Army Before Coup

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Army Before Coup as PDF for free.

More details

  • Words: 912
  • Pages: 6
วันที่ 19 ก.ค. 2549

ทบ. สัง่ โยกยาย 129 นายทหารระดับ ผบ.กองพัน เผย ผบ.ทบ.ใหอาํ นาจ มทภ.1 พิจารณาเต็มที่ เนนย้าํ ใหนายทหาร คุมกําลังตองมีความรู ความสามารถ โปรงใส ปราศจากเด็กนักการเมือง ผูบ งั คับบัญชาควบคุมได ผูสื่อขาวรายงานจากกองทัพบกวา วันนี้(19 ก.ค.) มีการแจกจายสําเนาคําสั่งกองทัพบก ที่ 423 / 2549 เรื่องใหนายทหารรับราชการ จํานวน 129 นาย โดยเปนคําสั่งปรับยายนายทหารระดับผูบังคับกองพัน ซึ่งเปนการจัดทําเรงดวนนอกฤดูกาล เพราะการปรับยาย นายทหารระดับผูบังคับกองพัน ปกติจะกระทําหลังพิธีสวนสนามถวายสัตยปฏิญาณของทหารรักษาพระองค เนื่องจากในคําสั่ง ระบุใหรับเงินประจําตําแหนงตั้งแต กันยายนนี้ จึงตองเรงดําเนินการ

