไปเปน เวลานาน(Enduring understandings- “ความเขาใจที่คงทน”) ในการจัดทําหนวยการเรียนรู และกําหนด ความรูความสามารถของผูเรียนที่ตองการใหเกิดขึน้ นี้ ครูผูสอนตองพิจารณาพันธกิจ เปาประสงค และคุณลักษณะอันพึงประสงคของหลักสูตรสถานศึกษา และพิจารณามาตรฐานการเรียนรูของหนวย การเรียนรูที่กาํ ลังออกแบบการจัดการเรียนรูดวย ในขั้นแรกนี้ มีวิธีการพิจารณาเพื่อการเตรียมการจัดการเรียนรูใหชัดเจนขึ้น ซึ่ง Wiggins และ McTighe แนะนําใหใชกรอบความคิด 3 วง เปนเกณฑการพิจารณาเพื่อการจัดลําดับเนื้อหาสาระ ที่จะใหกับผูเรียนไดเรียนรู ดังแผนภูมิที่ 1

2

ความรูที่จะใหผูเรียนคุนเคย (Worth being familiar with) สิ่งสําคัญทึ่ตองรู และตองทํา (ความรู และทักษะที่คัญ) (Important to know and do) ความเขาใจที่คงทน ( “Enduring” understanding)

แผนภูมิที่ 1 การกําหนดความรู และทักษะที่สําคัญประจําหนวยการเรียนรู (ที่มา Wiggins and McTighe. 1998: Establishing Curricular Priorities) ในการจัดการเรียนรู 1 หนวยการเรียนรูนนั้ ครูผูสอนควรจะจัดลําดับเนือ้ หาสาระใหเปน ลําดับอยางเหมาะสม โดยอาจจะใชกรอบความคิด 3 วงดังแผนภูมิที่ 1 ในการพิจารณาการเตรียม การจัดการเรียนรูเพื่อใหการจัดการเรียนรูป ระสิทธิภาพยิ่งขึ้น คือวงกลมวงใหญแทนความรูที่จะให ผูเรียนคุนเคย เปนสาระ/เรื่องที่จะใหผูเรียน อาน ศึกษา คนควาประกอบ หรือเพิ่มเติมดวยตนเอง ตลอด การศึกษาหนวยการเรียนรูนี้ เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจหนวยฯ ที่เรียนมากขึน้ วงกลมกลาง แทนความรู( ขอเท็จจริง หรือความคิดรวบยอด หรือหลักการ) และทักษะสําคัญ(ทักษะกระบวนการ วิธีการ หรือ ยุทธศาสตร)ที่ผูเรียนจําเปนตองใชระหวางเรียนในหนวยฯ เพื่อใหมีความรูความสามารถ ตามที่กําหนดไว วงกลมในสุด เปนความคิดหลักหรือหลักการที่สําคัญของหนวยการเรียนรู ที่ตองการ ใหเปนความเขาใจที่คงทนฝงอยูในตัวของผูเรียนเปนเวลานาน Wiggins และ McTighe ไดใหหลักการในการพิจารณากําหนดความรู(แนวคิด หรือทักษะ กระบวนการ)ที่สําคัญ ที่จัดวาเปนความเขาใจที่คงทน(Enduring understanding) ของหนวยการเรียนรู ที่เปนประโยชนตอผูเรียน มีเกณฑการพิจารณา 4 ขอ คือ ความรูดังกลาว ตองมีลักษณะ ดังนี้ ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

3 1.1 เปนความรู(หลักการแนวคิด/เรื่อง/กระบวนการจัดการเรียนรู) ที่ผูเรียนสามารถ นําไปใชไดในสถานการณใหมที่หลากหลาย ทั้งในเรื่องทีเ่ รียน หรือเรื่องอื่น 1.2 เปนความรู(หลักการแนวคิด/เรื่อง/กระบวนการ) ที่เปนหัวใจสําคัญของหนวยที่เรียน โดยครูผูสอนจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูอยางเปนกระบวนการ และคนพบหลักการ แนวคิด ที่สําคัญนี้ดวยตนเอง(จึงจะเปนความรูที่คงทน) 1.3 เปนความรู(หลักการแนวคิด/เรื่อง/กระบวนการ) ที่อาจจะไมเปนรูปธรรมที่ชัดเจน หรือคอนขางจะเปนนามธรรม เปนความรู(หลักการแนวคิด/เรื่อง/กระบวนการ) ที่ผูเรียนเขาใจ คอนขางยาก และมักจะเขาใจผิด แตความรูน ี้เปนหลักการแนวคิด/เรื่อง/กระบวนการที่ เปนหัวใจ ของหนวยการเรียนรู เชน ในวิชาฟสิกส กฏของแรง กฏของการเคลื่อนที่ แรงโนมถวงของโลก มีความสําคัญ และเปนเรื่องที่ผูเรียนเขาใจคอนขางยาก ครูผูสอนตองนําเรื่องดังกลาว มาจัดกิจกรรม/ จัดประสบการณการเรียนรู ใหผูเรียนมีความรูความเขาใจเรื่องนั้นที่ถูกตองและชัดเจน 1.4 เปนความรู(หลักการแนวคิด/เรื่อง/กระบวนการ) ที่เปดโอกาสใหผูเรียนไดปฏิบัติจริง ในการศึกษา คนควาหาหลักการ/แนวคิด/เรื่อง/กระบวนการสําคัญนั้น และเปนความรูที่สอดคลอง กับความสนใจของผูเรียน จึงจะทําใหผูเรียนมีความสนใจ ตั้งใจทีจ่ ะทํากิจกรรมเพื่อใหเกิดความรู ตลอดหนวยการเรียนรู โดยไมเกิดความเบือ่ หนาย ขั้นที่ 2 กําหนดหลักฐานที่แสดงวาผูเรียนมีความรู ความเขาใจอยางแทจริง ที่เปนหลักฐานที่ชัดเจน และยอมรับไดวาผูเรียนมีความรู ความสามารถตามที่กําหนดไว (Determine acceptable evidence of learning) ในขั้นที่ 1หลังจากไดเรียนรูหนวยฯ ที่กําหนดใหแลว คําถามสําหรับครูผูออกแบบการจัด การเรียนรูตองหาคําตอบใหไดสําหรับขั้นตอนนี้ คือ ครูผสู อนจะรูไดอยางไรวา ผูเรียนมีความรู ความ เขาใจตามมาตรฐาน หรือผลการเรียนรูที่คาดหวังของหนวยการเรียนรูที่กําหนดไว? การแสดงออกของ ผูเรียนควรมีลกั ษณะอยางไร จึงจะยอมรับไดวา ผูเรียนมีความรู ความเขาใจตามที่กําหนดไว? ดังนัน้ ครูผูสอนจึงตองประเมินผลการเรียนรูโดยการตรวจสอบการแสดงออกของผูเรียนเปนระยะ ๆ ดวย วิธีการที่หลากหลาย ทั้งเปนทางการ และไมเปนทางการ สะสมตลอดหนวยการเรียนรู ดังนั้น จึงไมควร ใชวิธีการประเมินผลการเรียนรูเพียงครั้งเดียวแลวตัดสินเปนผลการเรียนรูของผูเรียนใน 1 หนวยการ เรียนรู วิธีการประเมินผลการเรียนรูที่แนะนําสําหรับการใชวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูของ ผูเรียนใหเหมาะสมกับการเรียนรู ในแตละวงของกรอบความคิด 3 วง ดังแผนภูมิที่ 2

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

4

วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู 1. การทดสอบ(ปรนัยเลือกตอบ อัตนัย) 2. การสังเกตพฤติกรรม หรือ การทําโครงงาน หรือ การประเมินตามสภาพจริง

ความรูที่จะใหผูเรียนคุนเคย (Worth being familiar with)

สิ่งที่ตองรู และตองทํา (ความรู และทักษะที่สําคัญ) (Important to know and do) ความเขาใจที่คงทน ( “Enduring” understanding)

แผนภูมิที่ 2 การวัด และประเมินผลการเรียนรูตามลักษณะความรู ความเขาใจ จะเห็นไดวา ถาจะวัดและประเมินผลการเรียนรูที่เปนความเขาใจที่คงทน(Enduring understanding) ของผูเรียนวิธีที่เหมาะสมทีส่ ุดคือ การประเมินตามสภาพจริง สวนความรู และทักษะ ที่สําคัญของหนวยการเรียนรู ก็ควรใชวิธีการประเมินตามสภาพจริงเชนเดียวกัน แตอาจจะประเมิน ดวยการทดสอบดวยก็ได การทดสอบที่ใชควรเปนการทดสอบประเภทเขียนตอบ เพื่อจะไดแนใจวา ผูเรียนมีความรูและทักษะทีส่ ําคัญอยางแทจริง ขั้นที่ 3 ออกแบบการจัดประสบการณการเรียนรู(Plan learning experiences and instruction) หลังจากที่ครูผูสอนไดกําหนด “ความเขาใจที่คงทน” และกําหนดหลักฐานการแสดงออกของผูเรียนที่ แสดงใหเห็นวา ผูเรียนมีความรู และทักษะสําคัญ และมีความเขาใจที่คงทนแลว ครูผูสอนควรออกแบบ การจัดการเรียนรู หรือจัดทําแผนการจัดการเรียนรู โดยกําหนดกิจกรรมตาง ๆ ใหผูเรียนปฏิบัติ ดังนี้ 1. กําหนดหลักฐานการแสดงออกของผูเรียนที่แสดงใหเห็นวา ผูเรียนมีความรู ทักษะ และจิตพิสยั ตามเปาหมายทีก่ ําหนด ที่สอดคลองกับขั้นที่ 2 ที่กําหนดไว 2. กําหนดกิจกรรมการจัดการเรียนรูที่จะชวยใหผูเรียนมีความรู(ขอเท็จจริง ความคิดรวบยอด และหลักการตาง ๆ) และมีทกั ษะ ตามมาตรฐาน/ผลการเรียนรูที่คาดหวังของหนวยการเรียนรู

