Week 9

  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Week 9 as PDF for free.

More details

  • Words: 1,290
  • Pages: 41
Physics I บทที่ 13 ปริมาณความร้อน และกลไกการถ่ายโอนความร้อน

อุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics) 

   

ศึกษาสภาวะ (State) ที่เป็นไปได้ของระบบ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเอง หรือเกินจากการ interaction กับสิ่งแวดล้อม ตัวแปรที่ใช้ในการอธิบาย ได้แก่ อุณหภูมิ, ความดัน และปริมาตรเป็นต้น ระบบ (System) หมายถึง ส่วนหรือบริเวณของสสารที่ต้องการศึกษา สิ่งแวดล้อม (Surrounding) สิ่งอื่นๆ ที่อยู่รอบๆ ระบบ แต่มีผลต่อพฤติกรรมของระบบ ขอบเขต (Boundary) ผิวซึ่งแบ่งระบบกับสิ่งแวดล้อมออกจากกัน

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

2

ระบบ (System) 





ระบบโดดเดี่ยว (Isolate System)  ระบบที่ไม่มีการแลกเปลี่ยนทั้งพลังงานและมวลสารกับสิ่งแวดล้อม ผนังของระบบแบบนี้เรียกว่า adiabatic เป็นระบบในอุดมคติ ไม่เกิดขึ้นจริงในธรรมชาติ ระบบปิด (Close System)  ยอมให้มีการส่งผ่านพลังงานแต่ไม่มีการส่งผ่านมวลสาร (diathermal wall) ระบบเปิด (Open System)  ระบบที่ยอมให้ทั้งมวลสารและพลังงานผ่านเข้าออกได้ www.geocities.com/chanoknan_banglineg

3

อุณหภูมิ (Temperature)  อุณหภูมิ เป็นปริมาณที่บอกว่า

ระบบนั้นอยู่ในสมดุลความร้อนกับระบบอื่นหรือไม่  ใช้เป็นมาตรวัดความรู้สก ึ ร้อนหรือเย็น

T สูง

T ตำ่า www.geocities.com/chanoknan_banglineg

4

สมดุลความร้อนและกฎข้อทีศ่ ูนย์ของเทอร์โมไดนามิกส์

TA สูง

TB ตำ่า

TA = TB www.geocities.com/chanoknan_banglineg

5

“ถ้าระบบสองระบบอยู่ในสภาวะสมดุลทางความร้อ นกับระบบที่สามแล้ว ทั้งสองระบบอยูใ่ นสมดุลความร้อนซึ่งกันและกัน” Adiabatic wall

C A

B

ถ้า A = C และ B = C แล้ว A = B www.geocities.com/chanoknan_banglineg

6

มาตราส่วนความร้อน  จากกฎข้อที่ศูนย์นี้

เป็นพื้นฐานว่าด้วยการวัดอุ ณหภูมิ  โดยการวัดคุณสมบัติทางกา ยภาพที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อ มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ เช่น ปริมาตร ความยาว ความต้านทานทางไฟฟ้า www.geocities.com/chanoknan_banglineg

7

เทอร์โมมิเตอร์ เทอร์โมมิเตอร์ที่ใช้กนั อยู่ทั่วไป ทำาจากของเหลวทีบ่ รรจุอยู่ในหลอดเล็กๆ  โดยตั้งสมมุติฐานว่า “ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับความสูงของลำาของเหลวเป็นแบบเชิงเส้น” 

t  h   ah  b



เมื่อ a และ b เป็นค่าคงที่ ซึ่งหาได้โดยการกำาหนดอุณหภูมิคงที่ 2 จุดคือ จุดเยือกแข็งกับจุดเดือดของนำ้า

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

8

Celsius scale ti  0 C o

ts  100 C ได้ความสัมพันธ์ระหว่างความสูงกับอุณห ภูมิดังนี้ o

h  hi   tc  h   100  hs  hi 

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

 x o  100   C  L

9

Fahrenheit scale ti  32 F o

ts  212 F o

ความสัมพันธ์ระหว่างองศาเซลเซียส และฟาเรนไฮน์  9 t F   tC  32  5 www.geocities.com/chanoknan_banglineg

o

F

10

Kelvin

 จะใช้ scale เดียวกับเซลเซียส แต่กำาหนดจุดเยือกแข็งไว้ที่

273.15 K ดังนี้

T  tC  273.15 www.geocities.com/chanoknan_banglineg

K 11

การขยายตัวเนื่องจากความร้อน

  

สสารจะขยายตัวเมือ่ ได้รับความร้อนและหดตัวเมือ่ สูญเสียความร้อน ขยายตัวตามเส้น ขยายตัวตามปริมาตร www.geocities.com/chanoknan_banglineg