หนา 1 จาก 6

ผูสื่อขาวรายงานวา สําหรับคําสั่งปรับยายนายทหารระดับผูบังคับกองพันครั้งนี้ พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ผูบัญชาการทหารบก ได ั ภาคที่ 1 พิจารณาอยางเต็มที่ โดยเนนย้ําใหนายทหารที่จะเขามาคุม หารือและใหอํานาจแก พล.ท.อนุพงษ เผาจินดา แมทพ กําลังตองเปนนายทหารที่มีความรู ความสามารถ โปรงใส ปราศจากเด็กนักการเมือง และผูบังคับบัญชาสามารถควบคุมได คําสั่งกองทัพบก ที่ 423/2549 เรื่องใหนายทหารรับราชการ จํานวน 129 นาย โดยคําสั่งดังกลาวเปนคําสั่งปรับยายนายทหารระดับ ผูบังคับกองพัน หรือตําแหนงผูพัน ซึ่งการจัดทําครั้งนี้ถือวาเปนการจัดทําที่เรงดวน เพราะฤดูการปรับยายนายทหารระดับผูบังคับ กองพัน จะกระทําในหวงหลังการสวนสนามรักษาพระองค ครั้งนี้ถือวาเปนค่ําสั่งนอกฤดูการ เพราะในคําสั่งไดระบุใหรับเงิน ประจําตําแหนงตั้งแตกันยายนที่จะถึงนี้ ผูสื่อขาวรายงานวา สําหรับคําสั่งปรับยายนายทหารระดับผูบังคับกองพันดังกลาว พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ผบ.ทบ. ไดหารือ และ ใหอํานาจแก พล.ท.อนุพงษ เผาจินดา แมทัพภาคที่ 1 อยางเต็มที่ โดยไดเนนย้ําใหนายทหารที่จะเขามาคุมกําลังจะตองเปน นายทหารที่มีความรู ความสามารถ โปรงใส ปราศจากเด็กนักการเมือง และผูบังคับบัญชาสามารถควบคุมได จึงใหอํานาจเต็มแก แมทัพภาคที่ 1 ผู สื่อขาวรายงานตอวา สําหรับ พล.ท.อนุพงษ เปนเพื่อนรวมรุน (ตท.10) กับ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกฯ แตเมื่อเกิดเหตุการณวิกฤติในบานเมือง ในชวงที่ กลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยออกมากดดันชุมนุมขับไล พ.ต.ท.ทักษิณ ทางเพื่อนรวมรุนที่อยูในตําแหนงไม วาจะเปน พล.ท.จิรสิทธิ์ เกษะโกมล แมทัพนอยที่ 1 พล.ต.พฤณฑ สุวรรณทัต ผบ.พล.1 รอ. พล.ต.ศานิต พรหมาศ ผบ.พล.ม.2 รอ. พล.ต.เรืองศักดิ์ ทองดี ผบ.พล.ปตอ. พล.ต.ทวนชัย พันธุเพิ่มศิริ รอง จก.ทหารชาง ตางประชุมหารือกันบอยที่สโมสร พล.ปตอ. เพื่อยืนเคียงขาง พ.ต.ท.ทักษิณ แตทาง พล.ท.อนุพงษประกาศจุดยืนตลอดวา เปนทหารของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัว และประเทศชาติ จนถูกเพื่อนรวมรุน ตท.10 บอยคอตตมาตลอด โดยถูกกดดันวาเปนเพื่อน ตท.10/1 ผู สื่อขาวรายงานวา สวนการปรับยายนายทหารระดับผูพัน พล.ท.อนุพงษ ไดหารือกับ พล.อ.สนธิ เพื่อตองการใหทหารอยูใน จุดยืนไมยุงเกี่ยวกับการเมือง จึงไมไดหารือกับ พล.ต.พฤณฑ สุวรรณทัต ผบ.พล.1 รอ. ที่เปนผูบังคับบัญชาโดยตรงของผูบังคับ กองพันหลายกองพันที่คุมกําลังหลักใน กทม.ที่ครั้งนี้โดนยายไปคนละทิศละทาง จึงเกิดความตึงเครียดในหมู ตท.10 โดยเฉพาะ พล.ต.พฤณฑ หรือ "บิ๊กโอ" กับ พล.ท.อนุพงษ ตางไมพูดจา และไมมองหนากันในชวงนี้ และเกิดการแบงเปน 2 ฝายภายใน ตท. 10 ดวยกันคือ ผูที่จะเลือกอยูฝาย พล.อ.สนธิ และฝาย พ.ต.ท.ทักษิณ สําหรับ ตําแหนงผูพันหลักที่คุมกําลังหลักในกรุงเทพฯ ที่โดนปรับออกประกอบดวย พ.ท.โฆษิต ชินวลัญช ผบ.ม.พัน.4 รอ. (ตท. 23) ซึ่งคุมรถถังหลักใน กทม. และเปนลูกเขยของ พล.ต.ศานิต พรหมาศ ผบ.พล.ม.2 รอ. ถูกยายกระเด็นไปเปน เสธ.จทบ. สระบุรี สําหรับเด็กในสังกัด พล.ต.พฤณฑ สุวรรณทัต ผบ.พล.1 รอ. ที่คุมกําลังของทหารราบใน กทม.ที่ถูกยายออกพื้นที่ ประกอบดวย พ.ท.เวชศักดิ์ ขันธอุบล ผบ.ร.1 พัน.1 รอ. (ตท.25) เปน หน.ฝายขาว มทบ.13 (ลพบุรี) พ.ท.อนุภาพ ศิริมณฑล ผบ.ร.1 พัน.3 รอ. (ตท.26) ที่ถูกลงไปราชการที่ 3 จังหวัดชายแดน ถูกยายเปน ฝสธ.ประจําผูบังคับบัญชา พ.ท.วิรัฎฐ วงษจันทร ผบ.ร.11 พัน.2 รอ. (ตท.23) เปน นายทหารจเร ทภ.1 พ.ต.นิรินธน ปุณโณทก รองผบ.ร.1 พัน.1 รอ. (ตท.28) เปนรอง เสธ.ร.11 รอ.