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

5 3. กําหนดสื่อ อุปกรณ และแหลงการเรียนรูที่เหมาะสม ที่จะทําใหผูเรียนพัฒนาตาม เปาหมายการเรียนรูที่กําหนด 4. กําหนดจํานวนชั่วโมงที่ใชในการพัฒนาผูเรียนในแตละชุดของกิจกรรมการเรียนรู 5. จัดทําแผนการจัดการเรียนรูโดยนําขอมูลจากการออกแบบการจัดการเรียนรูมาจัดทํา แผนการจัดการเรียนรู ครูผูสอน ควรตรวจสอบหนวยการจัดการเรียนรูทั้งหมด โดยใหเพื่อนครูชวยตรวจสอบใหวา แตละสวนของหนวยการจัดการเรียนรูที่กําหนด มีความเหมาะสม และมีความเปนไปไดที่จะทําให ผูเรียนมีความรู มีทักษะ จิตพิสัย และมีความเขาใจที่คงทน(Enduring understanding) ตามเปาหมาย การเรียนรูที่กําหนดหรือไม กอนที่จะนําไปจัดการเรียนรูจริงกับผูเรียน การออกแบบการจัดการเรียนรู โดยเทคนิค Backward Design การออกแบบการจัดการเรียนรูแบบเดิม ครูผูสอนวิเคราะหมาตรฐานการจัดการเรียนรูของวิชา ตามหลักสูตร จัดทําผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป/รายภาค จัดทําสาระการเรียนรูรายป/รายภาค จัดทํา หนวยการเรียนรู วางแผนการจัดการเรียนรู(วางแผนการสอน) แลวจึงนําแผนการจัดการเรียนรูไปใช ในการจัดการเรียนรูใหกับผูเรียน ดวยวิธีการดังกลาว ครูผูสอนบางคนอาจจะไมมีการตรวจสอบวา กิจกรรมการจัดการเรียนรูทกี่ ําหนดในแผนการจัดการเรียนรู สามารถทําใหผูเรียนมีความรูความสามารถ บรรลุตามผลการเรียนรูที่คาดหวังหรือไม อีกทั้งไมไดตรวจสอบวา วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู ของผูเรียนที่กาํ หนดนั้น วัดสอดคลองกับผลการเรียนรูที่คาดหวังหรือไม และสอดคลองมากนอยเพียงใด ดวยเหตุนี้ อาจจะทําใหคุณภาพของผูเรียนไมคอยเปนไปตามที่หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 ก็เปนได จากหลักการ แนวคิดของ Wiggins และ McTighe ดังกลาว พอจะนํามาประยุกตใชสําหรับ ครูผูสอนในการออกแบบการจัดการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพมากขึน้ ทีส่ อดคลองกับบริบทของ การใช หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ.2544 มีขั้นตอนการออกแบบการจัดการเรียนรูแบบ Backward Design ดังนี้ 1. กําหนดชื่อหนวยการเรียนรู/จัดทําหนวยการเรียนรูที่มีคุณคาตอผูเรียน และสังคมและเหมาะสม สอดคลองกับระดับการศึกษาของผูเรียน 2. กําหนดความเขาใจที่คงทน(Enduring understanding) ของหนวยฯ ที่ตอ งการใหเปนความรู ความเขาใจติดตัวผูเรียนไปใชในสถานการณตาง ๆ ไดเปนเวลานาน การเขียนความเขาใจที่คงทน มีแนวการเขียน 2 ลักษณะ ไดแก 2.1 เขียนแบบความเรียง โดยอาจจะเขียนลักษณะดังตอไปนี้ 2.1.1 เขียนลักษณะ “สรุปเปนความคิดรวบยอด” เชน ความพอเพียง ชวยใหสามารถ ดํารงชีวิตอยูใ นสังคมแหงการเปลี่ยนแปลงไดอยางมีความสุข ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

6 2.1.2 เขียนลักษณะ “กระบวนการ” เชน การวิเคราะหสาเหตุของปญหาอยาง กวางขวางหลายมิติ กําหนดทางเลือกในการแกสาเหตุของปญหาอยางหลากหลาย เลือกทางเลือกในการ แกปญหาอยางเหมาะสม ชวยใหสามารถแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ 2.1.3 เขียนลักษณะ “ความสัมพันธ” เชน วิธีการดํารงชีวติ ของมนุษย มีผลกระทบตอ ระบบนิเวศในสายน้ํา 2.1.4 เขียนลักษณะ “สรุปเปนหลักเกณฑ หลักการ” เชน แสงจากดวงอาทิตย มี ความจําเปนตอการสังเคราะหแสงของพืช 2.2 เขียนแบบคําถาม โดยเขียนลักษณะ “คําถามรวบยอด” เชน แมน้ํา ลําคลอง มีอิทธิพลตอ การดํารงชีวิตของมนุษยอยางไร? 3. กําหนดความคิดรวบยอดยอย(Concepts)ที่สําคัญที่จะใหผูเรียนไดเรียน เพื่อใหผูเรียนมี คุณลักษณะตามหนวยการเรียนรูที่กําหนด ซึ่งแตละ Concept ที่กําหนดตองสรรหาอยางเหมาะสม จัดให มีความเชื่อมโยง สอดคลองกัน และสงเสริมกันอยางกลมกลืน อันสงผลใหผูเรียนมีคณ ุ ลักษณะตาม หนวยฯ ทีก่ ําหนด 4. กําหนดความรู และทักษะเฉพาะวิชา(Subject-specific standard) ที่เปนความรู(K) ทักษะ(P) เฉพาะวิชา ของแตละ Concept(จะมากนอยเทาไรจึงจะเพียงพอที่จะพัฒนาใหผูเรียนมีความรู ความสามารถสําหรับแตละ Concept แลวแตผูสอนจะพิจารณา) ซึ่งเมือ่ นักเรียนไดรบั การพัฒนา ทุก Concept แลว จะทําใหผูเรียนมีคุณลักษณะตามหนวยการเรียนรูที่กําหนด 5. ตราจสอบความสอดคลองของความรู(K) และทักษะ(P)เฉพาะวิชา ของแตละ Concept กับ มาตรฐานการเรียนรู(12 ป)ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ.2544 และนําเฉพาะ Key word ในมาตรฐาน ที่สอดคลองกับความรู และทักษะเฉพาะวิชา มาเขียนสําหรับแตละมาตรฐานการเรียนรู 6. กําหนดทักษะครอมวิชา(Trans-disciplinary skills standards)ที่ตองใชในการจัดการเรียนรู ใหกับผูเรียน เชน กระบวนการกลุม การวิเคราะห การเขียนรายงาน ฯลฯ ที่เปนทักษะที่สามารถใชได หลายวิชา หรือเปนการยืมทักษะของวิชาอืน่ มาใช เชน การเขียน(ของวิชาภาษาไทย) การวิเคราะห การรายงาน ฯลฯ 7. กําหนดจิตพิสยั (Disposition standards) ของหนวยการเรียนรูที่กําหนด ที่ตองการใหเกิดขึ้นกับ ผูเรียน 8. กําหนดคุณลักษณะพึงประสงค ใหเหมาะสม สอดคลองกับหนวยการเรียนรูที่กําหนด และ อาจจะตรงกับคุณลักษณะอันพึงประสงคของหลักสูตรสถานศึกษา หรือไมก็ได แตเปนคุณลักษณะ พึงประสงคของหนวยการเรียนรูที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

7 9. กําหนดหลักฐานที่แสดงวาผูเ รียนมีความรู ความเขาใจตามความเขาใจที่คงทน จิตพิสัย(A) และ ทักษะครอมวิชาความรู(K) และทักษะ(P) เฉพาะวิชาที่กาํ หนด โดยการออกแบบการประเมินผล การเรียนรูใหเหมาะสมในแตละรายการทีก่ ําหนด 10. จัดลําดับหลักฐานการแสดงออกของผูเรียน (การประเมิน)ใหเปนลําดับที่เหมาะสม เพื่อนําไป ออกแบบการจัดการเรียนรู ซึ่งกิจกรรมการประเมินที่สามารถจัดรวมกันได ควรจัดไวดว ยกัน ในแตละ ลําดับ 11. ออกแบบการจัดการเรียนรู เปนการกําหนดกิจกรรมการจัดการเรียนรู หรือจัดประสบการณ การเรียนรู โดยนําการประเมินที่จัดลําดับไว มากําหนดกิจกรรมการจัดการเรียนรู หรือการจัด ประสบการณการเรียนรูใหกับผูเรียน กําหนดสื่อ อุปกรณ และแหลงการเรียนรู และจํานวนชัว่ โมง ของแตละกิจกรรมใหเหมาะสม 12. จัดทําแผนการจัดการเรียนรู โดยนําการจัดประสบการณเรียนรูที่ออกแบบไวในขอ 11 มาจัดทํา เปนแผนการจัดการเรียนรู โดยเขียนผลการเรียนรูที่คาดหวังตามความรู และทักษะเฉพาะที่กําหนด สําหรับความคิดรวบยอดยอย(Concept)แตละ Concept 13. ตรวจสอบความเหมาะสมของการออกแบบการจัดการเรียนรู โดยผูเชี่ยวชาญ(ครูสอนสาขา เดียวกัน) ตั้งแตเริ่มกําหนดหนวย จนถึงจัดทําแผนการจัดการเรียนู 14. นําผลการออกแบบการจัดการเรียนรูไปจัดการเรียนรูใหกับผูเรียน ตัวอยางเชน การออกแบบการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ(ภาษาอังกฤษ) เนนเศรษฐกิจพอเพียง ระดับชั้น ม.3 ซึ่งดําเนินการออกแบบการจัดการเรียนรูไดดังนี้ 1. ชื่อหนวยการเรียนรู/จัดทําหนวยการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่จัดทําขึ้นตองมีคุณคาตอผูเรียน และสังคมและเหมาะสม สอดคลองกับระดับการศึกษาของผูเรียน กําหนดดังนี้ ชื่อหนวย “Wonderful Child” 2. ความเขาใจที่คงทน(Enduring understanding) เปนการกําหนดความเขาใจที่คงทนของหนวยฯ ที่ตองการใหเปนความรู ความเขาใจติดตัวผูเรียนไปใชในสถานการณตาง ๆ ไดเปนเวลานาน หนวยนี้ กําหนดไว ดังนี้ “การปฏิบตั ติ ามบทบาทหนาที่ของแตละคนในครอบครัว การสื่อสารที่ดีตอกัน ในครอบครัว และการดํารงชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทําใหครอบครัวมีความสุขอยางยัง่ ยืน” 3. ความคิดรวบยอดยอย(Concepts)ของหนวย เปนความคิดรวบยอดยอยทีต่ องการที่จะใหผูเรียน ไดเรียนรู เพื่อใหผูเรียนมีความเขาใจที่คงทนของหนวยฯ ติดตัวไป Concept ที่กําหนด จะเปน Concept ที่เปนแกนความรูยอย ๆ ที่สําคัญของหนวยฯ ซึ่งแตละ Concept จะมีความเชื่อมโยง สอดคลอง และ สงเสริมกัน เพือ่ ใหผูเรียนมีความเขาใจที่คงทนของหนวย การเรียนรูที่กําหนด การกําหนด Concept สําคัญของหนวยฯ นี้ ไดแก

