111111

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 111111 as PDF for free.

More details

  • Words: 1,676
  • Pages: 19
มาดูกันว่าหลอดไส้กับหลอดประหยัดไฟ คุ้มค่าต่างกันขนาดไหน โดยเฉพาะกับส่วนกลาง เช่นทางเดิน ที่ต้องเปิดทั้งวัน สมมติฐานเป็นดังนี้ 1. หลอดไส้ปัจจุบัน กินไฟ 60 วัตต์ อายุการใช้งาน 1,000 ชั่วโมง ราคาหลอดละ 20 บาท 2. หลอดประหยัดไฟ กินไฟ 11 วัตต์ อายุการใช้งาน 10,000 ชั่วโมง ราคาหลอดละ 120 บาท 3. เดือนนึง เปิดตลอด 24 ชั่วโมง คิดเป็น 24*30 = 720 ชั่วโมง 4. ค่าไฟหน่วยละ 3 บาทถ้วน ค่าใช้จ่ายของหลอดไส้ 1. ค่าหลอด เดือนละ 720/1000*20 = 14.4 บาท 2. ค่าไฟ เดือนละ 60/1000*720*3 = 129.6 บาท รวม 144 บาท ต่อเดือน ต่อหลอด

ค่าใช้จ่ายของหลอดประหยัดไฟ 1. ค่าหลอด เดือนละ 720/10000*120 = 8.64 บาท 2. ค่าไฟ เดือนละ 11/1000*720*3 = 23.76 บาท รวม 32.4 บาท ต่อเดือน ต่อหลอด

จะเห็นได้วา่ ค่าใช้จ่ายต่างกันถึง 111.6 บาท ต่อเดือน ต่อหลอด เลยทีเดียว อันนี้ยังไม่รวมค่าเหนื่อยที่ต้องเปลี่ยนหลอดไส้เกือบทุก เดือนนะครับ (มินา่ หลอดตามทางเดินมันชอบเสีย) ตึกนึงมีหลายหลอด คิดเป็นค่าใช้จ่ายส่วนกลางมหาศาลทีเดียวนะเนี่ย ทีแรกก็ คาดไม่ถึงเหมือนกัน 23 วิธีประหยัดนำำำมัน 1. ตรวจตาลมยางเป็นประจำา ยางที่อ่อนเกินจะทำาให้สิ้นเปลืองนำ้ามันมากกว่ายางที่มีปริมาณลมยางตามที่มาตรฐานกำาหนด 2. สับเปลี่ยนยาง ตรวจตั้งศูนย์ล้อตามกำาหนด จะช่วยประหยัดนำ้ามันเพิ่มขึ้นอีกมาก 3. ดับเครื่องยนต์ทุกครั้งเมื่อต้องจอดรถนานๆ 4. ออกรถแบบไม่กระชาก เพราะการกระชาก 10 ครั้ง สูญเสียนำ้ามันไปเปล่าๆ ถึง 100 ซีซี 5. ไม่เร่งเครื่องยนต์ตอนเกียร์วา่ ง ทำา 10 ครั้ง เสียนำ้ามันถึง 50 ซีซี 6. ตรวจตั้งเครื่องยนต์ตามกำาหนด เช่น ทำาความสะอาดระบบไฟจุดระเบิด เปลี่ยนหัวคอนเดนเซอร์ ตั้งไฟแก่อ่อนให้พอดี จะช่วย ประหยัดนำ้ามันได้ถึง 10% 7. หากออกรถและขับช้าๆ เครื่องยนต์จะอุ่นเอง ไม่ต้องเปลืองนำ้ามันไปกับการอุ่นเครื่อง

8. ไม่บรรทุกนำ้าหนักเกินพิกัด เพราะเครื่องยนต์ทำางานหนักตามพิกัดที่เพิ่มขึ้น 9. Car pool ไปไหมมาไหนที่หมายเดียวกัน ควรใช้รถคันเดียวกัน 10. เดินทางเท่าที่จำาเป็นจริงๆ เพื่อประหยัดนำ้ามัน 11. ไปซื้อของหรือธุระใกล้บ้าน เดินหรือใช้จักรยานเพื่อสุขภาพ 12. ก่อนนัดใคร โทรนัดให้เรียบร้อย จะได้ไม่เสียเวลาไปเสียเที่ยว 13. สอบถามและศึกษาเส้นทางให้แน่ชัด จะได้ไม่หลง ไม่เสียเวลา ไม่เปลืองนำ้ามันในการวนหา 14. โทรศัพท์ โทรสาร ไปรษณีย์ อินเตอร์เนต หรือบริการส่งเอกสาร แทนการเดินทางด้วยตนเอง 15. หมั่นศึกษาเส้นทางลัด ช่วยให้ไม่ต้องเดินทางยาวนานและลดปัญหาจราจร 16. ควรขับรถด้วยความเร็วคงที่ 17. ไม่ควรขับรถลากเกียร์ เพราะจะทำาให้เครื่องยนต์หมุนรอบสูงกินนำ้ามันมาก เครื่องยนต์ร้อนจัดสึกหรอง่าย 18. ไม่ติดตั้งอุปกรณ์ที่จะทำาให้เครื่องยนต์ทำางานหนักขึ้น เช่น การทำาให้เกิดการต้านลมขณะวิ่ง หรือทำาให้เครื่องยนต์ไม่สามารถ ถ่ายเทความร้อนได้ดี 19. ไม่ควรใช้นำ้ามันเบนซินที่ออกเทนสูงเกินความจำาเป็น เพราะสิ้นเปลืองพลังงานโดยเปล่าประโยชน์ 20. หมั่นเปลี่ยนนำ้ามันเครื่อง ไส้กรองนำ้ามันเครื่อง ไส้กรองอากาศตามระยะเวลาที่เหมาะสม 21. เลือกเติมนำ้ามันให้ถูกชนิด ถูกประเภท 22. เปิดกระจกรับอากาศยามเช้าแทนเปิดแอร์บ้างก็ดี 23. งดเร่งเครื่องปรับอากาศในรถถ้าไม่จำาเป็น เพราะสิ้นเปลืองพลังงาน * * นอกจำกจะประหยัดนำำำมันแล้ว ยังช่วยให้รถของเรำอยู่ในสภำพที่ดีอีกด้วยนะคะ ** หลักในกำรเลือกซืำอเครื่องใช้ไฟฟ้ำ

การประหยัดไฟฟ้าต้องเริ่มจากการพิจารณาเลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างมีหลักเกณฑ์ซึ่งข้อแนะนำาต่อไปนี้จะเป็นเครื่องชวน ประเมิน คุณค่าของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ซื้อ ก่อนตัดสินใจควรพิจารณาดั้งนี้ 1. ควรทราบว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดนั้น กินไฟมากน้อยเพียงใด 2. มีความเหมาะสมในการใช้งานหรือไม่ 3. สะดวกในการใช้สอย คงทน ปลอดภัยหรือไม่ 4. ภาระการติดตั้ง และค่าบำารุงรักษา 5. พิจารณาคุณภาพ ค่าใช้จ่าย อายุการใช้งาน มาประเมินออกเป็นตัวเงินด้วย

ไฟฟ้ำแสงสว่ำง ข้อแนะนำำในกำรใช้งำน 1. ใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์แทนหลอดไส้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “ หลอดนีออน ” เป็นลักษณะหลอด