หนา 2 จาก 6

สวน เด็กของ พล.ท.อนุพงษ เผาจินดา แมทัพภาคที่ 1 ที่เขามาคุมตําแหนงแทน และคุมกําลังหลักใน กทม.เพื่อปองกันการปฏิวัติ ประกอบดวย พ.ท.สัญญลักขณ ทั่งศิริ ผบ.ม.พัน.19 (ตท.25) เขามาเปน ผบ.ม.พัน.4 รอ. พ.ท.อรรถกร ทิพยมนตรี หน.ทน.1 (ตท.26) เปน ผบ.ม.พัน.19 พ.ท.พลศักดิ์ ศรีเพ็ญ รอง เสธ.ร.11 รอ. (ตท.27) เปน ผบ.ร.1 พัน.3 รอ. พ.ท.ปริญญ รื่นภาควุฒิ ทส. แมทัพภาคที่ 1 (ตท.30) เปน ผบ.ร.1 พัน.1 รอ. ซึ่งเปนกองพันหมายเลข 1 ของทหารราบ ทบ.และเปนผูพันคนแรกของ รุน ตท.30 พ.ท.ธีรพล ประทีปอุษานนท ผบ.ร.11 พัน.3 (ตท.26) เปน ผบ.ร.11 พัน.2 พ.ท.รวิศ รัชตะวรรณ หน.แผนกควบคุมภายใน ทภ.1 (ตท.27) เปน ผบ.ร.11 พัน.3 รอ. ผู สื่อขาวรายงานวา การปรับยายครั้งนี้ ทาง พล.อ.สนธิ ไดให พล.อ.วิชิต ยาทิพย รอง ผบ.ทบ.ลงมาเปนประธานการคัดเลือก และใหสิทธิ์กับแมทัพภาคที่ 1 ในการหมุนเวียนกําลังพลเต็มที่ จึงสรางความไมพอใจใหกับ พล.ต.พฤณฑ สุวรรณทัต ผบ.พล.1 รอ. จึงไดนําเรื่องไปฟองรองกับ พล.อ.พรชัย กรานเลิศ ผช.ผบ.ทบ.ในฐานะประธาน ตท.10 เพื่อใหเพื่อนๆ ตท.10 กดดัน พล.ท. อนุพงษ ตอไป นอกจากคําสั่งแตงตั้งโยกยายนายทหารคุมกําลัง 129 นาย คือการสลายพลังตอรองดาน “อํานาจทหาร” ของทักษิณแบบ “ถอน รากถอนโคน” จนวันนี้เหลือเพียง “หัว” ตท. 10 ที่อยูในตําแหนงคุมกําลัง 3 กองพลในเมืองหลวง แตไร “หาง” เพราะถูก “ถอด เขี้ยวเล็บ” ระดับ “ผบ.พัน” โดยสิ้นเชิงแลว แหลงขาวผูคร่ําหวอดในวงการทหารฟนธงทันทีที่เห็นคําสั่งกองทัพบก ที่ 423/2549 เรื่องใหนายทหารรับราชการ จํานวน 129 นาย ในระดับผูบังคับกองพัน ลงวันที่ 19 กรกฎาคม 2549 วามีนัยสําคัญของวงการทหารที่มีตอการเมืองในทางเปด 2 ระดับ ระดับแรก เปนการประกาศตอสังคมวา กองทัพบกในยุค พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน มีความเปนตัวของตัวเองในการปรับยาย นายทหารตามจังหวะเวลาที่เหมาะสม แมวาสังคมจะมองวาเปนการโยกยายนอกฤดู แตแทจริงแลวถือวาเปนอํานาจและสิทธิ เด็ดขาดโดยตรงของผูบัญชาการทหารบก (ผบ.ทบ.) ที่สามารถทําได เพราะสายงานหลักที่คุมกําลังคือผบ.ทบ. และแมทัพทุกภาค รวมถึงหนวยสงครามพิเศษนั้น มีหนาที่ตองดูแลหนวยในบังคับบัญชาใหพรอมอยูเสมอ ทั้งในหวงเวลาปกติ และไมปกติ ในระยะ 4 - 5 ปมานี้ ธรรมเนียมปฏิบัติเรื่องการโยกยายในกองทัพถูกแทรกแซงจากฝายการเมืองมาโดย ตลอด ดังจะเห็นจาก ตําแหนงผูบัญชาการระดับสูงของกองทัพหลังจากยุคพล.อ.สุรยุทธ จุลลานนทไปแลวถูกกําหนดวางตัวมาจากฝายการเมือง และ ยังไลลงไปถึงระดับนายทหารคุมกองพลในชวงป 2546 - 2547 ที่นายทหารที่เขาศึกษาในโรงเรียนเตรียมทหารรุนที่ 10 (ตท.10) รุนเดียวกับรักษาการนายกรัฐมนตรี ขยับขึ้นมาคุมกําลังสําคัญกันชนิดยกแผง ขณะที่ไดเริ่มสรางเครือขายของตนในระดับกอง พันในชวงหลังจากป 2547 เปนตนมา ในการโยกยายครั้งนี้ พล.อ. สนธิ บุญยรัตกลินไดเริ่มกลับมาใชธรรมเนียมปฏิบัติที่กองทัพยึดถือกันมาอีก ครั้งหนึ่ง กลาวคือ ผบ.ทบ.จะไมลงไปลวงลูกเรื่องการโยกยายนายทหารระดับพันเอกพิเศษลงมา จึงปลอยให รองผบ.ทบ. คือ พล.อ. วิชิต ยาทิพย เปนประธานคณะกรรมการผูดําเนินการทั้งหมด ผานทางแมทัพกองทัพภาคที่ 1 นี่จึงเปนการทําใหกองทัพกลับมามาสูระบบของ กองทัพอีกครั้ง

