Week 5

  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Week 5 as PDF for free.

More details

  • Words: 1,491
  • Pages: 34
Physic s 1 บทท่ี 7 การดลและโมเมนตัม

การดลและโมเมนตัม

v v dv d v v  F  ma  m dt  dt  mv 

พิจารณาอนุภาคท่ม ี ีมวลคงตัว เขียนกฎข้อท่ี 2 ของนิวตันได้ดังสมการข้างบน  แรงสุทธิท่ก ี ระทำาต่ออนุภาคมีค่าเท่ากับอัตราการเปล่ย ี นแปลงของปริมาณ mv เทียบกับเวลา  เรียกปริมาณนีว ้ ่า “โมเมนตัม (momentum) หรือ โมเมนตัมเชิงเส้นของอนุภาค” 

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

2

v v p  mv v v dp  F  dt

นิยามของโมเมนตัม

กฎข้อท่ส ี องของนิวตันในรูปข องโมเมนตัม

แรงสุทธิท่ีกระทำำต่ออนุภำคมีค่ำเท่ำกับอัตรำกำรเปล่ย ี นแปลงโมเมนตัม ของอนุภำคเทียบกับเวลำ www.geocities.com/chanoknan_banglieng

3

ารณาอนุภาคท่ถ ี ูกกระทำาด้วยแรงสุทธิคงตัวในช่วงเวลา

t

ม การดล(Impulse) ของแรงสุทธิว่าเป็ นผลคูณของแรงสุทธิกับช่วง v v J   F t

จากกฎข้อท่ี 2 ของนิวตันในรูปโมเมนตัม v pv2  pv1 F  t t 2 1 v v v  F  t2  t1   p2  p1

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

4

 แรงท่ีกอ ่ ให้เกิดการด

ล เรียกว่า “แรงดล”  การดลคือพ้น ื ท่ีใต้กร าฟระหว่าง แรงกับเวลา t2

v v J   F  t  dt t1

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

5

ทฤษฎีการดล- โมเมนตัม v v v J  p2  p1 การเปล่ย ี นแปลงโมเมนตัมของอนุภาคระหว่ างช่วงเวลาหน่ึงมีคา่ เท่ากับการดลของแรงสุ ทธิท่ท ี ำาต่ออนุภาคในระหว่างช่วงเวลานัน ้

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

6

ตัวอย่างท่ี 1 ตีลก ู เบสบอลซ่งึ มีมวล 40 กรัม ท่ีขว้างมาในแนวระดับ วัดความเร็วของลูกเบสบอลขณะกระทบไม้ได้ vi = 39.0 m/s ก) น หลังจากนั ้ ลูกพุ่งออกจากไม้ไปด้วยความเร็ว vf = การดลของลูกเบสบอลขณะชนกับไม้เบสบอ 39.0 m/s ในทิศทางตรงกันข้าม จงหา ล งเวลาท่ล ี ูกบอลกระทบไม้ J ข)p fถ้าช่pว i  mv f  mvi

t=

1.20 ms    0.140 kg   39.0 m      0.140 kg   39.0 m   s  าต่ อลูกเบสบอล s   จงหาแรงเฉล่ ย ี ท่ีกระทำ  10.9 kg m

s www.geocities.com/chanoknan_banglieng

7

J 10.9 kg m s F  t 0.00120 s  9080 N

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

8

กฎการคงตัวของโมเมนตัม จาก

v dpv ถ้าไม่แรงสุทธิภายนอกที่มากระทำาที่วตั ถุ จะได้  F  dt v dp  0 หรือ p มีค่าคงที่ dt “ถ้าไม่มีแรงสุทธิภายนอกไปกระทำาที่วัตถุ โมเมนตัมของวัตถุจะมีค่าคงที่”

v v p  mv  constant www.geocities.com/chanoknan_banglieng

9

พิจารณาการชนของอนุภาค 2 ตัว ขณะท่ีชนกันจะมีแรง F1 และ F2 ท่ก ี ระทำาต่ออนุภาคตัวท่ี 1 และตัวท่ี 2 tf v F2 ในช่วงเวลาสัน ้ vๆ เม่ ือv แรง F1 และ p  p  F dt 1 f 1 i 1 เป็ นฟั งก์ชันของเวลา



และ

ti

tf

v v v p2 f  p2i   F2 dt ti

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

10

เม่ ือบวกสมการทัง้ 2 เข้าด้วยกันจะได้ tf v v v v v v p1 f  p1i  p2 f  p2i   F1  F2 dt ti





v v จากกฎข้อท่ี 3 ของนิวตัFน 1   F2 v v F1  F2  0

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

11

v v v v p1 f  p2 f  p1i  p2i “ผลรวมของโมเมนตัมหลังชนเท่ากับผล รวมของโมเมนตัมก่อนชน”