12

การขยายตัวตามเส้น นิยามสัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเส้นเฉลี่ย คือ “ความยาวทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ต่อหนึง่ หน่วยอุณหภูมทิ ี่เปลี่ยนแปลงไป”

1 L  L T

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

; ความดันคงที่

13

ตัวอย่าง13-1 แผ่นคอนกรีตยาว 12 m ที่อุณหภูมิ -5o C ในฤดูหนาวอันเย็นยะเยือก ความยาวจะเปลี่ยนไปเท่าไร จากฤดูหนาวเป็นฤดูร้อน เมื่ออุณหภูมเิ พิ่มขึ้นเป็น 35o C หล ัก กา รค ำา นวณ สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเส้นของคอนกรีต = 1 × 10-5 (Co)1 แทนลงในสมการจะได้ ΔL = αL0ΔT = (1 × 10-5 oC-1)(12m)(40 oC) ≈ 5 mm เหตุผลนีจ้ ึงทำาให้แผ่นคอนกรีตที่ใช้ทำาถนนต้องมีร่องอยู่ด้วยเพื่อป้องกันการขยายตัวนั่ นเอง

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

14

การขยายตัวตามปริมาตร นิยามสัมประสิทธิ์การขยายตัวตามพื้นที่เฉลี่ย คือ “พื้นทีท่ ี่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ต่อหนึง่ หน่วยอุณหภูมิทเี่ ปลี่ยนแปลงไป”

1 A  A T

; ความดันคงที่

นิยามสัมประสิทธิ์การขยายตัวตามปริมาตรเฉลีย่ คือ “ปริมาตรที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ต่อหนึ่งหน่วยอุณหภูมทิ ี่เปลี่ยนแปลงไป” 1 V  ; ความดันคงที่ V T www.geocities.com/chanoknan_banglineg

15

สำาหรับกรณีที่สสารมีคุณสมบัติ Isotropic คือ มีอัตราการขยายตัวในทิศทางต่างเท่ากัน จะได้

  2

และ

  3

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

16

ความร้อน  เมื่อเรานำาระบบที่มีอุณหภูมิต่างกันมาสัมผัสกันจะมีการถ่ายโอน

พลังงานซึง่ เรียกว่า “ความร้อน” จนในที่สดุ ทั้งสองระบบมีอุณหภูมิเท่ากัน หรือระบบทั้งสองอยู่ในภาวะสมดุลความร้อนซึ่งกันและกัน  เมื่อระบบอยู่ในภาวะสมดุล พลังงานนี้จะถูกเก็บไว้ในรูปของพลังงานภายใน (internal energy)  หน่วยของปริมาณความร้อน คือ จูล (Joules, J) หรืออีกหน่วยหนึ่งที่นิยมใช้คือ แคลลอรี (calorie, cal) www.geocities.com/chanoknan_banglineg

17

ปริมาณ ความร้อน 1 cal คือ ปริมาณความร้อนที่ต้องใช้ในการทำาให้นำ้ามวล 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิม่ ข้นจาก 14.5 oC เป็น 15.5 oC ที่ความดัน 1 บรรยากาศ

1 cal  4.184 J

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

18

ความจุความร้อนและความจุความร้อนจำาเพาะ  ความจุความร้อน (Heat Capacity: C) คือ

ปริมาณความร้อนที่ต้องใช้ในการทำาให้สารที่มีมวล m และอุณหภูมิ T มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 K (1 oC)  ความจุความร้อนจำาเพาะ (Specific Heat Capacity: c) เป็นค่าจำาเพราะของความจุความร้อน ไม่ขึ้นกับมวลสาร

C c m www.geocities.com/chanoknan_banglineg

19

ปริมาณความร้อนที่ต้องให้แก่ระบบ เพื่อทำาให้อุณหภูมิสูงขึน้

Q  C  T2  T1  หรือ

Q  mc  T2  T1 

1 cal / g  C  4190 J / kg K o

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

20

ตัวอย่างที่ 1 แท่งทองแดงมวล 75 กรัม ถูกทำาให้ร้อนจนมีอุณหภูมิ T=312 เซลเซียส จากนั้นนำาแท่งทองแดงนี้ใส่ลงไปในนำ้า ที่บรรจุอยู่ในแก้ว มวลของนำ้า 220 กรัม โดยให้แก้วมีค่าความจุความร้อนเป็น 45 cal/K อุณหภูมิเริ่มต้นของนำ้าและแก้วคือ 12 เซลเซียส ถ้าสมมุติให้ไม่มีการสูญเสียความร้อนให้สิ่งแวดล้อม และนำ้าไม่กลายเป็นไอ จงหาอุณหภูมิสุดท้ายเมื่อระบบอยู่ในสภาวะสมดุลความร้อน www.geocities.com/chanoknan_banglineg