ยาวมีขนาด 18 วัตต์ และ 36 วัตต์ หลอดชนิดนี้จะให้แสงมากกว่าหลอดไส้ประมาณ 4-5 เ ท่า ถ้าใช้ไฟขนาดเท่ากันอายุ การใช้งานของหลอดฟลูออเรสเซนต์จะนานกว่าหลอดไส้ประมาณ 7 เท่า 2. หลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดพิเศษ (หลอดซุปเปอร์) เป็นหลอดที่กินไฟเท่ากับหลอดผอมแต่ให้กำาลังไฟและแสงสว่างมากกว่าหลอดทั่วๆไป เช่น หลอดผอมธรรมดาขนาด 36 วัตต์ จะให้ความสว่างประมาณ 2,500 ลูเมน ( Im ) แต่หลอดซุปเปอร์ให้ความสว่างถึง 3,000 ลูเมน( Im ) ซึ่งจะทำาให้ลดจำานวนหลอดไฟที่ใช้ลดลงได้ 3. หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ (หลอดตะเกียบ) หมายถึง หลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาดเล็กที่ได้มีการพัฒนาเพื่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน โดยใช้แทนหลอดไส้ได้ มีอายุการใช้งานแทนหลอดไส้ 8-10 เท่า และใช้ไฟฟ้าน้อยกว่าหลอดไส้ โดยจะประหยัดไฟได้ 75-80 % (เนื่องจากอายุ ของหลอดขึ้นอยู่กับสภาพการติดตั้ง เช่น การระบายความร้อนและแรงดันไฟฟ้าด้วย) ปัจจุบันมี 2 ประเภท คือ 3.1 หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายในที่เรียกว่าหลอดประหยัดไฟ เป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ที่ย่อขนาดลง มีบัลลาสต์และสตาร์ทเตอร์ รวมอยู่ภายในหลอด สามารถนำาไปใช้แทนหลอดไส้ชนิดหลอดเกลียวได้ทันที โดยไม่ต้องเพิ่มอุปกรณ์ใดๆ มีอยู่หลายขนาดคือ 9W, 11W, 13W, 15W, 18W, 20W ตัวอย่างเปรียบเทียบหลอดไส้กับ หลอดธรรมดา เป็นดังนี้

หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายใน

3.2 หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายนอก หลักการใช้งานเดียวกับหลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายในแต่หลอดคอมแพคบัลลาสต์ ภายนอกสามารถเปลี่ยน หลอดได้ง่ายเมื่อชำารุด ตัวหลอดมีลักษณะโค้งงอเป็นรูปตัวยู ( U ) ภายในขั้วของหลอดจะมีสตาร์ทเตอร์ภายใน และมีบัลลาสต์อยู่ ภายนอกมีหลายขนาดคือ

หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายนอก ข้อควรปฏิบัติ เพื่อประหยัดไฟฟ้าและแสงสว่าง มีดั้งนี้ 1. ปิดสวิตช์ไฟ เมื่อไม่ใช้งาน 2. ในบริเวณที่ไม่จำาเป็นต้องใช้แสงสวางมากนัก เช่น เฉลียง ทางเดินห้องนำ้า ควรใช้หลอดที่มีวัตต์ตำ่า โดยอาจใช้หลอด

3. 4. 5. 6. 7.

คอมแพคบัลลาสต์ภายใน เนื่องจากมีประสิทธิภาพการให้แสง ลูเมน/วัตต์ ( Im/W ) ดีกว่าหลอดไส้และดีกว่าหลอด ฟลูออเรสเซนต์ขนาดไม่เกิน 18 วัตต์ด้วยสำาหรับบริเวณที่ต้องการแสงปกตินั้น หลอดผอมขนาด 36 W จะมีประสิทธิภาพการให้แสง (ลูเมนต์/วัตต์) สูงกว่าหลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายในทั่วๆไปไม่ตำ่ากว่า 10 % และยิ่งจะมี ประสิทธิภาพการให้แสงมากขึ้นถ้าหลอดผอมชนิดซุปเปอร์และใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟร่วมด้วย ดังนั้นจำานวนหลอดไฟที่ ใช้และการกินไฟของหลอดผอมก็จะน้อยกว่าหลอดประหยัดไฟ หมั่นทำาความสะอาด ขั้วหลอด และตัวหลอดไฟ รวมทั้งโคมไฟและโป๊ะไฟต่างๆ ผนังห้องหรือเฟอร์นิเจอร์อย่าใช้สีคลำ้าๆทึบๆเพราะสีพวกนี้จะดูดแสงทำาให้ห้องดูมืดกว่าห้องที่ทาสีอ่อนๆ เช่น สีขาวหรือสีนวล เลือกใช้โคมไฟฟ้าประสิทธิภาพสูง ซึ่งมีแผ่นสะท้อนแสงทำาด้วยอะลูมิเนียมเคลือบด้วยโลหะเงิน จะสามารถลดหลอดไฟลงได้ โดยแสงสว่างยังคงเท่าเดิม เลือกใช้ไฟตั้งโต๊ะ ในบริเวณที่ต้องการแสงสว่างเฉพาะแห่ง เช่น อ่านหนังสือ ให้ใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟฟ้าควบคู่กับหลอดฟลูออเรสเซนต์โดยบัลลาสต์ประหยัดไฟมีอยู่ 2 แบบ คือ 7.1 แบบแกนเหล็กประหยัดไฟฟ้า (LOW-LOSS MAGNETIC BALLAST) 7.2 แบบอิเล็คทรอนิกส์ (ELECTRONIC BALLAST)

คำาแนะนำาด้านความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าและแสงสว่าง 1. เมื่อจะเปลี่ยนหลอดควรดับหรือปลดวงจรไฟฟ้าแสงสว่างนั้น 2. ถ้าหลอดฟลูออเรสเซนต์ไม่ปล่อยให้ไฟกระพริบอยู่เสมอหรือหัวหลอดแดงโดยไม่สว่างเพราะอาจเกิดอัคคีภัยได้ 3. ขั้วหลอดต้องแน่นและไม่มีรอยไหม้ที่พลาสติกขาหลอด 4. ไม่นำาวัสดุที่ติดไฟง่ายเช่น ผ้า กระดาษปิดคลุมหลอดไฟฟ้า

5. ถ้าหลอดขาดหรือชำารุดบ่อยให้ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้าว่าสูงผิดปกติหรือไม่ถ้าพบผิดปกติให้รีบแจ้งการไฟฟ้าทันที 6. ถ้าโคมไฟเป็นโลหะและอยู่ในระยะที่จับต้องได้ควรติดตั้งสายดินด้วย มิฉะนั้นจะต้องเป็นประเภทฉนวน 2 ชั้น 7. หลอดไฟฟ้าที่ขาดแล้วควรใส่ไว้ตามเดิมจนกว่าจะเปลี่ยนหลอดใหม่ 8. หลอดไฟขนาดเล็กที่ให้แสงสว่างตามทางเดินตลอดคืน ซึ่งใช้เสียบกับเต้ารับนั้นอาจมีปัญหาเสียบไม่แน่น

