Physics I บทที่ 15 คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร บทที่ 14 กฎข้อที่หนึง่ และสองของเทอร์โมไดนามิกส์
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซในอุดมคติ
การแจกแจงความเร็วของโมเลกุล
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซ
“ปริมาณความร้อนที่ต้องใช้ในการทำาให้สสาร 1 โมล มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศา” องศา 1 dQ c n dT dQ ncdT
1. ถ้ากระบวนการเป็นแบบปริมาตรคงที่ จะได้
dQv ncv dT
งานและความร้อน ความร้อน คือ พลังงานที่ถูกส่งผ่านจากระบบหนึ่งไปยังอีกระบบหนึ่ง เมื่อระบบทั้งสองมีอุณหภูมิต่างกัน เมื่อระบบอยู่ในภาวะสมดุล พลังงานทั้งหมดที่อยู่ในระบบคือ พลังงานภายใน
(Internal Energy: U)
งานที่ทำาโดยระบบเมื่อระบบมีการเปลี่ยนปริมาตร เมือ่ แก๊สได้รับความร้อน จะขยายตัวและดันลูกสูบออกเป็นระยะทาง dy จะทำางานได้ W Fs dW Fdy
dW pAdy dW pdV แสดงว่า จะเกิดงานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปริมาตร W ระบบทำางาน (ปริมาตรเพิ่ม) W สิ่งแวดล้อมทำางาน (ปริมาตรลด) ในกระบวนการใดก็ตามที่ปริมาตรคงที่ แสดงว่าไม่มีการทำางานให้กับระบบ (งานเป็นศูนย์)
งานและพลังงาน งานที่ทำาได้จากเส้นทางการทำางานที่ต่างกัน
พื้นที่ใต้กราฟที่ได้จะเท่ากับงานที่ทำาได้
งานขึ้นกับเส้นทางการทำางาน
กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์
“เมื่อให้ความร้ ความร้อนปริมาณ Q แก่ระบบพลังงานบางส่วนจะถูกเก็บไว้ในระบบ โดยทำาให้ระบบมีพลั พลังงานภายในสูงขึ้น พลังงานส่วนที่เหลือ จะถูกส่งผ่านออกจากระบบในรูปของงาน W ที่กระทำาโดยระบบ”
Q U W dQ dU PdV
ตัวอย่างที่ 1 ในกระบวนการหนึง่ ระบบได้รับความร้อนเข้า 8.0 kcal ในขณะที่ระบบทำางาน 6.0 kJ ในระหว่างกระบวนการนี้ พลังงานภายในของระบบจะเปลีย่ นแปลงไปเท่าใด
1 cal 4.184 J
8 kcal 8 4.184 kJ 33.472 kJ
Q U W U Q W U 33.472 6.0 kJ 27.472 kJ
กระบวนการทางเทอร์โมไดนามิกส์ กระบวนการที่สำาคัญทางเทอร์โมไดนามิกมี 4 กระบวนการด้วยกัน คือ •
กระบวนการวัฏจักร (cyclic process)
Q W
•
กระบวนการความร้อนคงที่ (adiabatic process) U W
•
กระบวนการปริมาตรคงที่ (Isochoric process)
• •
U Q
กระบวนการความดันคงที่ (Isobaric process) W p V2 V1
V 2 กระบวนการอุณหภูมิคงที่ (Isothermal process) W nRT ln V1
ตัวอย่างที่ 2 จงหางานที่ทำาโดยก๊าซอุดมคติ เมือ่ ก๊าซขยายตัวที่อุณหภูมคิ งตัวจากปริมาตรเดิม 3.00 ลิตร ที่ 20.0 atm จนมีปริมาตร 24 ลิตร 3
1 lit 1 10 m
3
PV nRT V2 V2 W nRT ln PV ln V1 V1 24 W 20.0 10 Pa 3 10 m ln 3
5
3
124.76 102 12476 J
3
กระบวนการความร้อนคงที่สำาหรับก๊าซในอุดมคติ 1 1
PV PV 2 2
1 1 1
1
TV
T2V
1
T1 P1
1
T2 P2
PV 2 2 PV 1 1 W 1
ตัวอย่างที่ 3 ในกระบวนการที่กา๊ ซในอุดมคติขยายตัวอย่างช้าๆ จนมีปริมาตรเป็น 2 เท่าของปริมาตรเริ่มต้น พบว่าก๊าซทำางาน 500 J จงหาความร้อนที่กา๊ ซได้รับ และการเปลี่ยนของพลังงานภายในสำาหรับกรณี 1) กระบวนการอุณหภูมิคงที่ (isothermal) 2) กระบวนการความร้อนคงที่ (adiabatic)
ตัวอย่างที่ 4 ในตอนเริ่มต้นก๊าซอุดมคติชนิดอะตอมเดียวจำานวน 2 โมล บรรจุอยู่ในกระบอก โดยมีความดัน 1×106 Pa และอุณหภูมิ 300 K ต่อมาก๊าซนีข้ ยายตัวจนมีปริมาตรเป็น 2 เท่าของปริมาตรเดิม จงหา 1) งานที่ทำาโดยก๊าซถ้ากระบวนการของการขยายตัวเป็นแบบ Isothermal 2) งานที่ทำาโดยก๊าซถ้ากระบวนการของการขยายตัวเป็นแบบ Adiabatic 3) งานที่ทำาโดยก๊าซถ้ากระบวนการของการขยายตัวเป็นแบบ Isobaric
เครื่องจักรความร้อน แหล่งจ่ายความร้อนอุณหภู มิสูง; TH
องค์ประกอบข องเครือ่ งจักรค วามร้อน
QH W = QH + QC = QH - QC
QC แหล่งรับความร้อนอุณหภูมิตำ่า; TC
กฎข้อที่ 2 ของเทอร์โมไดนามิกส์ “ประสิทธิภาพของเครือ่ งจักรความร้อนมีค่าน้อยกว่าห นึง่ เสมอ” เสมอ “ไม่มเี ครื่องจักรความร้อนใดที่สามารถเปลี่ยนพลังงานค วามร้อนที่ได้รับเป็นงานทั้งหมด”
Carnot Cycle
เครื่องจักรความเย็น
Q QH QC
เอนโทรปี (Entropy, S) dQ S S 2 S1 T
กระบวนการผันกลับได้ (Reversible Process) กระบวนการผันกลับไม่ได้ (Irreversible Process) “กระบวนการที่สามารถเกิดขึ้นได้ในธรรมชาติจะเกิดในทิศทางที่ทำาใ ห้เอนโทรปีรวมของระบบและสิ่งแวดล้อมมีค่าเพิ่มขึ้น”