หนา 3 จาก 6

ระดับที่ 2 สาเหตุสําคัญของการโยกยายในจังหวะเวลาที่สถานการณทางการเมืองรอนแรงอยาง ยิ่ง คือการประกาศจุดยืนของ กองทัพบกตอสังคมโดยไมตองประกาศ

“จุดเปลีย่ นของเหตุการณอยูท กี่ ารออกมาสงสัญญาณทีช่ ดั เจนทีส่ ดุ ของพล.อ. เปรม (ติณสูลานนท) หลังจากทนนิง่ เงียบมานาน ในระหวางไปบรรยายทีโ่ รงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลาฯเมือ่ วันที่ 14 กรกฎาคม สือ่ มวลชนไปพาด หัวเรือ่ งจอกกี้ กับมา เปนหลัก แตสงิ่ ทีต่ อ งอานใหลกึ ลงไปมีอกี 2 เรือ่ งก็คอื หนึง่ ...ทานเปนคนกําหนดหัวขอทีจ่ ะ พูดเอง เตรียมเนือ้ หาสวนใหญเอง และสอง...คือคําลงทาย ทีท่ า นขอใหนกั เรียนนายรอยตอบแทนพระมหา กรุณาธิคณ ุ ของทูลกระหมอม อาจารย...สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ” “ นักเรียนนายรอยจปร.ตองกลาหาญทั้งกาย และใจ กลาจะเผชิญ กลายอมรับความจริง และไมหวั่นกลัว ในสิ่งที่จะทําความดี ตั้งแตเรามีทูลกระหมอมอาจารยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ไดมาดูแลพวกเรา ทํา ใหพวกเราไดรับความรู ไดใกลชิดเบื้องพระยุคลบาท ไดรับการยกยองจากสังคม เปนเรื่องที่ไมเคย ปรากฏมากอนวา เจานายอยางสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯจะมีพระเมตตาตอโรงเรียนนายรอยจปร. ของเรา สิ่งนี้เปนสิ่งที่ยิ่งใหญที่พวกเราจะจดจําไมลืม และจะตองตอบแทนบุญคุณ” แหลงขาวรายเดิมใหขอมูลวา แทที่จริงแลวมีการขยับเคลื่อนไหวของนายทหารที่ไมเห็นดวยกับรัฐบาลมา กอนแลว ทั้งในทางเปด และในทางปด ลาสุดก็กรณีพล.ท.สพรั่ง กัลยาณมิตร แมทัพกองทัพภาคที่ 3 ที่สงหนวยประชาสัมพันธออกชี้แจงกับประชาชน ไมใหรวมเคลื่อนไหวตามคํายุ ยงชักชวนของฝายใดฝายหนึ่งในชวงที่มีการระดมมวลชนในตางจังหวัดในหลายรูป แบบจาก ฝายรัฐบาล ตามมาดวยคําขานรับคํากลาวของพล.อ.เปรม ติณสูลานนท และประกาศชัดเจนใน 2 ประเด็น ประเด็นหนึ่ง คือการ ประกาศวาตนและนายทหารในกองทัพภาคที่ 3 เปนนายทหารของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไมใชทหารของนักการเมือง และ อีกประเด็นหนึ่งที่สําคัญยิ่ง คือการประกาศวาระบอบการปกครองปจจุบันเปน “ประชาธิปไตยหลอก ๆ” หรือการเคลื่อนไหว ในทางลับของนายทหารชั้นผูใหญคนอื่น ๆ ที่ใกลชิดพล.อ.เปรม ติณสูลานนท ที่มีมาตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2549 และเกือบจะ “ดีเดย” ประกาศสนับสนุนแนวทาง “นายกรัฐมนตรีคนกลาง” ในวันที่ 27 เมษายน แตตองลมเลิกเพราะมีกระแสพระราชดํารัส วันที่ 25 เมษายน ใหศาลเปนผูแกปญหา แตเมื่อฝายรัฐบาลยังไมมีทาทียอมรับการทํางานของศาล แลวยังเกิมเกริมเปดยุทธการ ชนฟาทั้งระยะที่ 1 และระยะที่ 2 ที่มีลักษณะจาบจวงและกดดันพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่สุดแลว “ไคลแม็กซ” ของ เหตุการณที่เปนตัวสงสัญญาณการเคลื่อนไหวเปดเผยของทหารก็คือคําบรรยาย ของพล.อ.เปรม ติณสูลานนทนั่นเอง เมื่อยอนมามองที่พล.อ. สนธิ บุญยรัตกลิน ผบ.ทบ. กอนหนานี้เขามักจะระมัดระวังการแสดงออกตอสาธารณะ คําสัมภาษณทุก ครั้งจะไมพูดใหเขาใจผิดและระวังที่ใหถูกตีความวายืนอยู ขางใด และในบางครั้งจะกลาวในเชิงตําหนิหรือปรามการเคลื่อนไหว ของกลุมพันธมิตร ประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และนายสนธิ ลิ้มทองกุล แตลาสุดเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคมอันเปนวันมีคําสั่ง แตงตั้งโยกยายนายทหารระดับผูบังคับกองพัน ผบ.ทบ.ที่มีรากฐานมาจากหนวยรบพิเศษเชนเดียวกับพล.อ.วิมล วงศวานิช และ พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท ก็แสดงตนชัดเจนเชนกันวาเห็นดวยกับการเคลื่อนไหวของ พล.ท.สพรั่ง กัลยาณมิตร มท.ภ.3