จนเกิดความร้อนและไฟไหม้ได้ นอกจากนี้วัสดุที่ใช้มักมีคุณภาพตำ่า ไม่ทนทานต่อความร้อน จึงไม่แนะนำาให้ใช้หรือเสีย บ ทิ้งไว้โดยไม่มผี ู้คนดูแลยู่ใกล้ๆ โทรทัศน์ ประเภทของเครื่องรับโทรทัศน์สีซึ่งมี 2 ชนิด คือ ชนิดที่มีรีโหมดคอนโทรลและชนิดที่ไม่มีรีโมทคอนโทรล และโทรทัศน์สีที่มี รีโมทคอนโทรลจะกินไฟมากกว่าโทรทัศน์สีที่ไม่มีรีโมทคอนโทรล ที่มีขนาดเดียวกัน เพราะมีวงจรเพิ่มเติม และกินไฟตลอดเวลาถึง แม้จะไม่ใช้เครื่องรีโมทคอนโทรลก็ตาม โทรทัศน์ขนาดใหญ่ก็จะกินไฟมากกว่าขนาดเล็ก วิธีใช้เครื่องใช้โทรทัศน์ให้ประหยัดพลังงาน คือ 1. ควรเลือกดูรายการเดียวกัน 2. ปิดเมื่อไม่มีคนดู 3. อย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้เมื่อไม่ได้ใช้งานนอกจากจะกิน

ไฟแล้ว โทรทัศน์จะชำารุดได้ง่าย 4. ถ้าผู้ใช้นอนหลับหน้าโทรทัศน์บ่อยๆ

คำาแนะนำาความปลอดภัยในการใช้โทรทัศน์ 1. ควรติดตั้งเสาอากาศให้มั่นคงแข็งแรงแล้วยึดลวดไม่ตำ่ากว่า 3 จุด เพื่อป้องกันไม่ให้เสาล้ม ไม่ควรติดตั้งเสาอากาศ

2. 3. 4. 5. 6.

ทีวีให้สูงเกินเกินความจำาเป็น เพื่อหลีกเลียงฟ้าผ่าลงบนเสา นอกจากนี้ควรให้หา่ งจากแนวสายไฟฟ้าแรงสูง เพื่อป้องกันไม่ให้เสาล้มพาดสายแรงสูง และเกิดอันตราย อย่าเปิดเครื่องรับโทรทัศน์ในขณะที่ตัวเปียกชื้นและไม่ควรจับเสาอากาศโทรทัศน์ด้วย ให้ปิดโทรทัศน์ ถอดปลั๊กไฟและขัว้ เสาอากาศออกในขณะที่มีฝนฟ้าคะนองเพื่อป้องกันโทรทัศน์ชำารุด อย่าดูโทรทัศน์ใกล้เกินไปจะทำาให้สายตาเสีย หรือได้รับรังสีหรือคลื่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้ามากเกินไป วางโทรทัศน์ในที่ๆมีอากาศถ่ายทได้สะดวก อย่าถอดซ่อมด้วยตนเองเนื่องจากภายในมีระบบไฟฟ้าแรงสูงอยู่ด้วย

ตู้เย็น การเลือกซื้อตู้เย็น นอกจากจะคำานึงถึงเรื่องราคาแล้ว ควรพิจารณาถึงลักษณะและระบบของตู้เย็น เพื่อประหยัดพลังงานดังต่อไปนี้ คือ

1. ควรเลือกซื้อตู้เย็นที่มฉี ลากประหยัดไฟ โดยสติกเกอร์ติดอยู่ที่ตู้เย็น ซึ่งสำานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

2. 3. 4. 5. 6.

(สมอ.) เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองคุณภาพโดยกำาหนดตัวเลขดังต่อไปนี้ เลข 5 ดีมาก หมายถึง ประสิทธิภาพสูงสุด เลข 4 ดี หมายถึง ประสิทธิภาพสูง เลข 3 ปานกลาง หมายถึง ประสิทธิภาพปานกลาง เลข 2 พอใช้ หมายถึง ประสิทธิภาพพอใช้ เลข 1 ตำ่า หมายถึง ประสิทธิภาพตำ่า ควรพิจารณาขนาดให้เหมาะสมกับขนาดของครอบครัวขนาด 2.5 ลูกบาศก์ฟุต (คิว) สำาหรับสมาชิก 2 คนแรกของครอบครัวเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 1 ลูกบาศก์ฟุตต่อ 1 คน ควรเลือกตู้เย็นที่มีฉนวนกันความร้อนหนา และเป็นชนิดโฟมอัด เพื่อไม่ให้มีการสูญเสียความเย็นมาก ตู้เย็น 2 ประตู กินไฟมากกว่าตู้เย็นประตูเดียวที่มีขนาดความจุเท่ากัน เนื่องจากใช้ท่อนำ้ายาที่เย็นยาวกว่า แต่ตู้เย็น 2 ประตูจะมีการสูญเสียความเย็นน้อยกว่า ตู้เย็นชนิดที่ไม่มีนำ้าแข็งจับจะกินไฟมากกว่าชนิดที่มีปุ่มกดละลายนำ้าแข็ง ควรเลือกซื้อตู้เย็นที่ใช้กับระบบไฟฟ้า 220-230 โวลต์เท่านั้น ถ้าใช้ชนิด 110-120 โวลต์จะต้องใช้หม้อแปลง ลดแรงดันทำาให้กินไฟมากขึ้น

วิธีใช้ตู้เย็นให้ประหยัดพลังงาน 1. ก่อนใช้ควรศึกษาคู่มือการใช้และปฏิบัติตามคำาแนะนำา 2. ตั้งไว้ในที่เหมาะสม ควรตั้งตู้เย็นให้ห่างจากผนังหนาอย่างน้อย 15 เซนติเมตร 3. อย่าตั้งใกล้แหล่งความร้อน ไม่ควรตั้งอยู่ใกล้เตาไฟ หรือแหล่งความร้อนอื่นและไม่ควรให้โดนแสงแดด 4. ปรับระดับให้เหมาะสม เวลาตั้งตู้เย็นให้ปรับระดับด้านหน้าของตู้เย็นสูงกว่าด้านหลังเล็กน้อย เพื่อเวลาปิดนำ้าหนักของ 5. 6. 7. 8. 9.

ประตูตู้เย็นจะถ่วงให้ประตูปิดเข้าไปเอง หมั่นตรวจสอบยางขอบประตู ไม่ให้มีรอยรั่วหรือเสื่อมสภาพ .อย่าเปิดตู้เย็นบ่อยๆเมื่อเปิดแล้วต้องรีบปิด .ละลายนำ้าแข็งสมำ่าเสมอ เพื่อให้การทำาความเย็นมีประสิทธิภาพสูง ตั้งสวิตช์ควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสมกับชนิดและปริมาณอาหารที่แช่ตู้เย็น ถอดปลั๊ก กรณีไม่อยู่บ้านหลายวันหรือไม่มีอะไรในตู้เย็น

คำาแนะนำาด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับตู้เย็น 1. ควรติดตั้งระบบสายดินกับตู้เย็นผ่านทางเต้าเสียบ-เต้ารับที่มีสายดิน 2. ใช้ไขควงลองไฟตรวจสอบตัวตู้เย็นว่ามีไฟรั่วหรือไม่ ตู้เย็นที่ไม่มีสายดินนั้นกลับขั้วที่ปลั๊กอาจทำาให้มีไฟรั่วน้อยลงได้ 3. ตู้เย็นที่ดีควรจะมีสวิตช์อัตโนมัติปลดออกและสับเองด้วยการหน่วงเวลา เมื่อมีไฟดับ-ตก มิฉะนั้นจะต้อง

