Week 6

  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Week 6 as PDF for free.

More details

  • Words: 1,010
  • Pages: 31
Physics I

บทที่ 8 การหมุน

วัตถุแข็งเกร็งหมุนรอบแกนที่ต รึงไว้กับที่  โดยวัดมุมที่วัตถุหมุนในหน่วย เรเดียน  1 rad คือมุมที่สว่ นโค้งซึง่ ยาวเท่ากับ รัศมีของวงกลมรองรับที่จุดศูน 360o ย์ ก ลางของวงกลม 1 rad   57.3o 

ความเร็วเชิงมุม

2    rad     deg  180

s  มุมที่รองรับส่วนโค้ง www.geocities.com/chanoknan_banglieng r

2

ความเร็วเชิงมุมเฉลี่ย  2  1  av   t2  t1 t

ความเร็วเชิงมุมขณะหนึ่ง

 d   lim  t 0 t dt

บนวัตถุแข็งเกร็งทุกจุดจะหมุนไปเป็นมุมเดียวกันในช่วงเวลาเท่ากัน ดังนั้นที่เวลาใดๆ ทุกส่วนของวัตถุกำาลังหมุนมีความเร็วเชิงมุมเท่ากัน www.geocities.com/chanoknan_banglieng

3

ถ้าการหมุนมีความเร็วเชิงมุมคงที่ เราบอกอัตราการหมุนโดยใช้ความถี่ หรือจำานวนรอบที่หมุนต่อเวลา

1 รอบ = ∆θ = 2π radians คาบ หรือเวลาที่ใช้ในการหมุนครบ 1 รอบ ความถี่ของการหมุนคือ

2 T 

1  f   T 2 www.geocities.com/chanoknan_banglieng

4

ความเร่งเชิงมุม ถ้าความเร็วเชิงมุมของวัตถุ 2  1   av   แข็งเกร็งมีการเปลี่ยนแปลง t2  t1 t ขึ้นกับเวลา  แสดงว่าวัตถุหมุนโดยมีคว ามเร่งเชิงมุม  d  d 2   lim   2 

t 0

t

dt

dt

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

5

ทิศของความเร่งเชิงมุมหาได้จาก d dt

0

d 0 dt

มีทิศเดียวกันกับ

มีทิศเตรงกันข้ามกับ

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

6

ตัวอย่างที่ 1 ล้อหมุนด้วยตำาแหน่งเชิงมุม

  2t

3

เส้นผ่านศูนย์กลางของล้อยาวเท่ากับ 0.36 เมตร จงหา a) มุมในหน่วยเรเดียนและองศา ที่เวลา t = 2 s และ t = 5 s b) ระยะทางที่อนุภาคๆ หนึ่งที่ขอบเคลื่อนที่ได้ในระหว่างช่วงเวลานัน้ c) ความเร็วเชิงมุมเฉลี่ยในหน่วย rad/s และในหน่วย รอบต่อนาที d) จงหาความเร็วเชิงมุมขณะหนึง่ ที่เวลา t = 3 s www.geocities.com/chanoknan_banglieng

7

การหมุนด้วยความเร่งเชิงมุมคงที่

  0   t 1 2    0  0t   t 2 2 2   0  2     0  www.geocities.com/chanoknan_banglieng

8

ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเวกเตอร์ของการเคลื่อนที่เชิงเส้น และการเคลื่อนที่เชิงมุมของอนุภาคที่เคลื่อนที่เป็นวงกลม ตำาแหน่ง อัตราเร็ว

s r ds d  r dt dt

v  r

2 2 r T   v www.geocities.com/chanoknan_banglieng

9

dv d   r ความเร่ง dt dt

a//   r 2

v 2 a    r r

a  a a 2 //

2 

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

10

ตัวอย่างที่ 2 เครื่องเล่นแผ่นซีดี หมุนด้วยความถี่ 33 รอบต่อนาที และใช้เวลา 20 วินาทีในการหยุดหมุน จงหา 1) ความเร่งเชิงมุม

rad   33 rev  0  2 f   2   rev   60 second    3.46 rad / s

  0   t   0  t



0  3.46 2   0.173 rad / s 20 www.geocities.com/chanoknan_banglieng

11

2) แผ่นซีดีหมุนกี่รอบก่อนที่มันจะหยุด

1 2      0  0t   t 2 1 2    3.46   20    0.173  20  2  34.6 rad

34.6  5.51 หมุน 1 รอบทำามุม 2π rad ดังนั้น 2

รอบ

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

12

3) ถ้ารัศมีของแผ่นซีดีเป็น 14 เซนติเมตร จงหาความเร่งเชิงเส้นที่ขอบแผ่น ณ เวลา t = 0

a//   r   0.173  0.14   0.024 m / s

a   r   3.46  2

2

2

 0.14   1.68 m / s

a  0.024  1.68  1.68 m / s 2

2

2

2

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

13



พลังงานจลน์ของการหมุน  

ถ้าแบ่งวัตถุแข็งเกร็งออกเป็นอ นุภาคเล็กๆ เมื่อวัตถุหมุนรอบแกนหมุน อนุภาคเล็กๆ เหล่านี้ก็จะหมุนไปด้วยกัน พลังงานจลน์ของอนุภาค