21

Qw  mwcw  T2  T1  Qg  C g  T2  T1 

Qc  mc cc  T2  T  ระบบนี้ไม่เกิดการสูญเสียความร้อนให้กับสิ่งแวดล้อม

Qw  Qg  Qc  0 www.geocities.com/chanoknan_banglineg

22

cw mw  T2  T1   C g  T2  T1   cc mc  T2  T   0

เมื่อค่าความจุความร้อนจำาเพาะของทองแดงคือ cc  0.0923 cal / g o C

และค่าความจุความร้อนจำาเพาะของนำ้าคือ cw  1 cal / g  C o

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

23

หาค่า T2 ได้

T2 

mc ccT  C g T1  mwcwT1 mw cw  C g  mc cc

 75 g   0.0923cal/g K   312 oC    45cal/K   12oC    220 g   1.00 cal/g K   12oC  T2   220 g   1.00 cal/g K    45cal/K    75 g   0.0923cal/g K   19.6 oC

Qw  1670 cal Qg  342 cal Qc  2020 cal

เครือ่ งหมาย แสดงว่าเกิดการคายความร้อน

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

24

ความร้อนแฝง 

คือปริมาณความร้อนที่ต้องใช้ในการทำาให้ สาร 1 kg เกิดการเปลี่ยนสถานะที่ความดัน 1 บรรยากาศ

Q  mL

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

25

ค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของนำ้า 3 L f  79.7110 cal/kg ค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ L f  539.12 103

cal/kg

ตัวอย่างที่ 2 จงหาพลังงานความร้อนที่ใช้ในการต้มนำ้า 1 กิโลกรัมซึ่งมีอุณหภูมิเริ่มต้น 20 องศาเซลเซียสให้เดือดและระเหยกลายเป็นไอทั้งหมด กำาหนดให้

cw  4.2 kJ / kg K Lv  2300 kJ / kg www.geocities.com/chanoknan_banglineg

26

1. ต้องให้ความร้อนจนนำ้าเดือด 2. ให้ความร้อนต่อจนนำ้าทั้งหมดกลายเป็นไอ

Q  mcT  mL





Q   1 kg   4.2 kJ / kg K   100  200 oC     1 kg   2300 kJ / kg    336 kJ  2300 kJ  2636 kJ

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

27

การถ่ายโอนความร้อน การนำาความร้อน

(Conduction) การพาความร้อน (Convection) การแผ่รังสี (Radiation) www.geocities.com/chanoknan_banglineg

28

การนำาความร้อน

อาศัยตัวกลางในการส่งผ่านความร้อน  มักเกิดในเนือ ้ สสารที่อยู่ในสถานะขอ งแข็ง  อัตราการนำาความร้อน 





TH  TC Q Pcond   kA L k เป็นค่าคงที่บtวก เรียกว่า

สภาพนำาความร้อน (thermal conductivity) ของวัสดุ ค่าต้านทานการนำาความร้อน (R-Value)

L R A www.geocities.com/chanoknan_banglineg

29

การนำาความร้อน ที่แผ่นขนานมากกว่า 1 ชนิด อัตราการนำาความร้อนผ่านแผ่นที่ 1 เท่ากับแผ่นที่ 2 เมื่อระบบอยู่ในภาวะสมดุลความร้อน Pcond 

k1 A  T  Tc  L1

หาอุณหภูมิ T : Pcond 



k2 A  Th  T  L2

k1 L2Tc  k2 L1Th T k1 L2  k2 L1

A  Th  Tc  L1 / k1  L2 / k2

www.geocities.com/chanoknan_banglineg



A  Th  Tc  R1  R2 30

ตัวอย่างที่ 2 จากรูปแสดงกำาแพงที่ทำาจากวัสดุ 3 ชนิด ไม้สนหนา La และกำาแพงอิฐหนา 2.0La ระหว่างวัสดุทั้งสองมีวัสดุไม่ทราบชนิดสองชั้นซึ่งมีความหนาและสภาพการนำาความร้ อนเท่ากัน o o T  25 C T  20 1 น k และอิฐเป็ 2น 5.0 k C ถ้าสภาพการนำาความร้อนของไม้สนเป็

a

เมื่อกำาแพงนำาความร้อนจนอยู่ในภาวะสมดุลวัดอุณหภูมิ

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

a

T5  10 oC

จงหาอุณหภูมิ T4 = ?