ถอดปลั๊กตู้เย็นออกทันทีก่อนที่จะมีไฟเข้ามา และจะเสียบปลั๊กเข้าอีกครั้งเมื่อไฟมาปกติแล้ว 3-5 นาที 4. หลอดไฟในตู้เย็นถ้าขาด ไม่ควรเอาหลอดออกจนกว่าจะเปลี่ยนใหม่ 5. อย่าปล่อยให้พื้นบริเวณตู้เย็นเปียก เพราะอาจเป็นสื่อไฟฟ้าอย่างดี ให้ปูพรมหรือพื้นยางก็ได้ ส่วนบริเวณมือจับก็ควรมีผา้ หรือฉนวนหุ้มด้วย

เครื่องปรับอำกำศ 1. ควรเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศที่มีสลากประหยัดไฟ โดยปกติเป็นสติกเกอร์ติดอยู่กับเครื่องรับอากาศซึ่งสำานักงานมาตร

ฐานผลิตภัณท์อุตสาหกรรม(สมอ. ) เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองคุณภาพ โดยกำาหนดเป็นตัวเลขดังนี้ เลข 5 ดีมาก หมายถึง ประสิทธิภาพสูงสุด เลข 4 ดี หมายถึง ประสิทธิภาพสูง เลข 3 ปานกลาง หมายถึง ประสิทธิภาพ ปานกลาง เลข 2 พอใช้ หมายถึง ประสิทธิภาพพอใช้ เลข 1 ตำ่า หมายถึง ประสิทธิภาพตำ่า

2. ควรเลือกขนาดของเครื่องปรับอากาศให้เหมาะสมกับห้องที่ต้องการติดตั้งโดยที่ความสูงของห้องไม่เกิน 3 เมตร

ควรเลือกขนาดตามตารางต่อไปนี้ พืนำ ที่ห้องตำมควำมสูงไม่เกิน 3 ม. (ตร.ม)

ขนำดของเครื่องปรับอำกำศ (บีทียู/ชั่วโมง)

13-14

7,000-9,000

16-17

9,000-12,000

20

11,000-13,000

23-24

13,000-16,000

30

18,000-20,000

40

24,000

3. ชนิดของเครื่องปรับอากาศที่นิยมใช้ในบ้านที่อยู่อาศัย ในปัจจุบันมีจำาหน่ายในท้องตลาด 3 ชนิด คือ

-ชนิดติดหน้าต่าง จะเหมาะสมกับห้องที่มีลักษณะที่ติดตั้งวงกบหน้าต่าง ติดกระจกช่องแสงติดตาย บานกระทุ้ง บานเกล็ด เป็นต้น มีขนาดตั้งแต่ 9,000-24,000 บีทียู/ชม. -ชนิดแยกส่วนติดฝาผนังหรือแขวน เหมาะสมกับห้องที่มีลักษณะทึบจะติดตั้งได้สวยงาม แต่จะมีราคาแพงกว่า

เมื่อเปรียบเทียบ เครื่องปรับอากาศชนิดต่างๆที่มีขนาดเท่ากัน(บีทียู/ชม.) เครื่องปรับอากาศชนิดนี้ส่วนใหญ่จะมี ประสิทธิภาพสูงกว่า และจะมีสวิตช์ควบคุมอัตโนมัติแบบอิเล็คทรอนิกส์ สำาหรับควบคุมอุณหภูมิความเย็นของห้อง มี ขนาดตั้งแต่ 8,000-24,000 บีทียู/ชม. -เครื่องปรับอากาศชนิดแยกส่วนจะตั้งพื้น จะเหมาะสมกับห้องที่มีลักษณะห้องที่เป็นกระจกทั้งหมด,ผนังทึบ ซึ่งไม่อาจ เจาะช่องเพื่อติดตั้งได้เมื่อเปรียบเทียบเครื่องปรับอากาศชนิดต่างๆที่มีขนาดเท่ากัน เครื่องปรับอากาศชนิดนี้ส่วนใหญ่จะ มีประสิทธิภาพตำ่ากว่า มีขนาดตั้งแต่ 12,000-36,000 บีทีย/ู ชม. วิธีใช้เครื่องปรับอากาศให้ประหยัดพลังงาน 1. ติดตั้งในที่เหมาะสมคือต้องสูงจากพื้นพอสมควรสามารถเปิดปิดปุ่มต่างๆ

ได้สะดวกและเพื่อให้ความเย็นเป่าออกจากเครื่องได้หมุนเวียนภายในห้องอย่างทั่วถึง 2. อย่าให้ความเย็นรั่วไหล ควรจะปิดประตูหรือหน้าต่างห้องให้มิดชิด 3. ปรับปุ่มต่างๆให้เหมาะสมเมื่อเริ่มเปิดเครื่องควรตั้งความเร็วพัดลมไปที่ตำาแหน่งสูงสุดและอุณหภูมิตำ่าสุด เมื่อความเย็นพอเหมาะแล้วให้ตั้งไปที่อุณหภูมิ 26 องศาเซลเซียส 4. หมั่นทำาความสะอาดแผ่นกรองอากาศ อุปกรณ์ในระบบปรับอากาศและตะแกรง รวมทั้งชุดคอนเดนเซอร์ เพื่อให้อากาศ ผ่านเข้าออกได้สะดวกและประหยัดไฟโดยตรง 5. ใช้พัดลมระบายอากาศเท่าที่จำาเป็น 6. ควรปิดเครื่องปรับอากาศเมื่อไม่มีความจำาเป็นต้องใช้ 7. ในฤดูหนาวขณะที่อากาศไม่ร้อนมากเกินไป ไม่ควรเปิดเครื่องปรับอากาศ 8. หมั่นตรวจสอบ ล้าง ทำาความสะอาดตามระยะเวลา ที่ผู้ผลิตกำาหนด 9. หน้าต่างหรือบานกระจกควรจะป้องกันรังสีความร้อนที่เข้ามาดังนี้ -ใช้อุปกรณ์บังแดดภายนอกมิให้กระจกถูกแสงแดด เช่นผ้าใบหรือแผงบังแดดหรือร่มเงาจากต้นไม้ -ใช้กระจกหรือติดฟิล์มรังสีความร้อน -ใช้อุปกรณ์บังแดดภายใน เช่น ผ้าม่าน มู่ลี่ (กระจกด้านทิศใต้ให้ใช้ใบอยู่ในแนวนอน กระจกทิศตะวันออก-ตก ให้ใช้ใบที่อยู่ในแนวดิ่ง 10. ผนังหรือเพดานโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านที่มีแสงแดดส่องจะเก็บความร้อนไว้มาก ทำาให้มีการสูญเสีย มากจึงต้องมีการป้องกันดังนี้ -บุด้วยฉนวนกันความร้อนแผ่นฟิล์มอลูมิเนียมสะท้อนรังสีความร้อน -ทำาที่บังแดด/หลังคา/ปลูกต้นไม้ด้านนอก 11. พยายามอย่าใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อนในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ ไฟส่องสว่างก็เป็นตัวให้ความร้อน จึงควรปิดไฟเมื่อมีความจำาเป็น 12. ชุดคอนเดนเซอร์ที่ใช้ระบายความร้อนสู่ภายนอก -ควรถูกแสงแดดให้น้อยที่สุด -ขจัดสิ่งกีดขวางทางลมให้ระบายอากาศได้สะดวก -อย่าติดตั้งให้ปะทะกับลมธรรมชาติโดยตรง คำาแนะนำาด้านความปลอดภัยของเครื่องปรับอากาศ

1. ควรต่อระบบสายดินกับเครื่องปรับอากาศและทดสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟ 2. เครื่องตัดไฟรั่วขนาดไม่เกิน 30 mA. หากป้องกันวงจรของเครื่องปรับอากาศด้วย อาจมีปัญหาเครื่องตัดไฟรั่วทำางานบ่อย

ขึ้นควรหลีกเลี่ยงโดยการแยกวงจรออกและใช้ขนาด 100 mA ป้องกันอีกชั้นหนึ่ง 3. ติดตั้งเบรกเกอร์หรือสวิตช์อัตโนมัติและควบคุมวงจรโดยเฉพาะ 4. กรณีมีไฟตกหรือไฟดับ ถ้าไม่มีสวิชต์ปลดสับเองโดยอัตโนมัติต้องรีบปิดเครื่องทันทีก่อนที่จะมีไฟมา และควรรอระยะเวลาประมาณ 3-5 นาที ก่อนจะสับสวิตช์เข้าใหม่ 5. หมั่นตรวจสอบขัว้ และการเข้าสายของจุดต่อต่างๆอยู่เสมอ พัดลม วิธีใช้พัดลมเพื่อประหยัดพลังงาน 1. ควรใช้พัดลมตั้งพื้นหรือตั้งโต๊ะแทนพัดลมติดเพดาน

2. 3. 4. 5.