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

12

การชน

ถ้าในการชนมีแต่แรงภายในระหว่างอนุภาคเท่านัน ้ การชนจะเป็ นไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม คือ โมเมนตัมก่อนชนเท่ำกับโมเมนตัมหลังชน พลังงานจลน์ก่อนการชนและภายหลังกาชนคือ 1 1 1 1 2 2 2 2 T  m v  m v Ti  m1v1i  m2 v2i f 1 1f 2 2f 2 2 2 2 2 2 2 2 p p p1i p2i 1f 2f     2m1 2m2 2m1 2m2 www.geocities.com/chanoknan_banglieng

13

ในการชนถึงแม้ว่าจะไม่มีแรงไม่อนุรก ั ษ์เข้ามา เก่ียวข้อง พลังงานกลรวมของอนุภาคก่อนชนกับหลังช นอาจไม่คQงท่ีกไ็ Tด้f  U f   Ti  U i 





ถ้าพลังงานศักย์คงท่ี

Q  T f  Ti www.geocities.com/chanoknan_banglieng

14

การชนแบบไม่ยดื หยุ่น  ถ้า

Q 0 คือพลังงานจลน์ทัง้หมดไม่คงท่ี เรียกการชนแบบนีว้่า “การชนแบบไม่ยืดหยุ่น (inelastic collision)”

m1v1i  m2 v2i   m1  m2  v f

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

15

ตัวอย่างท่ี 2 ballistic pendulum ใช้ในการหาความเร้วของลูกปื น เม่ ือเป้ ามวล m2 = 5.4 kg และกระสุนมวล m1 = 9.5 g ถ้ายิงกระสุนด้วยความเร็ว v กระสุนฝั งในเป้ ามวล m2 ทำาให้เคล่ อ ื นท่ีไปได้ความสูง h = 6.3 cm จงหาความเร็วก่อนชน v

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

16

จากกฎการอนุรักษ์คงตัว โมเมนตัมก่อนชน = โมเมนตัมหลังชน

จากโจทย์ ความเร็วเร่ิมต้นของมวล m2 มีค่าเป็ นศูนย์ และหลังชนมวล m1 และ m2 มีความเร็ว vf ดังนัน ้

m1v   m1  m2  v f m1  m2 v vf m1

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

17

หลังชนกระสุนฝั งไปในเป้ า และทำาให้เชือกแกว่ง โดยท่ีไม่มีแรงภายนอกมากระทำา พลังงานกลของระบบคงท่ี

 T U  i   T U  f

ท่จี ุดต่ำาสุดของการแกว่ง พลังงานศักย์มค ี ่าเป็ นศูนย์ และพลังงานจลน์มีค่ามากท่ส ี ุด และเม่ อ ื เป้ าแกว่งไปได้สูงท่ีสุด h Ti  Uงนี ซ่ ึงพลังงานจลน์ท่ต ี ำาแหน่ ้ ีค่าเป็ นศูนย์ f ม และพลังงานศั ี ุด 1 กย์มีค่า2มากท่ส 2

 m1  m2  v f   m1  m2  gh v f  2 gh www.geocities.com/chanoknan_banglieng

18

m1  m2 v m1



2 gh



 9.5 10  5.4    2  9.8   0.063 3 9.5 10   3

 630 m

s www.geocities.com/chanoknan_banglieng

19

การชนแบบยืดหยุ่น  ถ้า

Q = 0 ก็คือ พลังงานจลน์ทัง้หมดคงท่ี และเราเรียกการชนแบบนีว้่า “การชนแบบยืดหยุ่น (elastic collision)

m1v1i  m2 v2i  m1v1 f  m2 v2 f

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

20

พลังงานจลน์กอ ่ นชน = พลังงานจลน์หลังชน

ก่อนชน

u2  0

u1

v1

หลังชน กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม

v2

m1u1  m1v1  m2 v2 m1  u1  v1   m2 v2

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

21

1 1 1 2 2 2 กฎการอนุรักษ์พลังงานจลน์ m1u1  m1v1  m2 v2 2 2 2



m1 u  v 2 1

2 1

 m v

2 2 2

m1  u1  v1   u1  v1   m v

2 2 2

m1  u1  v1   m2 v2

v2  u1  v1 www.geocities.com/chanoknan_banglieng

22

m1u1  m1v1  m2 v2

แทนค่vา2 ลงในสมการ

m1  m2 v1  u1 m1  m2 2m1 v2  u1 m1  m2

 ถ้ามวล

m1 = m2 จะได้ความเร็ว v1 = 0 และ v2 = u1

 ถ้ามวล

m1 >> m2 จะได้ v1 u 1 และ v2 u2

 ถ้ามวล

m2 >> m1

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

23

กรณีท่ีมวล m2 ไม่ได้หยุดน่ิง จากกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม

m1u1  m2u2  m1v1  m2 v2

m1  u1  v1    m2  u2  v2 

กฎการอนุรักษ์พลังงานจลน์ 1 1 1 1 2 2 2 2 m1u1  m2u2  m1v1  m2 v2 2 2 2 2 2 2 2 2 m1  u1  v1    m2  u2  v2 

m1  u1  v1   u1  v1    m2  u2  v2   u2  v2  www.geocities.com/chanoknan_banglieng