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

8 3.1 บทบาทหนาที่ของบุคคลในครอบครัว(Each person’s role and relationship in the family) 3.2 การสื่อสารในครอบครัว(Communication in the family) 3.3 เศรษฐกิจพอเพียงในครอบครัว(Sufficient economy lifestyle in the family) (บางหนวยการเรียนรู อาจจะเปนการบูรณาการในกลุมสาระการเรียนรู หรือบูรณาการระหวาง สาระการเรียนรูของวิชา หรืออาจจะเปนการบูรณาการระหวางกลุมสาระการเรียนรูก ไ็ ด เนื่องจาก การจัดการเรียนรูนี้ มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะตามหนวยการเรียนรูที่กําหนด มากกวาสอนใหจบ ตามแบบเรียน) 4. ความรู(K) ทักษะเฉพาะวิชา(P) และมาตรฐานการเรียนรู โดยตรวจสอบความรู และทักษะ เฉพาะวิชากับมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดในหลักสูตร(โดยนํามาเฉพาะ Key word ของมาตรฐานที่ สอดคลองกับความรู และมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนด) ความคิดรวบยอดยอย(Concept) แตละ Concept จะกําหนดใหมีความรู และทักษะเฉพาะวิชามากนอยเพียงใดจึงจะเพียงพอเพื่อใหผูเรียนมี ความรู ความเขาใจแตละ Concept ใหอยูใ นดุลพินิจของผูสอน ซึ่งควรจะกําหนดใหเพียงพอที่จะพัฒนา ผูเรียนใหมีคุณลักษณะตามหนวยการเรียนรูที่กําหนด หนวยฯ นี้ กําหนดความรู และทักษะเฉพาะวิชา ดังนี้ Concept ทักษะเฉพาะวิชา(P) มาตรฐาน ต1.1 ตีความจากเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อ 1.บทบาท 1.หลักการอานออกเสียง ประเภทตาง ๆ และนําความรูมาใช หนาที่ของ 2.ภาษาสําหรับการบรรยาย บุคคลใน 3.ฟง และอานบทความเกีย่ วกับบทบาท ต1.2 มีทักษะในการสื่อสารทางภาษา แลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสาร แสดง ครอบครัว หนาที่ของบุคคลในครอบครัว และ ความสัมพันธของบุคคลในครอบครัว ความรูสึก และแสดงความคิดเห็น ต1.3 ใชกระบวนการพูด การเขียน และ แลวสื่อสารถายทอดใหแกผูอื่น 4.ภาษาที่ใชในการแสดงความคิดเห็น สื่อสารขอมูล ความคิดเห็น และความคิด รวบยอดในเรือ่ งตาง ๆ ไดอยางสรางสรรค การเขียนแสดงความคิดเห็นและการ มีประสิทธิภาพ และมีสุนทรียภาพ เขียนชักชวน ต2.1 เขาใจระหวางภาษากับวัฒนธรรม 5.พูดและเขียนแสดงความคิดเห็น/ ของเจาของภาษา และนําไปใชไดอยาง อภิปราย/เลา/อธิบายเกี่ยวกับบทบาท เหมาะสมกับกาลเทศะ หนาที่ของบุคคลในครอบครัว และ ความสัมพันธของบุคคลในครอบครัว ส2.1 ปฏิบัติตามหนาที่ของการเปน พลเมืองดี ตามประเพณีและวัฒนธรรม 6.ความเปนผูน ําในการสราง ความสัมพันธในครอบครัว

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

9 Concept

ทักษะ 7.ปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของลูก/ บุคคลในครอบครัว 2.การสื่อสาร 1.ภาษา และทาทางที่ใชในการสื่อสาร ในครอบครัว ระหวางบุคคล 2.การใชภาษาเพื่อการสื่อสารตาม มารยาทสังคม 3.การพูดสื่อสาร 4.ฟง และอานบทความเกีย่ วกับการ ปฏิสัมพันธ การสื่อสารระหวางกันใน ครอบครัว แลวสื่อสารถายทอดใหแก ผูอื่น 5.พูด และเขียนแสดงความคิดเห็น/ อภิปราย/เลา/อธิบายเกี่ยวกับการ ปฏิสัมพันธ การสื่อสารระหวางกันใน ครอบครัว 6.แสดงการปฏิสัมพันธ สื่อสารกับพอ แม ญาติ พี่ นอง และบุคคลรอบขาง 3.เศรษฐกิจ 1.ฟง และอานบทความเกีย่ วกับปรัชญา พอเพียงใน เศรษฐกิจพอเพียง แลวสื่อสารถายทอด ครอบครัว ใหแกผูอื่น 2.พูดและเขียนแสดงความคิดเห็น/ อภิปราย/เลา/อธิบายเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 3.ดํารงชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง

มาตรฐาน ดํารงชีวิตอยูรว มกันในสังคมไทยอยางมี ความสุข ต1.1 ตีความจากเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อ ประเภทตาง ๆ และนําความรูมาใช ต1.2 มีทักษะในการสื่อสารทางภาษา แลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสาร แสดง ความรูสึก และแสดงความคิดเห็น ต1.3 ใชกระบวนการพูด การเขียน และ สื่อสารขอมูล ความคิดเห็น และความคิด รวบยอดในเรือ่ งตาง ๆ ไดอยางสรางสรรค มีประสิทธิภาพ และมีสุนทรียภาพ ต2.1 เขาใจระหวางภาษากับวัฒนธรรม ของเจาของภาษา และนําไปใชไดอยาง เหมาะสมกับกาลเทศะ

ต1.1 ตีความจากเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อ ประเภทตาง ๆ และนําความรูมาใช ต1.2 มีทักษะในการสื่อสารทางภาษา แลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสาร แสดง ความรูสึก และแสดงความคิดเห็น ต1.3 ใชกระบวนการพูด การเขียน และ สื่อสารขอมูล ความคิดเห็น และความคิดรวบยอดใน เรื่องตาง ๆ ไดอยางสรางสรรค มี ประสิทธิภาพ และมีสุนทรียภาพ ต3.1 ใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยง ความรูกับกลุม สาระการเรียนรูอื่น และ เปนพื้นฐานในการพัฒนา และเปด

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

10 Concept

ทักษะ

มาตรฐาน โลกทัศนของตน ส3.1สามารถบริหารจัดการทรัพยากรใน การผลิต และการบริโภคการใชทรัพยากร ที่มีอยูอยางจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพ และคุมคา รวมทั้งเศรษฐกิจอยางพอเพียง เพื่อการดํารงชีวิตอยางมีดุลภาพ 5. ทักษะครอมวิชา(Trans-disciplinary skills standards) กําหนดทักษะครอมวิชาที่ใชในการ จัดการเรียนรูใหกับผูเรียนสําหรับหนวยฯนี้ เชน กระบวนการกลุม การวิเคราะห การเขียนรายงาน ฯลฯ ซึ่งเปนทักษะที่สามารถใชไดหลายวิชา หนวยฯ นี้ กําหนดไว ดังนี้ 5.1 กระบวนการกลุม 5.2 การวิเคราะห 5.3 การนําเสนอผลการวิเคราะห 5.4 การสืบคนขอมูล 5.5 การสังเคราะหขอมูลแลวนําเสนอ 5.6 การเขียนเลาเรื่อง 6. จิตพิสัย(Disposition standards) กําหนดจิตพิสัย หรือคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่ตองการ ปลูกฝงใหกับผูเรียน สําหรับหนวยการเรียนรูนี้ หนวยฯ นี้ กําหนดไว ดังนี้ 6.1 มีสัมมาคารวะ 6.2 มีความกตัญูตอบิดา มารดา และผูมพี ระคุณ 6.3 มีวินัยในตนเอง 6.4 มีความรับผิดชอบตอตนเอง และงานทีไ่ ดรับมอบหมาย 6. คุณลักษณะที่พึงประสงค กําหนดคุณลักษณะที่พึงประสงคของหนวยฯ ถาสอดคลองกับ คุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา ใหระบุไวในหนวยฯ ดวย แตถาไมสอดคลองกับ คุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา ใหเวนไปสําหรับหนวยฯ นี้ ไมตองระบุคุณลักษณะที่พึง ประสงคไว สําหรับหนวยฯ นี้ กําหนดไวดงั นี้ “มีความรับผิดชอบ และปฏิบัติตนอยางเหมาะสมในสถานการณตาง ๆ” 7. หลักฐานที่แสดงวาผูเรียนมีความรู ความเขาใจตาม ความเขาใจที่คงทน จิตพิสัย(A) และความรู(K) ทักษะ(P)เฉพาะวิชา ทีก่ ําหนดใหครบทุกรายการ โดยการออกแบบการประเมินผล การเรียนรูใหเหมาะสม ซึ่งกําหนดเปน 6 เทคนิคของการประเมินผลการเรียนรู ดังนี้

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

11 1. Selected Response = ปรนัยเลือกตอบ จับคู ถูกผิด 2. Constructed Response = เติมคํา หรือขอความ เขียน Mind map 3. Essay = เขียนบรรยาย เขียนเรียงความ เขียนเลาเรื่อง เขียนรายงาน 4. School Product/Performance = การแสดง/ปฏิบัติในสถานศึกษา 5. Contextual Product/Performance = การแสดงในสถานการณจริง/สภาพชีวติ จริง นอกสถานศึกษา 6. On-going Tools = ผูเรียนบันทึกพฤติกรรม หรือการสังเกตพฤติกรรมของผูเรียนทุกวัน

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

ผังการประเมินผลการเรียนรู เปาหมายการเรียนรู Selected Response ความเขาใจที่คงทน การปฏิบัติตาม บทบาทหนาทีข่ อง แตละคนใน ครอบครัว การ สื่อสารที่ดีตอกันใน ครอบครัว และการ ดํารงชีวิตตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ทําให ครอบครัวมีความสุข อยางยั่งยืน

Constucted Response

Essay

เขียนเลาเรื่องเกี่ยวกับการ ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบ ในบาน การปฏิสัมพันธ พูด คุยกับพอแม ญาติ พี่ นอง และการดําเนินชีวิต ตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง พรอม แสดงความคิดเห็น และ แสดงความรูสกึ

Contextual School Product/Performance Product/Performance

แสดงบทบาทสมมุติ เกี่ยวกับสภาพ และ บรรยากาศในครอบครัว ที่เปนสุข โดยประยุกตใช แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง

On-going Tools

ครูสัมภาษณผปู กครอง -นักเรียนบันทึกการปฏิบัติตน เกี่ยวกับพฤติกรรมความ ตามบทบาทหนาที่บุคคลใน รับผิดชอบของนักเรียน ครอบครัว การปฏิสัมพันธ ในบาน การปฏิสัมพันธ สื่อสารกับพอ แม พี่ นอง และ สื่อสารกับพอ แม ญาติ การดําเนินชีวติ ตามแนว พี่ นอง และการดําเนิน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใน ชีวิตตามแนวปรัชญา ชีวิตประจําวัน เศรษฐกิจพอเพียง -ผูปกครองสังเกตพฤติกรรม ของนักเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามบทบาทหนาที่ของบุคคล ในครอบครัว การปฏิสัมพันธ สื่อสารกับพอแม ญาติ พี่ นอง และการดําเนินชีวิตตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รายงานครูที่ปรึกษา