“นีค่ อื การสลายขัว้ พลัง ขนาดทีต่ ดั ปกตัดหางทักษิณเลย นับจากนีถ้ า บอกวาทักษิณยังมีบารมี ในกองทัพ หรือจะใชทหารใหออกมาค้าํ อํานาจ ใหเลิกพูดไดเลย เพราะงานนี้ เปนการลางอํานาจ

หนา 4 จาก 6

ของทักษิณ และวางตัวคนทีว่ างใจไดเขาไปกุมกําลังแทน แตกต็ อ งชมพล.อ.สนธิ เพราะใช วิธกี ารละมุนละมอม นอง ๆ ที่ถกู ยายออก ก็ใหไปกินยศพันเอก ก็คอื ไดเลือ่ นขึน้ เปนพันเองคน ่ นทีเ่ ขาใจกันไดระหวางพี่ ๆ นอง ๆ” แรกของรุน แตไมไดคม ุ กําลังเหมือนเดิม ก็เปนขอแลกเปลีย

ประวัติศาสตรของวงการทหารไมวายุคไหน หากเกิดรัฐประหาร หนวยกําลังหลักที่จะเอามาใชคือหนวยทหารในกทม. ซึ่งมีหนวย หลัก ๆ ในระดับกองพล 3 หนวย ปรากฏวากองพลหลักทั้งสามที่เปนหัวใจของการคุมเมืองหลวงในยุคนี้ อยูภายใตการบังคับ บัญชาของตท. 10 ทั้งหมด ไดแก กองพลที่ 1 รักษาพระองค (พล.1 รอ.) พล.ต.พฤณฑ สุวรรณทัต (ตท.10) เปนผูบัญชาการ กองพลทหารมาที่ 2 รักษาพระองค (พล.ม. 2 รอ.) พล.ต.ศานิต พรหมาศ (ตท.10) เปน ผบ.พล.ม. 2 รอ. กองพลทหารปนใหญตอสูอากาศยาน (พล.ปตอ.) พล.ต.เรืองศักดิ์ ทองดี (ตท.10) เปน ผบ.พล.ปตอ. ทั้ง 3 กองพลที่ตท.10 คุมกําลังอยูนี้ มีหนวยกองพันที่ตั้งในเขตกทม.รวม 15 กองพัน โดยแบงเปน พล.1 รอ. จํานวน 6 กองพัน (กรมทหารราบที่ 1 และกรมทหารราบที่ 11 แหงละ 3 กองพัน) พล.ม. 2 รอ. จํานวน 3 กองพัน และพล.ปตอ.อีก 6 กองพัน และหากจําแนกหนวยกําลังหลักในการทํารัฐประหารแตละครั้ง หนวยที่ขาดไมไดก็คือ ร.1 พัน 1 และ ม.พัน 4 กลาวคือตองอาศัย ทหารราบและทหารมาที่คุมกองกําลังรถถังทั้ง 2 หนวยนี้เปนหัวใจของปฏิบตั ิการ และการยายฟาผาครั้งนี้ กองพันที่เปนหัวใจรัฐประหารทั้ง 2 หนวยก็เปนหนึ่งใน 129 รายชื่อ พ.ท.โฆษิต ชินวลัญช ผบ.ม.พัน.4 รอ. (ตท. 23) ลูกเขยของ พล.ต.ศานิต พรหมาศ (ตท. 10) ผบ.พล.ม. 2 รอ. เปน เสธ.จทบ. สระบุรี ไดติดยศพันเอกแตหลุดจากวงโคจรคุมกําลัง พ.ท.เวชศักดิ์ ขันธอุบล ผบ.ร. 1 พัน. 1 รอ. (ตท. 25) เปนติดยศพันเอกที่ตําแหนง หน.ฝายขาว มทบ. 13 (ลพบุรี) หนวยนี้ถือวา เปนกองพันหมายเลข 1 ของเหลาทหารราบ จึงปรากฏวาผูที่ถูกสงมาแทนจะตองเปนคนที่ไววางใจจริง ๆ นั่นคือ พ.ท.ปริญญ รื่น ภาควุฒิ (ตท. 30) ทส.แมทัพภาคที่ 1 พล.ท.อนุพงษ เผาจินดา ซึ่งแมจะเปนตท.10 แตก็ถูกเพื่อนรวมรุนตั้งขอหาวาแยกตัวเองไม เอาเพื่อนไมเขารวม ปฏิบัติการสนับสนุนบัลลังกอํานาจของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในการพูดคุยแทบทุกครั้งที่พล.ปตอ. แมทัพ ภาคที่ 1 คนนี้ไมเคยไปรวม เลยถูกแซววาไมใชตท. 10 หรอก แตเปนตท. 10/1 ตางหาก และเมื่อสองกลองลึกลงไป จะพบวาผูบังคับการกองพันในบังคับบัญชาของพล.ต. พฤณฑ สุวรรณทัต ถูกยายสลับในรอบนี้ถึง 4 กองพันจากที่มีอยู 6 กองพัน