เพราะจะกินไฟ น้อยกว่าพัดลมติดเพดานประมาณครึ่ง หนึ่ง อย่าเปิดพัดลมทิ้งไว้เมื่อไม่มีคนอยู่ .เมื่อเลิกใช้ควรปิดพัดลมและถอดปลั๊กออก ปรับระดับความเร็วลมพอสมควร เลือกขนาดให้เหมาะสมกับการใช้งาน

6. ควรเปิดหน้าต่างใช้ลมธรรมชาติแทนถ้าทำาได้

เตำรีดไฟฟ้ำ วิธีใช้เตารีดไฟฟ้าให้ประหยัดพลังงาน 1. ควรรีดผ้าคราวละมากๆติดต่อกันจนเสร็จและควรเริ่มรีดผ้าบางๆก่อนในขณะที่เตารีดยังไม่ร้อนและก่อน

รีดเสร็จประมาณ 2-3 นาที ให้ถอดปลั๊กออก 2. เมื่อไม่ได้ใช้งานควรถอดปลั๊กออกและก่อนจะเก็บควรทิ้งเตารีดให้เย็นก่อน คำาแนะนำาด้านความปลอดภัยของเตารีด 1. ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตารีดสัมผัสสายไฟฟ้า 2. สายปลั๊กของเตารีด-เปลือกสาย(ฉนวน) ต้องไม่เสื่อมสภาพหรือฉีกขาด 3. ต้องคอยหมั่นตรวจสอบฉนวนยางที่หุ้มสายเข้าเตารีด หากพบว่าเปื่อยหรือฉีกขาดควรเปลี่ยนใหม่โดย ช่างผู้มีความรู้

เพราะหากไม่รีบเปลี่ยนสายไฟบริเวณนั้น อาจชำารุดและถูกไฟดูดได้ 4. ขณะใช้งาน เมื่อหยุดรีดต้องวางบนวัสดุที่ไม่ติดไฟง่าย 5. เตารีดที่ใช้ควรมีสายดินและต่อลงดินผ่านทางเต้าเสียบ-เต้ารับที่มีสายดินด้วยและหมั่นตรวจสอบ ไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟเสมอ

เครื่องซักผ้ำ วิธีใช้เครื่องซักผ้าให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1. เลือกขนาดให้เหมาะสมกับงานที่ใช้ 2. ซักผ้าตามพิกัดของเครื่องอย่าใส่ผ้าอัดแน่นเกินกำาลังของ

เครื่อง 3. การซักผ้าทีละ 2-3 ชิ้นไม่เป็นการประหยัดและควรใช้นำ้าร้อน ซักผ้าเมื่อจำาเป็นเท่านั้น 4. ซักผ้าแล้ว ไม่จำาเป็นต้องใช้เครื่องอบผ้าแห้งด้วยไฟฟ้า ควรใช้ วิธีการผึ่งลมหรือผึ่งแดด 5. ต้องต่อสายดินและหมั่นตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟอยู่

เสมอ หม้อต้มนำำำร้อน (กำต้มนำำำ หรือกระติกนำำำร้อน) วิธีใช้หม้อต้มนำ้าร้อนให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1. ควรใส่นำ้าให้พอเหมาะกับความต้องการ 2. ถอดปลั๊กทันทีเมื่อเลิกใช้งาน

-เมื่อนำ้าเดือดจะต้องถอดปลั๊กทันที - อย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้โดยไม่มีคนอยู่ 3. ขณะใช้งานควรวางบนพื้นที่ไม่ติดไฟและไม่ ควรวางไว้ใกล้วัสดุติดไฟ 4. หม้อต้มนำ้าร้อนต้องต่อสายดิน แม้วา่ จะมี ฉนวนหุ้มภายนอกหรือไม่ก็ตาม 5. เนื่องจากจะมีไฟรั่วมากับนำ้าที่เท หรือกดให้

ไหลออกมากับท่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากนำา ภาชนะโลหะรองรับนำ้าอาจถูกไฟดูดได้ ( สามารถทดสอบได้ด้วยไขควงลองไฟ)

หม้อหุงข้ำว วิธีใช้หม้อหุงข้าวให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1. ต้องต่อสายดินกับหม้อหุงข้าวและหมั่นใช้ไขควงลองไฟ

ทดสอบอยู่เสมอ 2. ขั้วต่อสายที่ตัวหม้อหุงข้าวและที่เต้ารับ ต้องเสียบให้แน่น สนิท 3. เมื่อเลิกใช้งานควรถอดปลั๊กออกจากเต้ารับ

เครื่องปิง้ ขนมปัง วิธีใช้เครื่องปิ้งขนมปังให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1. ตั้งระดับความร้อนให้พอดีกับความ 2. 3. 4. 5.

ต้องการ ขั้วต่อสายที่ตัวเครื่องปิ้งขนมปัง และ เต้าเสียบให้แน่นสนิท เมื่อเลิกใช้งานควรถอดปลั๊กออกจาก เต้ารับ ขณะใช้งานควรวางบนพื้นที่ทนไฟ หรือไม่ติดไฟ ติดตั้งสายดินและหมั่นใช้ไขควงลอง ไฟทดสอบไฟรั่วอยู่เสมอ

เครื่องทำำนำำำอุ่นในห้องนำำำ วิธีใช้เครื่องทำานำ้าอุ่นในห้องนำ้าให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย

1. ใช้เสร็จแล้วรีบปิดเครื่อง อย่าเปิดสวิตช์ทิ้งไว้ 2. ไม่ควรปรับปุ่มความร้อนเกินความจำาเป็น 3. สวิตช์และส่วนประกอบอื่นๆต้องเป็นชนิดที่กันนำ้าได้ 4. ต้องติดตั้งระบบสายดินกับเครื่องทำานำ้าอุ่นพร้อมทั้งที่มีเครื่อง

ตัด ไฟรั่วเป็นอุปรณ์เสริม เครื่องดูดฝุ่น วิธีใช้เครื่องดูดฝุ่นให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1. เมื่อใช้แล้วควรเอาฝุ่นผงลงในถุงทิ้งทุกครั้งเพื่อเครื่องจะได้

มีแรงดึงดูดดีและไม่กินไฟ 2. ซื้อเฉพาะประเภทที่มีสายดินพร้อมมากับปลั๊กไฟและติดตั้ง