13 เปาหมายการเรียนรู Selected Response จิตพิสัย 1.มีสัมมาคารวะ 2.มีความกตัญูตอ บิดา มารดา และผูมี พระคุณ 3.มีวินัยในตนเอง 4.มีความรับผิดชอบ ตอตนเอง และงานที่ ไดรับมอบหมาย

Constucted Response

Essay

Contextual School Product/Performance Product/Performance

ครู และผูปกครองสังเกต พฤติกรรมของนักเรียนดาน การมีสัมมาคารวะกับบุคคลที่ เกี่ยวของ ความกตัญูตอพอ แม ญาติผูใหญ และผูมีพระคุณ การมีวินยั ในตนเอง และความ รับผิดชอบตอสิ่งที่ไดรับ มอบหมายในชีวิตประจําวัน

เขียนเลาถึงพฤติกรรม ของนักเรียนเกี่ยวกับการ มีสัมมาคารวะกับบุคคล ที่เกี่ยวของ ความกตัญู ตอพอแม ญาติผูใหญ และผูมีพระคุณ การมี วินัยในตนเอง และความ รับผิดชอบตอสิ่งที่ไดรับ มอบหมาย ขณะอยูใน โรงเรียน และบาน

ทักษะครอมวิชา 1.กระบวนการกลุม 2.การวิเคราะห 3.การนําเสนอผล 4.การสืบคนขอมูล

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

On-going Tools

-สืบคนขอมูลเกี่ยวกับ บทบาทของบุคคลใน ครอบครัว -พูดนําเสนอผลการ วิเคราะหบทบาทของ บุคคลในครอบครัว

ตุลาคม 2550.

14 เปาหมายการเรียนรู Selected Response 5.การสังเคราะห ขอมูลแลวนําเสนอ 6.การเขียนเลาเรื่อง

Constucted Response

Contextual School Product/Performance Product/Performance การปฏิสัมพันธ การ สื่อสาร และการปฏิบัติ เขียนเลาเรื่องเกี่ยวกับการ ตามบทบาทหนาที่ ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบ ในบาน การปฏิสัมพันธ พูด คุยกับพอแม ญาติ พี่ นอง และการดําเนินชีวิต ตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

Essay

ความรูและทักษะ เฉพาะวิชา -หลักการอานออก เสียง

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

อานออกเสียงบทความ เกี่ยวกับครอบครัว และ บทบาทหนาทีข่ องบุคคล ตาง ๆ ในครอบครัว

ตุลาคม 2550.

On-going Tools

15 เปาหมายการเรียนรู Selected Response -ภาษาสําหรับการ บรรยาย -ฟงและอาน บทความเกีย่ วกับ บทบาทหนาทีข่ อง บุคคลในครอบครัว และความสัมพันธ ของบุคคลใน ครอบครัว แลว สื่อสารถายทอด ใหแกผูอื่น -ภาษาทีใ่ ชในการ แสดงความคิดเห็น การเขียนแสดงความ คิดเห็น และการ เขียนชักชวน

Constucted Response เขียน Mind map โครงสราง และ ลักษณะ ประโยคสําหรับ การเขียน บรรยาย

Essay

Contextual School Product/Performance Product/Performance

-เขียนสรุปจากบทความ ที่ฟง และอาน -เขียนบรรยายเกี่ยวกับ บทบาทหนาทีข่ องบุคคล ตาง ๆ ในครอบครัวของ นักเรียน

เขียน Mind map โครงสราง และ ลักษณะการเขียน แสดงความคิด เห็น และการ เขียนชักชวน

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

On-going Tools

16 เปาหมายการเรียนรู Selected Response -พูดและเขียนแสดง ความคิดเห็น/ อภิปราย/เลา/อธิบาย เกี่ยวกับบทบาท หนาที่ของบุคคลใน ครอบครัว และ ความสัมพันธของ บุคคลในครอบครัว -ความเปนผูนาํ ใน การสราง ความสัมพันธใน ครอบครัว

Constucted Response

Contextual School Product/Performance Product/Performance -เขียนแสดงความคิดเห็น แสดงบทบาทสมมุติ เกี่ยวกับบทบาทหนาที่ เกี่ยวกับสภาพ และ ของบุคคลในครอบครัว บรรยากาศในครอบครัว และความสัมพันธของ ที่เปนสุข ที่เปน บุคคลในครอบครัวของ ครอบครัวใหญ นักเรียนในปจจุบัน -เขียนการดแสดง ความรูสึกที่ดตี อ ครอบครัว

Essay

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

On-going Tools

17 เปาหมายการเรียนรู Selected Response -ปฏิบัติตนตาม บทบาทหนาทีข่ อง ลูก/บุคคลใน ครอบครัว

-ภาษาและทาทางที่ ใชในการสื่อสาร ระหวางบุคคล -การใชภาษาเพื่อการ สื่อความตาม มารยาทสังคม -การพูดสื่อสาร -ฟง และอาน บทความเกีย่ วกับ การปฏิสัมพันธ การ สื่อสารระหวางกัน

Constucted Response

Essay

Contextual School Product/Performance Product/Performance

เขียนเรียงความการเปน ลูกที่ดีของพอแม และ แนวทางการแสดงออก ของลูกที่พึงปฏิบัติตอ บุพการี และบุคคลใน ครอบครัว เขียน Mind map เกี่ยวกับภาษา และทาทางที่ใช ในการสื่อสาร ระหวางบุคคล

-ผูปกครองสังเกตการปฏิบัติ ตนตามบทบาทหนาที่ของลูก ในชีวิตประจําวัน -ผูเรียนบันทึกการปฏิบัติตน ตามบทบาทหนาที่ของลูกใน ชีวิตประจําวัน แสดงทาทางทีเ่ ปนการ สื่อสารระหวางบุคคลใน ลักษณะ และโอกาส ตาง ๆ

เขียนสรุปการ ปฏิสัมพันธ การสื่อสาร ระหวางกันในครอบครัว จากเรื่องที่ฟง และอาน

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

On-going Tools

ตุลาคม 2550.

18 เปาหมายการเรียนรู Selected Response ในครอบครัวแลว ถายทอดใหแกผูอื่น -พูด และเขียนแสดง ความคิดเห็น/ อภิปราย/เลา/อธิบาย เกี่ยวกับการ ปฏิสัมพันธ การ สื่อสารระหวางกัน ในครอบครัว -แสดงการ ปฏิสัมพันธ สื่อสาร กับพอ แม ญาติ พี่ นอง และบุคคลรอบ ขาง

Constucted Response

Essay

เขียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ การสื่อสารระหวางกัน ในครอบครัวของ นักเรียน

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

Contextual School Product/Performance Product/Performance

On-going Tools

แสดงบทบาทสมมุติ สภาพครอบครัวที่มีการ ปฏิสัมพันธ และการ สื่อสารที่ดีตอกันใน ครอบครัว

นักเรียนบันทึกเหตุการณการ ปฏิสัมพันธ สื่อสารกับพอ แม ญาติ พี่ นอง และบุคคลรอบ ขางของนักเรียนอยางนอย 3 เหตุการณ

ตุลาคม 2550.

19 เปาหมายการเรียนรู Selected Response -ฟง และอาน บทความเกีย่ วกับ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงแลวสือ่ สาร ถายทอดใหแกผูอื่น -พูด และเขียนแสดง ความคิดเห็น/ อภิปราย/เลา/อธิบาย เกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง -ดํารงชีวิตตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง

Constucted Response

Essay

Contextual School Product/Performance Product/Performance

On-going Tools

เขียนสรุปปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงจาก เรื่องที่ฟง และอาน

เขียนแสดงความคิดเห็น ตอการนําปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใช ในครอบครัวของ นักเรียน

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

-แสดงบทบาทสมมุติ สภาพครอบครัวที่มี ความสุขโดยการนํา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใชในการดํารงชีวิต -จัดนิทรรศการแสดง -ภาพประทับใจที่ลูก ปฏิบัติตอพอแม -ความชื่นชม/ความ ภาคภูมใิ จของพอแมที่ ไดรับจากพฤติกรรมที่ดี ลูก

ตุลาคม 2550.

-ผูปกครองสังเกตการใชชวิ ิต ของผูเรียนโดยการนําปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใชใน ชีวิตประจําวัน -ผูเรียนบันทึกการนําปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการ ดํารงชีวิตของตนเอง และ

20 เปาหมายการเรียนรู Selected Response

Constucted Response

Essay

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

Contextual On-going Tools School Product/Performance Product/Performance -การตูนฝมอื นักเรียน ครอบครัว แลวเขียนเปน เกี่ยวกับพฤติกรรมที่ลูก รายงาน ควรปฏิบัติตอบุคคลใน ครอบครัว -ครอบครัวสุขสันต ตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

ตุลาคม 2550.

21 8. จัดลําดับการประเมิน จากผังการประเมิน เพื่อวางแผนการออกแบบการจัดการเรียนรู โดยนํา การประเมินจากผังการประเมินทุกรายการที่ไมซ้ํากัน มาจัดลําดับ กอนหลังตามความเหมาะสม หนวยฯ นี้จัดลําดับได ดังนี้ 8.1 สืบคนขอมูลเกี่ยวกับบทบาทของบุคคลในครอบครัว การปฏิสัมพันธ การสื่อสาร และการปฏิบตั ิตามบทบาทหนาที่ 8.2 เขียน Mind map โครงสราง และลักษณะประโยคสําหรับการเขียนบรรยาย 8.3 เขียนสรุปบทบาทหนาทีข่ องบุคคลในครอบครัว และความสัมพันธของบุคคลในครอบครัว จากบทความที่ฟง และอาน 8.4 เขียนบรรยายเกีย่ วกับบทบาทหนาที่ของบุคคลตาง ๆ ในครอบครัวของนักเรียน 8.5 พูดนําเสนอผลการวิเคราะหบทบาทของบุคคลในครอบครัวการปฏิสัมพันธ การสื่อสาร และการปฏิบตั ิตามบทบาทหนาที่ 8.6 เขียน Mind map โครงสราง และลักษณะการเขียนแสดงความคิดเห็น และการเขียนชักชวน 8.7 เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของบุคคลในครอบครัว และความสัมพันธ ของบุคคลในครอบครัวของนักเรียนในปจจุบัน 8.8 เขียนเรียงความการเปนลูกที่ดีของพอแม และแนวทางการแสดงออกของลูกที่พึงปฏิบัติตอ บุพการี และบุคคลในครอบครัว 8.9 เขียน Mind map เกี่ยวกับภาษา และทาทางที่ใชในการสื่อสารระหวางบุคคล 8.10 แสดงทาทางที่เปนการสื่อสารระหวางบุคคลในลักษณะ และโอกาสตาง ๆ 8.11 เขียนสรุปการปฏิสัมพันธ การสื่อสารระหวางกันในครอบครัวจากเรื่องที่ฟง และอาน 8.12 เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ การสื่อสารระหวางกันในครอบครัวของ นักเรียน 8.13 เขียนการดแสดงความรูส ึกที่ดีตอครอบครัว 8.14 เขียนสรุปปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากเรื่องที่ฟง และอาน 8.15 เขียนแสดงความคิดเห็นตอการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในครอบครัวของนักเรียน 8.16 เขียนเลาเรื่องเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่รับผิดชอบในบาน การปฏิสัมพันธ พูดคุยกับพอ แม ญาติ พี่นอง และการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8.17 เขียนเลาเรื่องเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่รับผิดชอบในบาน การปฏิสัมพันธ พูด คุยกับพอแม ญาติ พี่นอง และการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พรอมแสดงความคิดเห็นและแสดง ความรูสึก