24

u1  v1  u2  v2 v1  u2  u1  v2

m1u1  m2u2  m1v1  m2 v2 แทนค่v า1  ถ้ามวล m = m ลงในสมการ 1 2 จะได้ความเร็ว v1 = m1  m2 2m2 v1  u1  u2 u2 และ v2 = m1  m2 m1  m2 u1 2m1 m2  m1 v2  u1  u2  ถ้ามวล m1 >> m2 m1  m2 m1  m2 จะได้ v u 1

1

และ v2 u2  ถ้ามวล m >> m 2 1 25 www.geocities.com/chanoknan_banglieng

ตัวอย่างท่ี 3 กล่องสองใบเคล่ ือนท่ไี ปตามพ้ืนท่ไี ม่มีแรงฝื ดดังรูปจ งหา 3.1 ความเร็วของกล่องมวล 1.6 kg หลังการชน 3.2 การชนนีเ้ป็ นแบบยืดหยุ่นหรือไม่ s 3.3 ถ้5.5 าความเร็ วเร่ิมต้นของกล่องมวล 2.4 kg มีทิศตรงกั ี สดงในรู 2.4 ป 1.6 นข้ามกับท่แ ก่อนชน ความเร็วของกล่องมวล 1.6 kg m 4.9 s v หลังการชนเป็ นเท่าไร 2.4 1.6 หลังชน m

2.5 m s

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

26

โมเมนตัมก่อนชน = โมเมนตัมหลังชน m1u1  m2u2  m1v1  m2 v2

 1.6 kg   5.5 m / s    2.4 kg   2.5 m / s    1.6  v   2.4 kg   4.9 m / s  8.8  6.0  11.76 v 1.6  1.9 m / s

m/s

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

27

พลังงานจลน์ก่อนชน

1 1 m1u12  m2u22 2 2 1 1 2 2   1.6   5.5    2.4   2.5  2 2  24.2  7.5  31.7 J

Ti 

1 1 2 2 T  m v  m v พลังงานจลน์หลังชน f 2 1 1 2 2 2 1 1 2 2   1.6   1.9    2.4   4.9  2 2  2.888  28.812  31.7 J

Q  T f  Ti  0การชนนีเ้ป็ นแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์ www.geocities.com/chanoknan_banglieng

28

จาก

m1  m2 2m2 v1  u1  u2 m1  m2 m1  m2 1.6  2.4  2  2.4   v  5.5   2.5  1.6  2.4   1.6  2.4   1.1  3  4.1 m / s

งว่า กล่องมวล 1.6 kg หลังชนจะเคล่ อ ื นท่ีตรงกันข้ามกับความเร็วต้น

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

29

การชนแบบยืดหยุ่นในสองมิติ

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

30

ถ้าแรงลัพธ์ภายนอกเป็ นศูนย์ โมเมนต์ตัมก่อนชน = โมเมนตัมหลังชน ในแนวแกน x

m1u1  m1v1 cos 1  m2 v2 cos  2 ในแนวแกน y

0  m1v1 sin 1  m2 v2 sin  2 ถ้าเป็ นการชนแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์ พลังงานจลน์ก่อนชน = พลังงานจลน์หลังชน www.geocities.com/chanoknan_banglieng

31

ตัวอย่างท่ี 4 ในการเล่นสนุกเกอร์เกมส์หน่งึ ผู้เล่นแทงลูกสีขาวพุ่งเข้าชน ลูกสีแดง ท่ม ี ีมวลเท่ากัน หลังชนลูกขาวเคล่ อ ื นท่ีด้วยความเร็ว 3.50 m/s ทำามุม ื นท่ ข ี องลู ก สี แ ดง ๐ 1) มุมระหว่างทิศการเคล่ อ 22 กับแนวเดิม ลูกสีแดงมีความเร็ว 2.00 m/s จงหา กับทิศทางเดิมของการเคล่ อ ื นท่ีของลูกขาว 2) ความเร็วเร่ิมต้นของลูกสีขาว

22๐ θ

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

32

แกน x

mu  mv1 cos 22o  mv2 cos 

แกน y

0  mv1 sin 22o  mv2 sin  v1 sin 22o  v2 sin  v1 sin   sin 22o v2 3.50  sin 22o 2.00  0.655

  sin 1 0.655  41o www.geocities.com/chanoknan_banglieng

33

u  v1 cos 22o  v2 cos 41o

  3.5   0.927    2.00   0.755   4.75 m / s

www.geocities.com/chanoknan_banglieng

34

Related Documents

Week 5
November 2019 17
Week 5
April 2020 12
Week 5
October 2019 22
Week 5
June 2020 8
Week-5
November 2019 19
Week 5
June 2020 5