1 2 K  mi vi 2



ดังนั้นพลังงานจลน์ในการหมุ นก็คือผลรวมของพลังงานจล น์ของอนุภาคเล็กๆทั้งหมด

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

14

โมเมนต์ความเฉื่อย 1 2 K   mi vi 2 1 2   mi   ri  2 1 2   mi ri  2





I   mi ri

2

เรียกปริมาณนี้ว่า โมเมนต์ความเฉื่อย ของวัตถุรอบแกนหมุ น 1 2 K  I 2

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

15

ตัวอย่างที่ 3 มวล M และ m วางอยู่บนแกน xy ดังรูป ถ้าระบบใช้แกน y เป็นแกนหมุน หมุนด้วยความเร็วเชิงมุม จงหาโมเมนต์ความเฉื่อย และพลังงานจลน์ของการหมุ นรอบแกน y

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

16

I   mi ri

2

 Ma  Ma 2

 2 Ma

2

2

1 2 K  I 2 1 2 2  2 Mb  2 2 2  Mb 





www.geocities.com/chanoknan_banglieng

17

วิธีคำานวณหาโมเมนต์ความเฉื่อย

I  lim

t 0

แทนค่า

 r m   r dm 2

2

i

i

i

dm   dV I   r  dV 2

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

18

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

19

ทฤษฎีแกนขนาน

I  I CM  Mh

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

2

20

ทอร์ค 

ทอร์ค คือแรงที่กระทำาให้วัตถุหมุน ขึ้นอยู่กับขนาดของแรงและตำาแหน่งที่แรงกระทำา

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

21

ขนาดของทอร์ค

  rF sin  นิยามของเวกเตอร์ทอร์ค

v v v   r F www.geocities.com/chanoknan_banglieng

22

ทอร์คและความเร่งเชิงมุม จากกฎข้อที่ 2 ของนิวตัน 

 F// r  ma// r a//   r

  m   r  r   mr   2

  I www.geocities.com/chanoknan_banglieng

23

งานและกำาลังของการหมุน v v dW  F ds   F sin   rd

dW   d กำาลังในการหมุน

dW d    dt dt

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

24

แกนหมุนคงที่ ถ้าแกนหมุนไม่ได้หยุดนิ่งอยู่กับที่ เพราะมีการเลื่อนตำาแหน่งและหมุนไปพร้อม ๆ กันตัวอย่างเช่น ลูกบอลไหลลงมาตามพืน ้ เอียงโดยไม่ไถล 1 2 1 เป็นต้น 2

K

2

mv 

2

I CM 

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

25

โมเมนตัมและการดลเชิงมุม

v v v   r F

นิยามโมเมนตัมเชิงมุมว่า

v v v L  r  mv  mvr sin  www.geocities.com/chanoknan_banglieng

26

v v v dL  dr dv  v  v v v v v   mv   r  m    v  mv    r  ma  dt  dt dt   

v dL v v  r F dt

สำาหรับอนุภาคซึง่ ถูกกระทำาด้วยแรงสุทธิ F

Li  mi  ri  ri  mi ri  2

L   Li 

  m r    I 2

i i

v v dL   dt www.geocities.com/chanoknan_banglieng

27

ตัวอย่างที่ 3 พัดลมกังหันในเครื่องยนต์ไอพ่นเครื่องหนึ่ง มีโมเมนต์ความเฉือ่ ยขนาด 2.5 kg.m2 รอบแกนหมุนของเครื่อง ในขณะที่กังหันเริ่มหมุน ความเร็วเชิงมุมของกังหันในรูปฟังก์ชันของเวลาคือ

   400 rad/s  t 3

2

จงหาโมเมนตัมเชิงมุมของใบพัดในรูปของฟังก์ชันของเวลา และให้หาค่าของโมเมนตัมเชิงมุมที่เวลา t = 3 s จงหาทอร์กสุทธิที่กระทำาต่อใบพัดในรูปฟังก์ชันของเวลา www.geocities.com/chanoknan_banglieng

28



  400 rad/s  t /s t

L  I   2.5 kg m



 1000 kg m



2

2

3

ที่เวลา t = 3 s L  1000 kg m / s 2

3

2

2

3

  3.0 s 

2

 9000 kg m / s 2

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

29

และจาก

v dL 2 3    1000 kg m / s   2t  dt 2 3   2000 kg m / s  t

ที่เวลา t = 3 s

   2000 kg m / s 2

3

  3.0 s 

 6000 N m www.geocities.com/chanoknan_banglieng

30

การคงตัวของโมเมนตัมเชิงมุม

v v dL  0 แสดงว่า L  I   constant ถ้า dt เมื่อทอร์กภายนอกสุทธิที่ทำาต่อระบบเป็นศูนย์ โมเมนตัมเชิงมุมทั้งหมดของระบบมีค่าคงตัว

I12  I 22 www.geocities.com/chanoknan_banglieng

31

Related Documents

Week 6
November 2019 22
Week-6
November 2019 19
Week 6
October 2019 28
Week 6
May 2020 6
Week 6
April 2020 8
Week 6 Readings
October 2019 9