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

22 8.18 เขียนเลาถึงพฤติกรรมของนักเรียนเกี่ยวกับการมีสมั มาคารวะกับบุคคลที่เกี่ยวของ ความ กตัญูตอพอแม ญาติผูใหญ และผูมีพระคุณ การมีวนิ ัยในตนเอง และความรับผิดชอบตอสิ่งที่ไดรับ มอบหมาย ขณะอยูในโรงเรียน และบาน 8.19 แสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับสภาพ และบรรยากาศในครอบครัวที่เปนสุข ที่เปนครอบครัวใหญ 8.20 แสดงบทบาทสมมุติสภาพครอบครัวที่มีการปฏิสัมพันธ และการสื่อสารที่ดีตอกันในครอบครัว 8.21 แสดงบทบาทสมมุติสภาพครอบครัวที่มีความสุขโดยการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใชในการดํารงชีวิต 8.22 แสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับสภาพ และบรรยากาศในครอบครัวที่เปนสุข โดยประยุกตใช แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8.23 จัดนิทรรศการแสดง -ผลงานการเขียนของนักเรียน -ภาพประทับใจทีล่ ูกปฏิบัติตอพอแม -ความชืน่ ชม/ความภาคภูมิใจของพอแมที่ไดรับจากพฤติกรรมที่ดีลูก -การตูนฝมือนักเรียนเกีย่ วกับพฤติกรรมที่ลูกควรปฏิบัติตอบุคคลในครอบครัว -ครอบครัวสุขสันต ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 9. ออกแบบการจัดการเรียนรู เปนการกําหนดกิจกรรมการจัดการเรียนรู หรือจัดประสบการณ การเรียนรู โดยนําการประเมินที่จัดลําดับไวในขั้นที่ 8 มากําหนดกิจกรรมการจัดการเรียนรู หรือการจัด ประสบการณการเรียนรูใหกับผูเรียน แลวกําหนดทรัพยาการ/สื่อที่จะใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู และจํานวนชัว่ โมง ของแตละกิจกรรมใหเหมาะสมตลอดหนวยการเรียนรู โดยกําหนดในตารางการ ออกแบบการจัดการเรียนรู ดังนี้ การออกแบบการจัดการรียนรูของหนวยฯ นี้ ใชเวลาเรียน 11 ชั่วโมง การออกแบบการจัดการเรียนรู(เวลา 11 ชั่วโมง) การประเมิน กิจกรรม ทรัพยากร/สื่อ 1.Internet 1.สืบคนขอมูลเกี่ยวกับบทบาท กิจกรรมที่ 1 2.เอกสาร ของบุคคลในครอบครัว การ 1.ครูแนะนําโครงสราง และลักษณะ ปฏิสัมพันธการสื่อสารและ ประโยคสําหรับการเขียนบรรรยาย ให เกี่ยวกับ ครอบครัว การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ นักเรียนศึกษา 3.ตําราการ 2.เขียน Mind map โครงสราง 2.นักเรียนเขียน Mind Map สรุป และลักษณะประโยคสําหรับ โครงการสราง และลักษณะของประโยค เขียน ภาษาอังกฤษ การเขียนบรรยาย ที่นิยมใชกับการเขียนเชิงบรรยาย 3.เขียนสรุปบทบาทหนาที่ของ 3.แบงกลุมสืบคนขอมูลเกี่ยวกับบทบาท 4.ตัวอยาง บทความเขียน บุคคลในครอบครัว และ หนาที่ของบุคคลในครอบครัว การ ความสัมพันธของบุคคลใน ปฏิสัมพันธ การสื่อสาร และการปฏิบัติ แบบบรรยาย ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

เวลา นอก เวลา 2 ชม.

ตุลาคม 2550.

23 การประเมิน ครอบครัว จากบทความที่ฟง และอาน 4.เขียนบรรยายเกีย่ วกับ บทบาทหนาทีข่ องบุคคลตาง ๆ ในครอบครัวของนักเรียน 5.พูดนําเสนอผลการวิเคราะห บทบาทของบุคคลใน ครอบครัวการปฏิสัมพันธ สื่อสาร และการปฏิบัติตาม บทบาทหนาที่

6.เขียน Mind map โครงสราง และลักษณะการเขียนแสดง ความคิดเห็นและการเขียน ชักชวน 7.เขียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของ บุคคลในครอบครัว และ ความสัมพันธของบุคคลใน ครอบครัวของนักเรียนใน ปจจุบัน

กิจกรรม ตามบทบาทหนาที่ของบุคคลใน ครอบครัว 4.นักเรียนเขียนบรรยายสรุปบทบาท หนาที่ของบุคคลในครอบครัว การ ปฏิสัมพันธของบุคคลในครอบครัว และ การสื่อสารภายในครอบครัวที่เหมาะสม จากการสืบคนขอมูล 5.นักเรียนเขียนบรรยายสภาพครอบครัว ของนักเรียน และบทบาทหนาที่ของแต ละบุคคลในครอบครัว 6.นักเรียนพูดนําเสนอผลการเขียนขอ 5 แกเพื่อนนักเรียน กิจกรรมที่ 2 1.ครูแนะนําโครงสราง และลักษณะ ประโยคสําหรับการเขียนแสดงความ คิดเห็น และการเขียนชักชวนใหนักเรียน ศึกษา 2.นักเรียนเขียน Mind Map สรุป โครงสราง และลักษณะประโยคที่นิยม ใชในการแสดงความคิดเห็น และ การเขียนชักชวน 3.นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของบุคคลใน ครอบครัว และความสัมพันธของบุคคล ในครอบครัวปจจุบันของนักเรียนที่ เหมาะสมควรจะเปนตามบริบทของ ครอบครัวของนักเรียน 4.นําเสนอผลงานการเขียนของนักเรียน ในนิทรรศการแสดงผลงาน

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ทรัพยากร/สื่อ

เวลา

1.ตํารา การเขียน ภาษาอังกฤษ 2.ตัวอยาง บทความเขียน แสดงความ คิดเห็น และ บทความที่ เขียนชักชวน

2 ชม.

ตุลาคม 2550.

24 การประเมิน 8.เขียนเรียงความการเปนลูกที่ ดีของพอแม และแนวทางการ แสดงออกของลูกที่พึงปฏิบัติ ตอบุพการี และบุคคลใน ครอบครัว

9.เขียน Mind map เกี่ยวกับ ภาษา และทาทางที่ใชในการ สื่อสารระหวางบุคคล 10.แสดงทาทางที่เปนการ สื่อสารระหวางบุคคลใน ลักษณะ และโอกาสตาง ๆ

11.เขียนสรุปการปฏิสัมพันธ การสื่อสารระหวางกันใน ครอบครัวจากเรื่องที่ฟง และ อาน 12.เขียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ การ สื่อสารระหวางกันใน ครอบครัวของนักเรียน

กิจกรรม

ทรัพยากร/สื่อ 1.สื่อที่ใชฟง กิจกรรมที่ 3 และอาน 1.นักเรียนศึกษาดวยการอาน และฟง เกี่ยวกับ เกี่ยวกับการทําหนาที่บุตรอยาง เหมาะสม ในครอบครัวจากสื่อที่ครูและ การประพฤติ ปฏิบัติตนของ นักเรียนเตรียมมา 2.นักเรียนเขียนเรียงความเกีย่ วกับการ ลูกที่ดีของ ครอบครัว เปนลูกที่ดีของพอแม โดยใหนักเรียน ตั้งชื่อเรียงความเอง 1.สื่อตาง ๆ ที่ กิจกรรมที่ 4 1.นักเรียนศึกษาการใชภาษา และทาทาง แสดงการใช ภาษา และ ที่ใชในการสื่อสารระหวางบุคคลใน ทาทาง ที่ใช โอกาสตาง ๆ จากสื่อตาง ๆ ในการสื่อสาร 2.นักเรียนเขียน Mind Map เกี่ยวกับ ระหวางบุคคล ภาษา และทาทาง ที่ใชในการสื่อสาร ในโอกาส ระหวางบุคคลในโอกาสตาง ๆ ตาง ๆ 3.นักเรียนแสดงทาทาง ที่เปนการ สื่อสารระหวางบุคคลในโอกาสตาง ๆ 1.สื่อตาง ๆ กิจกรรมที่ 5 1.นักเรียนอาน และฟงจากสื่อตาง ๆเกี่ยว เกี่ยวกับการ กับการปฏิสัมพันธ และการสื่อสารใน ปฏิสัมพันธ ครอบครัว ที่ครู และนักเรียนเตรียมมา และการ สื่อสารใน 2.นักเรียนเขียนสรุปการปฏิสัมพันธ และการสื่อสารระหวางกันทีเ่ หมาะสม ครอบครัว ในครอบครัว และเขียนแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ การ สื่อสารระหวางกันในครอบครัวของ นักเรียน 3.นักเรียนนําเสนอผลงานการเขียน ในการจัดนิทรรศการแสดงผลงานของ นักเรียน

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

เวลา 1 ชม.

2 ชม.

1 ชม.

ตุลาคม 2550.