ระบบสายดินที่เต้ารับด้วย เครื่องปัน่ ผลไม้-เครื่องผสมอำหำร วิธีใช้เครื่องปั่นผลไม้-เครื่องผสมอาหาร ประหยัดพลังงานและปลอดภัย

1. ควรเลือกขนาดให้พอเหมาะและใช้เท่าที่จำาเป็น 2. ไม่ควรใช้ให้เกินกำาลังและไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็น

เวลานาน

เครื่องเป่ำผม วิธีใช้เครื่องเป่าผมให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย

1. ควรเช็ดผมให้เกือบแห้งก่อนที่จะใช้เครื่องเป่าผม 2. ระหว่างเป่าผมควรขยี้และสางผมด้วยให้ใช้ลมร้อนเท่าที่

จำาเป็น

เครื่องสูบนำำำ วิธีใช้เครื่องสูบนำ้าให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1. เครื่องสูบนำ้าชนิดมีถังความดัน( pressure tank ) ควรเลือกซื้อให้มีขนาดใหญ่พอควร 2. บ่อพักควรสร้างไว้ระดับพื้นดินหรือใต้ดิน 3. ใช้สวิตช์อัตโนมัติช่วยการทำางาน 4. ประหยัดการใช้และลดการสูญเปล่าของนำ้า 5. ควรตรวจสอบและบำารุงรักษาอยู่เป็นประจำา

พัดลมดูดอำกำศ วิธีใช้พัดลมดูดอากาศให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1. ควรปิดพัดลมทุกครั้งเมื่อไม่มีคนอยู่หรือเลิกใช้ 2. ควรตั้งความเร็วพัดลมให้พอเหมาะหรือควรเปิดหน้าต่างเพื่อ

ใช้ลมธรรมชาติ ช่วยถ่ายเทอากาศภายในห้อง และหมั่น ทำาความสะอาดใบพัดและตะแกรง เครื่องคอมพิวเตอร์ วิธีใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1. จะต้องไม่เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ทิ้งไว้นานๆเพราะจะทำาให้สิ้นเปลืองไฟฟ้า

2. .ควรปิดจอภาพถ้าไม่ใช้งานเกิน 15 นาที 3. .เลือกใช้จอภาพที่ขนาดไม่ใหญ่เกินไปเพราะจะทำาให้กินไฟฟ้า 4. ควรติดตั้งคอมพิวเตอร์ในที่ระบายความร้อนได้ดี 5. ควรติดตั้งระบบ Screen saver เพื่อรักษาคุณภาพของหน้าจอ และยังช่วยประหยัดพลังงาน

ในกรณีที่ยังไม่ปิดเครื่อง คำาแนะนำาด้านความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ 1. ถอดปลั๊กเมื่อเลิกใช้งาน 2. อย่าเปิดฝาครอบคอมพิวเตอร์ในขณะกำาลังใช้งาน 3. อย่านำาเครื่องดื่มวางไว้บนคอมพิวเตอร์เพราะหากหกใส่เครื่องสามารถทำาให้เครื่องลัดวงจรได้

เป็นคำาถามที่สั้น แต่จะต้องตอบยาว และมีรายละเอียดมากมาย - 1 lx = 1 lm / m2(ตร.ม.) - โดยปรกติแล้วที่ ด้านข้างของกล่องของหลอดไฟ จะมีค่าต่างๆเหล่านี้บอกเอาไว้แล้ว เช่น กี่ ลูเมน/วัตต์(หลอดไส้ ประมาณ 9 ลู เมน/วัตต์) ถ้าเป็นหลอดประหยัดไฟ(หลอดตะเกียบ) ก็จะให้ความสว่างมาก แต่กินไฟน้อย(ประมาณ 55 ลูเมน/วัตต์) - ลูเมนต์/วัตต์ ยิ่งมาก ยิ่งดี ก็คือ ให้ความสว่างมาก ในขณะที่กินไฟ 1 วัตต์ เท่าๆกัน . . ก็คือ ประหยัดไฟ นั่นเอง - จึงตอบไม่ได้ว่าจะต้องใช้หลอดไฟ 50 วัตต์กี่หลอด ทั้งนี้ต้องแล้วแต่ ชนิดของหลอดไฟที่เลือกใช้ด้วย (ไม่น่าจะต้องใช้ถึง 50 วัตต์ ด้วยซำ้าไป) - อีกอย่างหนึ่ง ที่ควรคำานึงถึง ก็คือ สีของแสง ที่หลอดไฟแต่ละชนิดให้ออกมา เช่น . . . 1 ) ถ้าเป็นหลอดใส้ ก็จะให้สีแดงออกมามากหน่อย จึงควรใช้หลอดปรับเทียบแสง หรือหลอดเทียบแสง(จำาไม่ค่อยได้แล้ว) ของฟิล ลิปส์(หลอดสีนำ้าเงิน อมฟ้า) ทีนี้ก็ต้องดูขั้วอีกว่าเป็นขั้วแบบใด เช่น ขั้วแบบ E 27 . . เป็นขั้วเกลียวที่ใช้ในบ้านโดยทั่วไปๆ เป็นต้น 2) ถ้าเป็นหลอด ฟลูออเรสเซนต์ ซึ่งมักเรียกกันว่า หลอดนีออน ที่ใช้กันโดยทั่วๆไป(รวมทั้งหลอดตะเกียบ) ก็จะมีแสงสีแดงออกมา น้อย(DAYLIGHT) แล้วก็ยังมีสีของแสง ให้เลือกอีกหลายสี เช่น COOL DAYLIGHT , WARM WHITE เป็นต้น - อีกอย่างหนึ่ง ที่ควรพิจารณาด้วยก็คือ อายุของหลอดไฟชนิดนั้นๆ ซึ่งจะมีอธิบายไว้ที่ด้านข้างของกล่อง ด้วยแล้ว - อีกอย่างก็คือ ยี่ห้อ ของหลอดไฟ ควรเลือกยี่ห้อที่มีมาตรฐาน หรือชื่อที่คุ้นๆหูเท่านั้น ถ้าเป็นยี่ห้อหรือตราที่ไม่คุ้น เช่น ตราสุนัข วิวาทกัน อายุก็จะสั้น ถึงสั้นมากๆ เลยครับ( เป็นหลอดที่ ไม่ได้มาตรฐาน) •

2 เดือน ผ่านไป

ปริมำณกำรกินไฟ (กำำลังไฟฟ้ำ) ของเครื่องใช้ไฟฟ้ำประเภทต่ำง ๆ เครื่องใช้ไฟฟ้ำ

กำำลังไฟฟ้ำ (วัตต์)

พัดลมตั้งพื้น พัดลมเพดาน โทรทัศน์ขาว-ดำา โทรทัศน์สี เครื่องเล่นวิดีโอ ตู้เย็น 7-10 คิว หม้อหุงข้าว เตาหุงต้มไฟฟ้า หม้อชงกาแฟ เตาไมโครเวฟ เครื่องปิ้งขนมปัง เครื่องทำานำ้าอุ่น/ร้อน เครื่องเป่าผม เตารีดไฟฟ้า เครื่องซักผ้าแบบมีเครื่องอบผ้า เครื่องปรับอากาศ เครื่องดูดฝุ่น มอเตอร์จักรเย็บผ้า

20 - 75 70 - 100 28 - 150 80 - 180 25 - 50 70 - 145 450 - 1,500 200 - 1,500 200 -600 100 - 1,000 800 - 1,000 2,500 - 12,000 400 - 1,000 750 - 2,000 3,000 1,200 - 3,300 750 - 1,200 40 - 90