31

ในสภาวะสมดุลอัตราการนำาความร้อนมีค่าเท่ากัน

Pa 

ka A  T1  T2 

และ

La

Pd 

kd A  T4  T5  Ld

Pa  Pd ka Ld T4   T1  T2   T5 kd La 

ka  2.0 La 

 5.0ka

 L a

 

25 oC  20 oC  10 oC



 8.0 oC www.geocities.com/chanoknan_banglineg

32

การพาความร้อน  การถ่ายโอนความร้อนทำาโดยการเคลื่อ

นที่ของโมเลกุล  การพาความร้อนอย่างอิสระ การเคลื่อนที่ของโมเลกกุล เนื่องจากแรงลอยตัวที่เกิดจากความแต กต่างระหว่างความหนาแน่นของตัวกล างที่ตำาแหน่งต่างๆ  การพาความร้อนอย่างไม่อิสระ โมเล กุลตัวกลางเคลื่อนที่จากแรงภายนอก www.geocities.com/chanoknan_banglineg

33

อัตราการพาความร้อน Pconv

Q   hAT t

เมื่อ h เป็นสัมประสิทธิ์การพาความร้อน (convection coefficient)

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

34

การแผ่รังสีความร้อน  ถ่ายโอนความร้อนโดยไม่ต้องอา

ศัยตัวกลาง  อัตราการแผ่รังสีทั้งหมด

H   AT

4

คือค่าคงที่ของสเตฟานโบลซ์มานน์  คือค่าสภาพส่งรังสี (emissivity) 

  5.67 108 watt/m 2 K 4

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

35

สมการสถานะ 

อธิบายพฤติกรรมของก๊าซ จากสมบัติของระบบซึ่งมีตัวแปรที่เกี่ยวข้องคือ    



อุณหภูมิ (Temperature, T) ความดัน (Pressure, P) ปริมาตร (Volume, V) มวล (Mass, m) หรือจำานวนโมล (n)

ก๊าซในอุดมคติ (Ideal gas) 



ประกอบด้วยโมเลกุลที่เหมือนกันจำานวนมาก จนถือได้ว่าการกระจายจองความเร็วของโมเลกุลจะคงที่ ขนาดของโมเลกุลมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับระยะห่างระหว่างโมเลกุล จนถือได้ว่าไม่มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล www.geocities.com/chanoknan_banglineg

36

สมการสภาวะสำาหรับก๊าซในอุดมคติ ปี ค.ศ. 1662 Robert Boyle ทำาการทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่าง P และ V PV ในภาชนะปิดที่อุณหภู ิ งทีPV 1 ม1ค 2่พบว่ 2 า constant  กฎของ Boyle  สมมุตฐ ิ านของ Avogadro “ก๊าซทุกชนิดที่มปี ริมาตรเท่ากันภายใต้ความดันและอุณห PV  nG  T  ภูมเิ ดียวกัน จะมีจำานวนโมเลกุลเท่ากัน” 



ต่อมา Charles และ Gaylussac พบว่า “สำาหรับก๊าซที่มีปริมาณคงที่ ที่อยูVภ่ ายใต้ วามดันคงที่  คbT ปริมาตรจะแปรผันโดยตรงกับอุณหภูม”ิ www.geocities.com/chanoknan_banglineg

37

จาก เปรียบเทียบกับ

nG  T  V P

PV  nG  T 

V  bT

จะได้

เมือ่ R เป็นค่าคงที่ของก๊าซจากการทดลองได้ สมการสภาวะสำาหรับก๊าซ คือ

G  T   RT R  8.3144 J / mol K

PV  nRT

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

38

ตัวอย่างที่ 3 กระบอกบรรจุก๊าซออกซิเจนที่ 20 ๐C ปริมาตร 20 ลิตรและมีความดัน 15 atm เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นเป็น 35 ๐C และปริมาตรลดลงเหลือ 8.5 ลิตร จงหาความดันในหน่วย atm สมมุติให้ก๊าซที่บรรจุอยู่เป็นก๊าซในอุดมคติ จากสมการสถานะ

PV  nRT

สถานะแรกมีสมการเป็น

PV 1 1  nRT1

เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนได้สมการ

PV 2 2  nRT2

ต้องการความดันที่สถานะที่ 2 คือ P2 นำาสมการที่ 2 หารด้วยสมการที่ 1

PV T2 2 2  PV T1 1 1

P2  

PV 1 1T2 V2T1

 15 atm   12 lit   273  35 K   8.5 lit   273  20 K 

 22 atm www.geocities.com/chanoknan_banglineg

39

แผนภาพ P-V

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

40

แผนภาพ P-T และจุดไตรภาค

www.geocities.com/chanoknan_banglineg

41

Related Documents

Week 9
October 2019 19
Week-9
November 2019 18
Week 9
November 2019 20
Week 9
April 2020 19
Week 9
December 2019 17
Week #9
December 2019 21