25 การประเมิน กิจกรรม 13.เขียนการดแสดงความรูสกึ กิจกรรมที่ 6 ที่ดีตอครอบครัว 1.นักเรียนศึกษารูปแบบ และการเขียน ความรูสึก ความปรารถนาดี จากการด ในโอกาสตาง ๆ 2.นักเรียนออกแบบการด และเขียน ความรูสึกที่ดตี อครอบครัว สงใหผูที่ นักเรียนเขียนถึง 14.เขียนสรุปปรัชญาเศรษฐกิจ กิจกรรมที่ 7 พอเพียงจากเรือ่ งที่ฟง และอาน 1.นักเรียนศึกษาเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจ 15.เขียนแสดงความคิดเห็นตอ พอเพียงจากสือ่ ตาง ๆ การนําปรัชญาเศรษฐกิจ 2.นักเรียนเขียนเลาเรื่องการปฏิสัมพันธ พอเพียงมาใชในครอบครัว สื่อสารกับพอ แม ญาติ พี่ นอง การ ของนักเรียน แสดงการมีสัมมาคารวะตอบุคคลตาง ๆ 16.เขียนเลาเรือ่ งเกี่ยวกับการ ในครอบครัว การปฏิบัติงานที่ ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบในบาน รับผิดชอบ ตลอดจนการนําปรัชญา การปฏิสัมพันธ พูดคุยกับพอ เศรษฐกิจพอเพียงมาใชในครอบครัว แม ญาติ พี่นอง และการดําเนิน ของนักเรียน เขียนแสดงความคิดเห็นตอ ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ การนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใน พอเพียง การดําเนินชีวติ และเขียนชักชวนให 17.เขียนเลาเรือ่ งเกี่ยวกับการ เพื่อน และบุคคลทั่วไป นําปรัชญา ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบในบาน เศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดําเนิน การปฏิสัมพันธ พูด คุยกับพอ ชีวิต แม ญาติ พี่นอง และการดําเนิน 3.นําเสนอผลงานการเขียนในงาน ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ นิทรรศการแสดงผลงานของนักเรียน พอเพียง พรอมแสดงความ คิดเห็นและแสดงความรูสึก 18.เขียนเลาถึงพฤติกรรมของ นักเรียนเกีย่ วกับการมีสัมมา คารวะกับบุคคลที่เกี่ยวของ ความกตัญูตอ พอแม ญาติ ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ทรัพยากร/สื่อ 1.ตัวอยางการด แสดง ความรูสึกใน โอกาสตาง ๆ

เวลา 1 ชม.

1.สื่อตาง ๆ เกี่ยวกับ ปรัชญา เศรษฐกิจ พอเพียง

นอก เวลา 1 ชม.

ตุลาคม 2550.

26 การประเมิน ผูใหญ และผูมพี ระคุณ การมี วินัยในตนเอง และความ รับผิดชอบตอสิ่งที่ไดรับ มอบหมาย ขณะอยูในโรงเรียน และบาน 19.แสดงบทบาทสมมุติ เกี่ยวกับสภาพ และบรรยากาศ ในครอบครัวที่เปนสุข ที่เปน ครอบครัวใหญ 20.แสดงบทบาทสมมุติสภาพ ครอบครัวที่มีการปฏิสัมพันธ และการสื่อสารที่ดีตอกันใน ครอบครัว 21.แสดงบทบาทสมมุติสภาพ ครอบครัวที่มีความสุขโดยการ นําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ใชในการดํารงชีวิต 22.แสดงบทบาทสมมุติ เกี่ยวกับสภาพ และบรรยากาศ ในครอบครัวที่เปนสุข โดย ประยุกตใชแนวคิดปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 23.จัดนิทรรศการแสดง -ภาพประทับใจที่ลูกปฏิบตั ิ ตอพอแม -ความชื่นชม/ความ ภาคภูมใิ จของพอแมที่ไดรับ จากพฤติกรรมที่ดีลูก -การตูนฝมอื นักเรียน เกี่ยวกับพฤติกรรมที่ลูกควร

กิจกรรม

ทรัพยากร/สื่อ

เวลา

กิจกรรมที่ 8 1.แบงกลุมนักเรียนศึกษาวิธกี ารเขียนบท การแสดงบทบาทสมมุติ 2.นักเรียนแตละกลุมออกแบบ และเขียน บทการแสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับ ครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียง 3.นักเรียนออกแบบนิทรรศการของกลุม ของตนเอง เกีย่ วกับ -ภาพประทับใจที่ลูกปฏิบตั ิตอพอแม -ความชื่นชม/ความภาคภูมิใจของพอ แมที่ไดรับจากพฤติกรรมที่ดีลูก -การตูนฝมอื นักเรียนเกีย่ วกับ พฤติกรรมที่ลูกควรปฏิบัติตอ บุคคลใน ครอบครัว -ครอบครัวสุขสันต ตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง -บทความตาง ๆ ที่นักเรียนเขียนขึน้ 4.นักเรียนจัดนิทรรศการตามขอ 3 5.นักเรียนแสดงบทบาทสมมุติตามที่ เตรียมไว 6.นักเรียน และผูปกครองประเมิน นิทรรศการ และการแสดงบทบาท สมมุติ

1.สื่อและ อุปกรณ สําหรับแสดง บทบาทสมมุติ และจัด นิทรรศการ

1 ชั่วโมง นอก เวลา

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

27 การประเมิน กิจกรรม ทรัพยากร/สื่อ เวลา ปฏิบัติตอบุคคลในครอบครัว -ครอบครัวสุขสันต ตาม แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายเหตุ 1.ใชกระบวนการกลุม ในการปฏิบัติกิจกรรมการจัดการเรียนรู 2.ในการประเมินผลการเรียนรู ประเมินเดี่ยว และกลุมตามความเหมาะสม 10. จัดทําแผนการจัดการเรียนรู โดยนําขอมูลการออกแบบการเรียนรูใ นขัอ 9 มาขยายรายละเอียด ใหมีความชัดเจน จัดทําเปนแผนการจัดการเรียนรู ตามรูปแบบของสถานศึกษา โดยผลการเรียนรู ที่คาดหวังของแผนการจัดการเรียนรู กําหนดจาก ความรู และทักษะเฉพาะของหนวยฯ พรอมจัดทํา เกณฑการประเมิน เกณฑระดับคุณภาพ/มิติคุณภาพ(Rubrics) ใหครบถวนตามทีก่ ําหนดในแผนการจัด การเรียนรู 11. ตรวจสอบความเหมาะสมของการออกแบบการจัดการเรียนรู โดยใหเพือ่ นครู ที่สอนกลุมสาระ การเรียนรูเดียวกัน ชวงชั้นเดียวกัน อยางนอย 3 คน (ที่ไมใชผูรวมทําหนวยการเรียนรูที่ใหตรวจสอบ) ใหชวยกันตรวจความเหมาะสมของกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู ตั้งแตการกําหนดหนวย การเรียนรู กําหนด Concepts …จนถึงการออกแบบการจัดการเรียนรู และจัดทําแผนการจัดการเรียนรู ถามีสวนใดทีต่ องปรับปรุงแกไข ครูผูสอนเจาของหนวยการเรียนรู ตองปรับปรุง แกไขใหเหมาะสม กอนนําไปจัดการเรียนรูใหแกผูเรียน 12. นําแผนการจัดการเรียนรู ไปจัดการเรียนรูใหกับผูเรียน ซึง่ ในการจัดการเรียนรูนอกจากจะ ประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนแลว ครูผสู อนตองประเมินผลการจัดการเรียนรูของตนดวยวา การ ออกแบบการเรียนรูหนวยฯ นี้ ผูเรียนมีความพึงพอใจเพียงใด ผูปกครองมีความพึงพอใจตอคุณภาพของ ผูเรียนเพียงใด ครูพอใจกับคุณภาพของผูเรียนเพียงใด ฯลฯ

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

28 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 ชื่อหนวย Wonderful Child กลุมสาระการเรียนรู ภาษาตางประเทศ สาระการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง การใชภาษาในการสื่อสารในครอบครัว ชัน้ ม.3 เวลา 11 ชั่วโมง 1. สาระสําคัญ การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของแตละคนในครอบครัว การสื่อสารที่ดีตอกันใน ครอบครัว และการดํารงชีวติ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทําใหครอบครัวมีความสุขอยางยัง่ ยืน 2. มาตรฐานการเรียนรู ภาษาตางประเทศ ต 1.1 ตีความจากเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อประเภทตาง ๆ และนําความรูมาใช ต 1.2 มีทักษะในการสื่อสารทางภาษา แลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสาร แสดงความรูสึก และแสดง ความคิดเห็น ต 1.3 ใชกระบวนการพูด การเขียน และสือ่ สารขอมูล ความคิดเห็น และความคิดรวบยอด ในเรื่องตาง ๆ ไดอยางสรางสรรค มีประสิทธิภาพ และมีสุนทรียภาพ ต 2.1 เขาใจระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และนําไปใชไดอยางเหมาะสมกับ กาลเทศะ ต 3.1 ใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรูกับกลุม สาระการเรียนรูอื่น และเปนพื้นฐาน ในการพัฒนา และเปดโลกทัศนของตน สังคมศึกษา ส 2.1 ปฏิบัติตามหนาที่ของการเปนพลเมืองดี ตามประเพณีและวัฒนธรรม ดํารงชีวิตอยูรวมกัน ในสังคมไทยอยางมีความสุข ส 3.1สามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต และการบริโภคการใชทรัพยากรทีม่ ีอยูอยาง จํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพ และคุมคา รวมทั้งเศรษฐกิจอยางพอเพียงเพื่อการดํารงชีวิตอยางมีดุลภาพ 3. ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง 1. ใชภาษาอังกฤษสื่อสารเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของบุคคลในครอบครัวไดอยางถูกตอง เหมาะสม 2. ใชภาษาอังกฤษในการปฏิสัมพันธ สื่อสารกับบุคคลในครอบครัวไดอยางถูกตอง เหมาะสม 3. ใชภาษาอังกฤษอธิบายการประยุกตแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดํารงชีวิตใน ครอบครัวไดอยางเหมาะสม 4. ปฏิบัติตนในครอบครัวไดอยางเหมาะสม กาลเทศะ 5. นําแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดํารงชีวิต

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

29 4. สาระการเรียนรู 4.1 บทบาทหนาที่ของบุคคลในครอบครัว 1) หลักการอานออกเสียง 2) ภาษาสําหรับการบรรยาย 3) ฟง และอานบทความเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของบุคคลในครอบครัว และความสัมพันธ ของบุคคลในครอบครัว แลวสื่อสารถายทอดใหแกผูอื่น 4) ภาษาทีใ่ ชในการแสดงความคิดเห็น การเขียนแสดงความคิดเห็นและการเขียนชักชวน 5) พูดและเขียนแสดงความคิดเห็น/อภิปราย/เลา/อธิบายเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของบุคคล ในครอบครัว และความสัมพันธของบุคคลในครอบครัว 6) ความเปนผูนําในการสรางความสัมพันธในครอบครัว 7) ปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของลูก/บุคคลในครอบครัว 4.2 การสื่อสารในครอบครัว 1) ภาษา และทาทางทีใ่ ชในการสื่อสารระหวางบุคคล 2) การใชภาษาเพื่อการสื่อสารตามมารยาทสังคม 3) การพูดสื่อสาร 4) ฟง และอานบทความเกีย่ วกับการปฏิสัมพันธ การสื่อสารระหวางกันในครอบครัว แลวสื่อสารถายทอดใหแกผูอื่น 5) พูด และเขียนแสดงความคิดเห็น/อภิปราย/เลา/อธิบายเกี่ยวกับการปฏิสมั พันธ การสื่อสาร ระหวางกันในครอบครัว 6) แสดงการปฏิสัมพันธ สื่อสารกับพอ แม ญาติ พี่ นอง และบุคคลรอบขาง 4.3 เศรษฐกิจพอเพียงในครอบครัว 1) ฟง และอานบทความเกีย่ วกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แลวสื่อสารถายทอดใหแกผูอื่น 2) พูดและเขียนแสดงความคิดเห็น/อภิปราย/เลา/อธิบายเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3) ดํารงชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมการเรียนรู กิจกรรมที่ 1 (ชั่วโมงที่ 1) 1. ครูแสดงตัวอยางบทความบรรยายที่เกีย่ วของกับครอบครัวครูแนะนําใหนกั เรียนสังเกต โครงสราง และลักษณะประโยคสําหรับการเขียนบรรยายใหนกั เรียนศึกษา 2. แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 5 คน ศึกษาลักษณะประโยคสําหรับการเขียนบรรยาย อภิปรายและ สรุปลักษณะประโยคสําหรับการเขียนบรรยายเปน Mind Map 3. ผูแทนนักเรียนแตละกลุมนําเสนอ Mind Map ของกลุม และรับคําแนะนําแกไขจากเพื่อน ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

30 4. ครูผูสอนและผูเรียนรวมกันอภิปรายถึงวิธีการสืบคนขอมูลในหัวขอที่เราสนใจ 5. ผูสอนใหนกั เรียนรวมกันกําหนดเกณฑการประเมินและสรางแบบประเมินการนําเสนอ ผลการสืบคน 6. แบงกลุมนักเรียนสืบคนขอมูลเรื่องตาง ๆ ดังนี้ -หนาที่ของบุคคลในครอบครัว -การปฏิสัมพันธสื่อสารของบุคคลในครอบครัว -แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 7. นักเรียนแตละกลุมไปสืบคนขอมูลตามที่ไดรับมอบหมายนอกเวลา แลวนําเสนอผล การสืบคนในครั้งตอไป กิจกรรมที่ 1 (ชั่วโมงที่ 2) 1. ครูทบทวนกิจกรรมครั้งที่ผานมา 2. ตัวแทนกลุม พูดนําเสนอขอมูลที่สืบคน 3. ผูเรียนรวมกันอภิปราย แสดงความคิดเห็นตอเรื่องทีน่ ําเสนอ 4. ประเมินผลการนําเสนอผลการสืบคนของกลุม กิจกรรมที่ 2 (ชั่วโมงที่ 1) 1. ครูแสดงตัวอยางบทความที่แสดงความคิดเห็น และบทความที่แสดงการชักชวนใหปฏิบัติ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ครูแนะนําใหนักเรียนสังเกตุโครงสราง และลักษณะประโยคสําหรับการเขียน แสดงความคิดเห็น และการเขียนชักชวนใหนักเรียนศึกษา 2. แบงกลุมนักเรียนศึกษาโครงสราง และลักษณะประโยคสําหรับการเขียนแสดงความคิดเห็น และการเขียนชักชวน แลวสรุปเปนโครงสราง และลักษณะของประโยคเปน Mind Map 3. นําเสนอ Mind Map ของกลุมใหเพื่อนเติมใหสมบูรณ 4. กลุมปรับปรุง Mind Map ของตนเอง กิจกรรมที่ 2 (ชั่วโมงที่ 2) 1. ครูทบทวนโครงสราง และลักษณะประโยคสําหรับการเขียนแสดงความคิดเห็น และเขียน ชักชวน พรอมใหนกั เรียนศึกษาวิธีการเขียนแสดงความคิดเห็น 2. ครูใหนักเรียนทบทวนบทบาทหนาที่ของบุคคลในครอบครัว และความสัมพันธของบุคคล ในครอบครัวปจจุบันของนักเรียนทีแ่ ตละคนแสดงออก แลวใหนักเรียนแตละคนเขียนแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของบุคคลในครอบครัว และความสัมพันธของบุคคลในครอบครัว ปจจุบันของนักเรียนทีแ่ ตละคนในครอบครัวแสดงออก และเขียนชักชวนใหคนอื่น ๆ แสดงออกที่ดี ตอครอบครัว ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

31 3. นําเสนอผลงานการเขียนในนิทรรศการแสดงผลงานของนักเรียน กิจกรรมที่ 3 (ชั่วโมงที่ 1) 1. ใหนกั เรียนสังเกตภาพการแสดงออกของนักเรียนในครอบครัวลักษณะตาง ๆ 2. ใหนกั เรียนเขียนเรียงความเกี่ยวกับการเปนลูกที่ดีของพอแม โดยใหนกั เรียนตั้งชื่อ เรียงความเอง 3. ใหนกั เรียนนําผลงานของตนเองติดบอรดในหองเรียนใหเพื่อนศึกษา 4. นักเรียนอานเรียงความของเพื่อน แลวชวยกันใหคะแนนเพื่อนที่เขียนเรียงความอานแลว ไดใจความ และใชภาษาไดถูกตอง 5. ใหเพื่อนทุกคนแสดงความชื่นชมตอผลงานที่มีคุณภาพดี กิจกรรมที่ 4 (ชั่วโมงที่ 1) 1. ครูใหนักเรียนสาธิตการใชภาษา ทาทางที่ใชในการสื่อสารระหวางบุคคลในโอกาสตาง ๆ ตามความเขาใจของนักเรียน เมื่อนักเรียนแสดง ใหเพื่อนชวยกันบอกวา หมายความวาอยางไร 3-5 รายการ 2. ใหนกั เรียนศึกษาสื่อตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ และการสื่อสารระหวางบุคคล ในโอกาสตาง ๆ แลวชวยกันบอกภาษา และทาทางที่ใชแสดงการสื่อสารระหวางบุคคล ในชีวิตประจําวันใหไดมากที่สุด แลวครูเขียนคํา/ขอความเหลานั้นลงบนกระดานดํา 3. แบงกลุมใหนกั เรียนชวยกันนําคํา/ขอความเหลานั้น และสามารถคิดเพิ่มได มาเขียนเปน Mind Map เกีย่ วกับภาษา และทาทางที่ใชในการสื่อสารระหวางบุคคล 4. แตละกลุมนําเสนอ Mind Map ของกลุม กิจกรรมที่ 4 (ชั่วโมงที่ 2) 1. ครูทบทวนภาษา และทาทางที่ใชในการสื่อสารระหวางบุคคลในโอกาสตาง ๆ พรอมแสดง Mind Map ที่นักเรียนเขียน 2. แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 3 คน ใหเตรียมสาธิตการใชภาษา และทาทางในการสื่อสาร ระหวางบุคคล กลุมละ 1 เหตุการณ ที่ตอเนือ่ งกันเปนเรื่องเปนราว 3. ครูมอบหมายใหแตละกลุมเปนผูสาธิต สวนอีกกลุมหนึ่งเปนประเมิน โดยไมใหกลุม ที่สาธิตประเมินกลุมที่ประเมินกลุมตน แตใหประเมินกลุมอื่น สลับกันไป โดยใหกลุมที่ประเมิน ให Feed Back แกกลุมที่สาธิตดวย

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

32 กิจกรรมที่ 5 (ชั่วโมงที่ 1) 1. ใหนกั เรียนอาน และฟงเหตุการณตาง ๆ ในครอบครัวที่แสดงการปฏิสัมพันธ และ การสื่อสารในครอบครัวตาง ๆ ที่ครู และนักเรียนเตรียมมา 2. หลังจากนักเรียนศึกษาแลว ใหนกั เรียนทุกคนเขียนสรุปการปฏิสัมพันธ และการสื่อสารกัน ระหวางครอบครัวที่เหมาะสม พรอมเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ และการสื่อสาร ระหวางกันในครอบครัวของนักเรียน กิจกรรมที่ 6 (ชั่วโมงที่ 1) 1. ใหนกั เรียนศึกษารูปแบบ สํานวน และการเขียนความรูสึก ความปรารถนาดีจากการด ในโอกาสตาง ๆ จากบอรดในหองเรียน ทีค่ รู และนักเรียนติดไวลวงหนา 2. ใหนกั เรียนทุกคนเขียนการดแสดงความปรารถนาดีตอคนในครอบครัว ในโอกาสที่คน ในครอบครัวที่จะไดรับ หรือถึงวันสําคัญ ตามความเปนจริง 2 แผน(เหมือนกัน เพื่อสงครู 1 แผน) 3. เมื่อนักเรียนเขียนเสร็จแลว ใหสงใหผูนั้นทางไปรษณีย 1 แผน 4. ใหนกั เรียนบันทึก Feed Back ที่ไดรับจากคนที่นักเรียนสงการดให แลวมานําเสนอ ในหองเรียนครั้งตอไป กิจกรรมที่ 7(ชั่วโมงที่ 1) 1. ทบทวน Feed Back ที่นักเรียนไดรับจากการสงการด โดยใหนกั เรียนออกมาเลาใหเพื่อนฟง 2. ครูสุมใหนักเรียนออกมาเลาลักษณะที่เปนเศรษฐกิจพอเพียง ตามความเขาใจของนักเรียน (จํานวนใหเหมาะสมกับเวลา) 3. ใหนกั เรียนศึกษาเอกสารเกีย่ วกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แลวใหชวยกันสรุปหลักการ เศรษฐกิจพอเพียงใหสมบูรณ โดยครูอาจจะแสดง Model ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดวยก็ได 4. ใหนกั เรียนแตละคนเขียนเลาเรื่องการปฏิสัมพันธ สื่อสารกับพอ แม ญาติ พี่ นอง การแสดง การมีสัมมาคารวะ ตลอดจนการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในครอบครัวของนักเรียน เขียนแสดง ความคิดเห็นตอการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดําเนินชีวิต และเขียนชักชวนใหเพื่อน และ บุคคลทั่วไป นําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดําเนินชีวิต 5. ใหนกั เรียนนําเสนอผลงานการเขียนในงานนิทรรศการแสดงผลงานของนักเรียน 6. ใหนกั เรียนบันทึกการใชชวี ติ ประจําวันของนักเรียนโดยนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกตใชทกุ วัน ตลอดภาคเรียน