กำรคิดค่ำกระแสไฟฟ้ำ ตัวอย่ำง การคิดค่าไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัยประเภท 1.2 สมมุติในเดือนมกราคม 2546 ผู้ใช้ไฟฟ้าใช้ ไฟฟ้า 500 หน่วย 1. ค่ำไฟฟ้ำฐำน 1.1 ค่ำพลังงำนไฟฟ้ำ 150 หน่วยแรก 150 x 1.8047 เป็นเงิน 270.705 บาท 250 หน่วยต่อไป 250 x 2.7781 เป็นเงิน 694.525 บาท เกิน 400 หน่วยต่อไป (500 – 400) x 2.9780 เป็นเงิน 297.80 บาท รวมค่าไฟฟ้าฐาน เป็นเงิน 1,303.93 บาท Ft ที่เรียกเก็บเพิ่มจากค่าไฟฟ้าฐานประจำาเดือนมกราคม 2546 = 21.95 สตางค์ต่อหน่วย 2. ค่ำไฟฟ้ำผันแปร = 500 x (21.95/100) เป็นเงิน 109.75 บาท รวมค่าไฟฟ้าฐานและค่าไฟฟ้าผันแปร เป็นเงิน 1,413.68 บาท 3. ภำษีมูลค่ำเพิ่ม ร้อยละ 7 เป็นเงิน 98.95 บาท

รวมค่าไฟฟ้าทั้งสิ้น

เป็นเงิน

1,512.63

บาท

หากจะเปรียบเทียบระหว่างหลอดประหยัดพลังงานและฟลูออเรสเซนต์ ฟลูออเรสเซ้นต์ 40W หลอดตะเกี่ยบจะใช้เพียง 18W ประหยัด 22W ถ้าใช้วันละ 6 ชม. ค่าไฟฟ้าหน่วยละ 6 บาท(สมมติ) ฟลูออเรสเซ้นต์ = 40X6=240/1000=.24 unit/day ค่าไฟฟ้าหน่วยละ 6 บาท(สมมติ) = 6X.24=1.44 บาท/วัน หลอดตะเกี่ยบ=18X6=104/1000X6=.624 บาท/วัน หลอดตะเกียบ ประหยัด .82/วัน=2.46 บาท/เดือน=29.52/ปี เพราะฉะนั้นการใช้ เปรียบเทียบ หลอดตะเกียบประหยัดได้ 29.52/ปี แต่ถ้าคุณติดตั้งใหม่ แล้วทำาเองไม่เป็น เปรียบเทียบดูนะ ค่าขา+หลอด=250 ค่าแรง 100/จุด = 350 บาท ขณะเดียวกันหลอดฟลูออเรสเซ้นต์ติดตั้งอยู่แล้วที่บ้าน คุณต้องใช้เวลา =350/29.52 = 11 ปี 8 เดือน ถึงจะคุ้มค่าเปลี่ยน อายุการใช้งานคงไม่ต้องพูดถึง แต่ตอนนี้จุดคุ้มทุนยาวขนาดนี้ ยังอยากจะเปลี่ยนอยู่อีกไหม อ้อ..อีกอย่าง ความสว่างที่คุยว่าเท่ากัน ลืมได้เลยครับ ขี้โม้ •

3 เดือน ผ่านไป ข้อแนะนำำกำรเลือกซืำอ-ใช้งำน หลอดไฟฟ้ำแสงสว่ำง

1. ใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์แทนหลอดไส้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า "หลอดนีออน" ลักษณะเป็นหลอดยาวมีขนาด 18 วัตต์ และ 36 วัตต์ หรือ ชนิดขดเป็นวงกลมมีขนาด 32 วัตต์ (หลอดชนิดนี้จะให้แสงสว่างมากกว่าหลอดไส้ประมาณ 4 - 5 เท่า ถ้าใช้ปริมาณไฟฟ้าขนาด เท่ากัน อายุการใช้งานของหลอดฟลูออเรสเซนต์จะนานกว่าหลอดไส้ประมาณ 7 เท่า) 2. หลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดพิเศษ (หลอดซุปเปอร์) เป็นหลอดที่กินไฟเท่ากับหลอดผอมแต่ให้กำาลังส่องสว่างมากกว่าหลอดทั่วๆ ไป เช่น หลอดผอมธรรมดาขนาด 36 วัตต์ จะให้ความสว่างประมาณ 2,600 ลูเมน (Im) แต่ หลอดซุปเปอร์ให้ความสว่างถึง 3,300 ลูเมน (Im) ซึ่งจะทำาให้สามารถลดจำานวน หลอดที่ ใช้ลงได้ 3. หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ (หลอดตะเกียบ) หมายถึง หลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาดเล็กที่ได้มีการพัฒนาเพื่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน โดยใช้แทนหลอดไส้ได้ มีอายุ การใช้งานมากกว่าหลอดไส้ 8-10 เท่า และใช้ไฟฟ้าน้อยกว่าหลอดไส้ โดยจะประหยัดไฟได้ 75-80% (เนื่องจากอายุของหลอดขึ้น อยู่กับสภาพการติดตั้ง เช่น การระบายความร้อนและแรงดันไฟฟ้าด้วย) ปัจจุบันมี 2 ประเภท คือ

3.1 หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายใน ที่เรียกว่าหลอดประหยัดไฟ เป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ที่ย่อขนาดลง มีบัล ลาสต์และสตาร์ทเตอร์รวมอยู่ภายในหลอด สามารถนำาไปใช้แทนหลอดไส้ชนิดหลอดเกลียวได้ทันทีโดยไม่ต้องเพิ่มอุปกรณ์ใด ๆ มี อยู่หลายขนาด คือ 9 W, 11W, 13 W, 15 W, 18 W, 20 W ตัวอย่างเปรียบเทียบกับหลอดไส้ธรรมดา เป็นดังนี้ หลอดคอมแพคบัล ลำสต์ ภ ำยใน ให้แสงสว่ำงเท่ำกับหลอดไส้ หลอดใส้ (หลอดประหยัดไฟ) 9W 13 W 18 W 25 W หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายใน

40 W 60 W 75 W 100 W

3.2 หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายนอก หลักการใช้งานเช่นเดียวกับหลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายใน แต่หลอดคอมแพค บัลลาสต์ภายนอกสามารถเปลี่ยนหลอดได้ง่ายเมื่อหลอดชำารุด ตัวหลอดมีลักษณะงอโค้งเป็นรูปตัวยู (U) ภายในขั้วของหลอดจะมี สตาร์ทเตอร์อยู่ภายใน และมีบัลลาสต์อยู่ภายนอกมีหลายขนาด คือ หลอดคอมแพคบัลลำสต์ภำยนอก