หนา 5 จาก 6

“งานนี้พล.อ.สนธิฯไฟเขียว ปลอยใหเปนเรื่องของพล.อ.วิชิต ยาทิพย รองผบ.ทบ. กับพล.ท.อนุพงษ เผาจินดา มท.ภ.1 พิจารณา จัดการตามระบบ ซึ่งในบรรดาทหารดวยกันเขารูวา ใครเปนใคร ใครที่ยังมีอาการขัดขืน และใครที่ไมมีปญหา” อันที่จริง ผูบังคับกองพัน (ผบ.พัน) ทั้ง 15 หนวยในกทม. ลวนแลวแตเปนรุนพี่รุนรองไลรุนกันมา ในรุน ของ ตท. 24 - 27 จึงมี การจัดประชุมพบปะสังสรรคแกลมหารือกันเปนประจํา โดยเฉพาะในชวงที่มีขาวการประทวงของพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตย นั่นเพราะวาอํานาจทางการทหารในทางปฏิบัติที่แทจริงอยูที่ ผบ.พัน ไมใชนายพลที่บัญชาการกองพล “คําสัง่ ใหเอารถถังออกนัน้ อยูท ผี่ บ.พัน ทหารจะไมเชือ่ นายพลทีส่ งั่ มาหรอก หากผบ.พันไมเลนดวย” แหลงขาวกลาว แรงสะเทือนจากจากโยกยายครั้งนี้มีผลชัดเจนทําใหอํานาจของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรที่แฝงอยูในกองทัพบก สูญสลายลงไปโดย สิ้นเชิง แมวาจะยังมีเพื่อนรวมรุนตท.10 อยูในตําแหนงคุมกําลังระดับกองพลอยูจํานวนหนึ่งก็ตาม แตเมื่อลงลึกไปถึงตัวบุคคล ในตท.10 แลว จะพบวาผูที่ยืนยันเปนฝายเดียวกับรักษาการนายกรัฐมนตรีชนิด “พรอมเปน พรอมตาย” อยางชัดเจนแทบไม เหลือแลว พล.ท.อนุพงษ เผาจินดา มทภ. 1 แมจะเปนตท.10 แตก็แสดงตนชัดเจนมาตั้งแตตนวาไมของเกี่ยวกับอํานาจการเมืองของพ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ถึงขนาดที่เพื่อนรวมรุนแสดงความไมพอใจ จัดใหเปนตท. 10/1 การโยกยายครั้งนี้ก็ชัดเจนแลววาเขาเลือกวิถี ชีวิตอยางไร

หนา 6 จาก 6

Related Documents

Army Before Coup
November 2019 9
Amp Coup
May 2020 5
Before
May 2020 29
Coup D'etat Bonaparte
August 2019 14
The Honduras Coup
May 2020 6
Op To Coup
May 2020 9