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

33 กิจกรรมที่ 8 (ชั่วโมงที่ 1) 1. ทบทวนการเรียนที่ผานมาตั้งแตกิจกรรมที่ 1 จนถึงกิจกรรมที่ 7 2. เชิญวิทยากรพิเศษ/ครูแนะนําการจัดทําบทการแสดงบทบาทสมมุติ 3. แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 7 คน เตรียม และแสดงบทบาทสมมุติ ในแตละกลุมแบงหนาที่ ประธานเลขานุการ คนเขียนบท ผูกํากับ ฝายจัดเตรียมอุปกรณ- ฉาก นักแสดง และเตรียมแบบประเมิน การแสดงบทบาทสมมุติ 4. แตละกลุมออกแบบ และเขียนบทการแสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง และ ออกแบบการจัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักเรียน โดยอยางนอยใหมีการแสดง-ภาพประทับใจ -ภาพประทับใจที่ลูกปฏิบัติตอพอแม-ความชื่นชม/ความภาคภูมิใจของพอแมที่ไดรับจากพฤติกรรมที่ดี ของลูก-การตนู ฝมือนักเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ลูกควรปฏิบัติตอบุคคลในครอบครัว-ครอบครัวสุข สันต ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง-บทความตาง ๆ ที่นักเรียนเขียนขึ้น โดยใหเวลานักเรียน เตรียมงาน 2 สัปดาห แลวจัดแสดงบทบาทสมมุติ และนิทรรศการครึ่งวัน 5. นักเรียนเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อเขียนบทการแสดงบทบาทสมมุติเรื่อง การดําเนินชีวติ ในครอบครัวตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 6. ประชาสัมพันธการแสดง และนิทรรศการ 7. แบงกลุมนักเรียน รับผิดชอบ เตรียมแบบประเมินการจัดนิทรรศการ และเตรียม จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักเรียน 8. แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 7 คน มอบหมายใหแตละกลุมออกแบบ และเขียนบทการแสดง บทบาทสมมุติเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง และออกแบบการจัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักเรียน โดยอยางนอยใหมีการแสดง-ภาพประทับใจ-ภาพประทับใจที่ลูกปฏิบัตติ อพอแม-ความชื่นชม/ความ ภาคภูมใิ จของพอแมที่ไดรับจากพฤติกรรมที่ดีลูก-การตูนฝมือนักเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ลูกควร ปฏิบัติตอบุคคลในครอบครัว-ครอบครัวสุขสันต ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง-บทความตาง ๆ ที่นักเรียนเขียนขึ้น โดยใหเวลานักเรียนเตรียมงาน 2 สัปดาห แลวจัดแสดงบทบาทสมมุติ และ นิทรรศการครึ่งวัน 1. สื่อและแหลงเรียนรู กิจกรรมที่ 1 1. บทความบรรยายที่เกี่ยวของกับครอบครัวครู 2. หนังสือเกีย่ วกับบทบาทหนาที่ และการปฏิสัมพันธระหวางบุคคลในครอบครัว เศรษฐกิจ พอเพียง 3.เอกสารสรุปความรูเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของบุคคลในครอบครัว การปฏิสัมพันธ การสื่อสารของบุคคลในครอบครัว ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

34 4. เว็บไซตที่เกีย่ วของจากอินเทอรเน็ต 5. ตําราวิธีการเขียนภาษาอังกฤษลักษณะตาง ๆ กิจกรรมที่ 2 1. ตําราการเขียนภาษาอังกฤษลักษณะตาง ๆ กิจกรรมที่ 3 1. ภาพการแสดงออกของนักเรียนในครอบครัวลักษณะตาง ๆ กิจกรรมที่ 4 1. สื่อตาง ๆ เชน ภาพ ทีแ่ สดงการใชภาษา และทาทางที่ใชในการสื่อสารระหวางบุคคลใน โอกาสตาง ๆ กิจกรรมที่ 5 2. บทความ และเสียงที่เลาถึงเหตุการณตาง ๆ ในครอบครัวที่แสดงการปฏิสัมพันธ และ การสื่อสารในครอบครัวตาง ๆ กิจกรรมที่ 6 1. การดแสดงความรูสึกตาง ๆ ในโอกาสตาง ๆ ที่มีสํานวนแตกตางกัน กิจกรรที่ 7 1. เอกสารที่เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมที่ 8 1. วัสดุ อุปกรณที่ใชในการแสดงบทบาทสมมุติ และจัดนิทรรศการ 3. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู 3.1 วิธีวัด และประเมินผลการเรียนรู กิจกรรมที่ 1 1. ตรวจผลงานการสืบคนขอมูล 2. ตรวจ Mind Map โครงสรางลักษณะประโยคสําหรับการเขียนบรรยาย 3. ตรวจผลงานการเขียนบรรยายสภาพครอบครัวของนักเรียน และบทบาทหนาที่ของ แตละคนในครอบครัว 4. สังเกตการพูดนําเสนอผลงานการเขียนบรรยาย

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

35 กิจกรรมที่ 2 1. ตรวจการเขียน Mind Map สรุปโครงสราง และลักษณะประโยคที่นิยมใชในการแสดง ความคิดเห็น และการเขียนชักชวน 2. ตรวจงานเขียนแสดงความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับบทบาทหนาทีข่ องบุคคล ในครอบครัวของนักเรียน กิจกรรมที่ 3 1. ตรวจผลงานการเขียนเรียงความเกีย่ วกับการเปนลูกที่ดีของพอ แม กิจกรรมที่ 4 1. ตรวจการเขียน Mind Map เกี่ยวกับการใชภาษา และทาทางที่ใชในการสื่อสารระหวาง บุคคลในโอกาสตาง ๆ 2. สังเกตการสาธิตแสดงทาทางที่แสดงถึงการสื่อสารระหวางบุคคลในโอกาสตาง ๆ กิจกรรมที่ 5 1. ตรวจการเขียนสรุปการปฏิสัมพันธ และการสื่อสารระหวางกันในครอบครัวจากเรือ่ งที่ฟง และอาน กิจกรรมที่ 6 1. ตรวจการดแสดงความปรารถนาดีที่นักเรียนเขียนสงบุคคลในครอบครัว 2. ตรวจบันทึก Feed Back ที่ไดรับจากบุคคลในครอบครัว กิจกรรมที่ 7 1. ตรวจการเขียนเลาเรื่องเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ สื่อสารกับบุคคลในครอบครัว การปฏิบัติงานที่รับผิดชอบในครอบครัว การมีสัมมาคารวะตอบุคคลตาง ๆ ในครอบครัว การนํา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดํารงชีวิตของครอบครัว เขียนแสดงความคิดเห็นตอการนํา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในครอบครัว และเขียนชักชวนใหเพื่อน และบุคคลทั่วไปนําปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดําเนินชีวิต กิจกรรมที่ 8 1. ตรวจการเขียนบท การแสดงบทบาทสมมุติ 2. สังเกตการแสดงบทบาทสมมุติ 3. ตรวจนิทรรศการแสดงผลงานของนักเรียน

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

36 เครื่องมือวัด และประเมินผลการเรียนรู กิจกรรมที่ 1 1. แบบตรวจ Mind Map โครงสรางลักษณะประโยคสําหรับการเขียนบรรยาย 2. แบบตรวจผลงานการเขียนบรรยายสภาพครอบครัวของนักเรียน และบทบาทหนาทีข่ อง แตละคนในครอบครัว 3. แบบสังเกตการพูดนําเสนอผลงานการเขียนบรรยาย กิจกรรมที่ 2 1. แบบตรวจการเขียน Mind Map สรุปโครงสราง และลักษณะประโยคที่นิยมใชในการแสดง ความคิดเห็น และการเขียนชักชวน 2. แบบตรวจงานเขียนแสดงความคิดเห็น กิจกรรมที่ 3 1. แบบตรวจผลงานการเขียนเรียงความเกี่ยวกับการเปนลูกทีด่ ีของพอ แม กิจกรรมที่ 4 1. แบบตรวจการเขียน Mind Map เกี่ยวกับการใชภาษา และทาทางที่ใชในการสื่อสารระหวาง บุคคลในโอกาสตาง ๆ 2. แบบสังเกตการสาธิตแสดงทาทางที่แสดงถึงการสื่อสารระหวางบุคคลในโอกาสตาง ๆ กิจกรรมที่ 5 1. แบบตรวจการเขียนสรุปการปฏิสัมพันธ และการสื่อสารระหวางกันในครอบครัวจากเรื่อง ที่ฟง และอาน กิจกรรมที่ 6 1. แบบตรวจการดแสดงความปรารถนาดีที่นักเรียนเขียนสงบุคคลในครอบครัว 2. แบบตรวจบันทึก Feed Back ที่ไดรับจากบุคคลในครอบครัว กิจกรรมที่ 7 1. แบบตรวจการเขียนเลาเรื่องเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ สื่อสารกับบุคคลในครอบครัว การปฏิบัตงานที่รับผิดชอบในครอบครัว การมีสัมมาคารวะตอบุคคลตาง ๆ ในครอบครัว การนํา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดํารงชีวิตของครอบครัว เขียนแสดงความคิดเห็นตอการนํา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในครอบครัว และเขียนชักชวนใหเพื่อน และบุคคลทั่วไปนําปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดําเนินชีวิต ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.

37 กิจกรรมที่ 8 1. แบบตรวจบท การแสดงบทบาทสมมุติ 2. แบบสังเกตการแสดงบทบาทสมมุติ 3. แบบตรวจนิทรรศการแสดงผลงานของนักเรียน

เอกสารอางอิง เพ็ญนี หลอวัฒนพงษา. การสรางหนวยการเรียนรู. เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรผูนํา การเปลี่ยนแปลง เพื่อรองรับการกระจายอํานาจ สําหรับศึกษานิเทศก. เอกสารอัดสําเนา. มปป. Department of Education Tasmania. (5 November 2004). Principle of Backward Design. สืบคนเมื่อ วันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2550. จาก:http/www.itag.education. tas.gov.au/Planning/models/princbackdesign.htm Glen Hammond. (22 January 2007). Understanding by Design. สืบคนเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2550. จาก:http/www.xnet.rrc.mb.ca/glenh/understanding_by_design.htm Greece Central School District. (26 February 2007). Backward Design 101. สืบคนเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2550. จาก:http/www.arps.org/users/ms/coaches/Backward%20design%20101.htm Greece Central School District. (11 April 2007). Backward Design. สืบคนเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2550. จาก:http/www.greece.k12.ny.us/instruction/ela/6-12/BackwardDesign/overview.htm Wiggins, Grant and McTighe, Jay. Understanding by Design. Virginia: Association for Supervision and Curriculum Development.

ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.

ตุลาคม 2550.