ให้แสงสว่ำง เท่ำกับหลอดใส้

5W 7W 9W 11W

หลอดใส้ 25 W 40 W 60 W 75 W

หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายนอก ข้อควรปฏิบัติเพื่อกำรประหยัดไฟฟ้ำแสงสว่ำง มีดงั นีำ 1.ปิดสวิตซ์ไฟ เมื่อไม่ใช้งาน 2.ในบริเวณที่ไม่จำำ เป็นต้องใช้แสงสว่ำงมำกนัก เช่น เฉลียง ทางเดิน ห้องนำ้า ควรใช้หลอดที่มีวัตต์ตำ่า โดยอาจใช้ หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายใน เนื่องจากมีประสิทธิภาพการให้แสง ลูเมน/วัตต์ (Im/W) สูงกว่าหลอดไส้ และดีกว่าหลอดฟลูออ เรสเซนต์ขนาดไม่เกิน 18 W ด้วย สำาหรับ บริเวณที่ต้องกำรแสงสว่ำงปกติ หลอดผอมขนาด 36 W จะมีประสิทธิภาพการให้แสง (ลูเมน/วัตต์) สูงกว่า หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายในทั่วๆ ไปไม่ตำ่ากว่า 10% และยิ่งจะมีประสิทธิภาพการให้แสงมากขึ้นถ้าเป็นหลอดผอมชนิดซุปเปอร์ และใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟร่วมด้วย ดังนั้นจำานวนหลอดไฟที่ใช้และการกินไฟของหลอดผอมก็จะน้อยกว่าหลอดประหยัดไฟ 3.หมั่นทำำควำมสะอำด ขั้วหลอด และตัวหลอดไฟ รวมทัง้ โคมไฟและโป๊ะไฟต่าง ๆ 4.ผนังห้องหรือเฟอร์นิเจอร์อย่ำใช้สีคลำำำๆ ทึบๆ เพราะสีพวกนี้จะดูดแสง ทำาให้ห้องดูมืดกว่าห้องที่ทาสีอ่อน ๆ เช่น สีขาว หรือสีขาวนวล 5.เลือกใช้โคมไฟฟ้ำประสิทธิภำพสูง ซึ่งมีแผ่นสะท้อนแสงทำาด้วยอะลูมิเนียมเคลือบโลหะเงินจะสามารถลดจำานวน หลอดไฟลงได้โดยแสงสว่างยังคงเท่าเดิม 6.เลือกใช้ไฟตัำงโต๊ะในบริเวณที่ต้องกำรแสงสว่ำงเฉพำะแห่ง เช่น อ่านหนังสือ

7.ให้ใช้บัลลำสต์ประหยัดไฟฟ้ำควบคู่กับหลอดฟลูออเรสเซนต์ โดยบัลลาสต์ประหยัดไฟ มี 2 แบบ คือ 7.1 แบบแกนเหล็กประหยัดไฟฟ้า (LOW – LOSS MAGNETIC BALLAST) 7.2 แบบอิเล็กทรอนิกส์ ( ELECTRONIC BALLAST) 8.ในกำรเลือกซืำอหลอดไฟ โดยเฉพาะหลอดฟลูออเรสเซนต์นั้น ให้สังเกตปริมาณการส่อง สว่าง (ลูเมน หรือ Im) ที่กล่องด้วย เนื่องจากในแต่ละรุ่นจะมีค่าลูเมนไม่เท่ากัน ส่งผลให้มีราคาแตก ต่างกัน เช่น หลอดผอม 36 หรือ 40 วัตต์จะให้แสงประมาณ 2,000-2,600 ลูเมน หลอดชนิดซุปเปอร์ จะให้แสง 3,300 ลูเมน หลอดประหยัดไฟขนาด 11 วัตต์ (หลอดคอมแพคขนาด 11 วัตต์ หรือหลอด ตะเกียบ) จะให้แสงประมาณ 500-600 ลูเมน เป็นต้น นอกจากนี้จะต้องคำานึงถึง กำรกินไฟภำยในบัลลำสต์ ด้วย ซึ่งบัลลาสต์แกนเหล็กธรรมดา จะกินไฟมาก ส่วนบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์จะกินไฟน้อยมาก ประโยชน์ของบัลลำสต์ประหยัดไฟฟ้ำ - บัลลาสต์ธรรมดากินไฟ ประมาณ 10-12 วัตต์ บัลลาสต์ประหยัดไฟกินไฟประมาณ 3-6 วัตต์ - บัลลาสต์ธรรมดามีประสิทธิผลการส่องสว่าง 95–110% บัลลาสต์ประหยัดไฟมีค่าประสิทธิผลการส่องสว่าง 95–150% - การใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟช่วยให้เกิดความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากมีอุณหภูมิ ขณะทำางานไม่เกิน 75 องศาเซลเซียส ในขณะที่บัลลาสต์ธรรมดามีความร้อนจากขดลวดและแกน เหล็กถึง 110 – 120 องศาเซลเซียส - บัลลาสต์ประหยัดไฟมีอายุการใช้งานมากกว่าแบบธรรมดา 1 เท่าตัว แม้ราคาจะสูงกว่า บัลลาสต์แบบธรรมดา คำำแนะนำำด้ำนควำมปลอดภัยในกำรใช้ไฟฟ้ำแสงสว่ำง 1.เมื่อจะเปลี่ยนหลอดควรดับหรือปลดวงจรไฟฟ้าแสงสว่างนั้น 2.สังเกตบัลลาสต์ว่ามีกลิ่นเหม็นไหม้ หรือรอยเขม่าหรือไม่ 3.ถ้าเป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ไม่ควรปล่อยให้ไฟกระพริบอยู่เสมอ หรือหัวหลอดแดง โดยไม่สว่าง เพราะอาจเกิดอัคคีภัยได้ 4.ขัว้ หลอดต้องแน่นและไม่มีรอยไหม้ที่พลาสติกขาหลอด 5.ไม่นำาวัสดุที่ติดไฟง่าย เช่น ผ้า กระดาษ ปิดคลุมหลอดไฟฟ้า 6.ถ้าหลอดขาดหรือชำารุดบ่อย ให้ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้าว่าสูงผิดปกติหรือไม่ ถ้าพบผิด ปกติให้รีบแจ้งการไฟฟ้านครหลวงทันที 7.ถ้าโคมไฟเป็นโลหะและอยู่ในระยะที่จับต้องได้ควรติดตั้งสายดินด้วย มิฉะนั้นจะต้อง เป็นประเภทฉนวน 2 ชั้น 8.หลอดไฟที่ขาดแล้วควรใส่ไว้ตามเดิมจนกว่าจะเปลี่ยนหลอดใหม่ 9.หลอดไฟขนาดเล็กที่ใช้ให้แสงสว่างตามทางเดินตลอดคืนซึ่งใช้เสียบกับเต้ารับนั้น อาจมี ปัญหาเสียบไม่แน่นจนเกิดความร้อนและไฟไหม้ได้ นอกจากนี้วัสดุที่ใช้มักมีคุณภาพตำ่า ไม่ทนทาน ต่อความร้อน จึงไม่แนะนำาให้ใช้ หรือเสียบทิ้งไว้โดยไม่มีผู้คนดูแลอยู่ใกล้ ๆ 10.ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย ……………………………………………………………………………………………………… ที่มำข้อมูล : กำรไฟฟ้ำนครหลวง (กฟน.)

ทำำไมถึงต้องเลือกหลอดไฟฟ้ำประหยัดพลังงำน เมกกำแมน ประโยชน์: - ช่วยประหยัดค่าใช้ไฟฟ้าถึง 80% - อายุการใช้งานยาวนานถึง 10,000 ชั่วโมง

- เป็นการลงทุนที่คุ้มค่าเพราะประหยัดพลังงานได้จริง - คุณภาพสูง อายุการใช้งานยาวนานและทนทาน - รูปทรงการออกแบบ มีเอกลักษณ์ ทันสมัยและมีสไตล์ - ง่ายต่อการใช้งานและการซ่อมบำารุง

Related Documents

111111
October 2019 24
111111
November 2019 23
111111.docx
November 2019 26
111111.docx
November 2019 20
111111.docx
October 2019 29
111111.pdf
November 2019 5