The Disappearance Of Persons Is The Disappearance Of Justice

  • Uploaded by: niw wong
  • 0
  • 0
  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View The Disappearance Of Persons Is The Disappearance Of Justice as PDF for free.

More details

  • Words: 4,669
  • Pages: 74
คือ

ของความยุติธรรม

ยุติธรรมเพื่อสันติภาพ Working Group on

Justice for Peace รวมรณรงคใหประเทศไทยรับรอง อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวย การคุมครองมิใหบุคคลถูกบังคับใหสูญหาย ขององคการสหประชาชาติ พ.ศ. 2549

การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

(The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice)

รวมรณรงคใหประเทศไทยรับรอง อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวย การคุมครองมิใหบุคคลถูกบังคับใหสูญหาย ขององคการสหประชาชาติ พ.ศ. 2549

การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม พิมพครั้งที่ 3 (ฉบับปรับปรุง) สิงหาคม 2551 จำนวน 5,000 เลม เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ 978-974-224-997-7 ราคา 50 บาท แปลอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการคุมครอง มิใหบุคคลถูกบังคับใหสูญหาย โดย สมชาย หอมลออ ประธานมูลนิธิผสานวัฒนธรรม จัดพิมพโดย คณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ (Working Group on Justice for Peace) สำนักงานกรุงเทพฯ 24/158 ซอยลาดพราว 21 ถนนลาดพราว แขวงลาดพราว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 อีเมล: [email protected] สำนักงานปตตานี 22/186 ถนนหนองจิก ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปตตานี 94000 โทรศัพท / โทรสาร : 073-331254 มือถือ : 086-3321247 อีเมล: [email protected] พิมพที่ บริษัท แปลนพริ้นติ้ง จำกัด 346 ซอยไสวสุวรรณ ถนนประชาราษฎร 1 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 โทรศัพท 02-5871377 รายไดจากการจำหนาย สมทบใหแกงานรณรงค วาดวยการคุมครองมิใหบุคคลถูกบังคับใหสูญหาย เผยแพรภายใตสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส ประเภทแสดงที่มาและไมใชเพื่อการคา 3.0 http://creativecommons.org/licenses/by-nc/3.0/

บทนำ การบังคับใหบุคคลตองสูญหายถือเปนอาชญากรรมที่รายแรง ที่สุดที่คุกคามมนุษยชาติ ในแตละป ประเทศตางๆ ทั่วโลกมีจำนวน คนหายเพิ่มมากขึ้น ในภูมิภาคเอเชียใต สถานการณการบังคับให บุคคลตองสูญหายมีความรุนแรงมาก สวนใหญเกี่ยวของกับเหตุการณ ทางการเมือง การจลาจล การปราบปรามของเจาหนาที่รัฐ การจับ กุมควบคุมตัวโดยมิชอบ และการซอมทรมาน ภูมิภาคเอเชียใต มีประวัติศาสตรอันยาวนานในการควบคุม ตัวประชาชนโดยมิชอบ ในชวงทศวรรษที่ผานมา ปรากฏคนหายนับ หมื่นคน โดยเฉพาะในประเทศศรีลังกาและเนปาล ในประเทศเนปาล เชื่อวากลุมนักตอสูเพื่อลัทธิเหมาไดถูกทำใหหายตัวไปเปนจำนวน มากในชวงระยะเวลา 10 ปที่ผานมาของความขัดแยงทางการเมือง ไมตางจากในอินโดนีเซีย ฟลิปปนส หรือแคชเมียรที่ความขัดแยงทาง การเมืองนำมาสูการบังคับใหหายสาบสูญของผูคนเปนจำนวนมาก ในประเทศไทย มีการพบศพนิรนามมากขึ้นในแตละป แตยัง คงไมมีหนวยงานใดจะเปนผูรับผิดชอบคนหาความเปนธรรมใหแก พวกเขา ศพนิรนามเหลานี้เปนสวนหนึ่งของผูสูญหาย ขณะเดียวกัน ก็ยังมีบุคคลอีกมากมายที่ถูกบังคับใหหายไปในทามกลางสถานการณ ความขัดแยงและความรุนแรงจากการกระทำของเจาหนาที่รัฐ การ บังคับใหบุคคลตองเปนผูสูญหายนั้น ถือเปนความพยายามที่จะปก ปดขอเท็จจริง และทำลายพยานหลักฐาน ซึ่งนำมาสูการทำลายศพ เพื่อที่ผูกระทำความผิดจะไดไมตองรับผิดชอบตอการกออาชญากรรม ของตน และผูที่สามารถกระทำเชนนี้ได ตองเปนผูที่มีอำนาจ มี อิทธิพล และมีจิตใจที่โหดเหี้ยมทารุณเทานั้น

หลักสิทธิมนุษยชนเคารพในศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยภายใต ความเชื่อที่วา มนุษยทุกคนตางเกิดมาเทาเทียมกัน ไมวาคนๆ นั้น จะเปนใครก็ตาม เขาก็ยังเปนมนุษย ยอมมีเกียรติ มีศักดิ์ศรีในฐานะ ที่คนๆ หนึ่งจะพึงมี และจะตองไมถูกทำใหสูญหาย โดยปราศจาก การคนหาหรือการแสดงความรับผิดชอบจากรัฐ โดยเฉพาะเมื่อเปน การกระทำของเจาหนาที่รัฐแลว รัฐบาลจำเปนตองออกมาแสดงความ รับผิดชอบ (Accountability) ตองตระหนักถึงความจริงที่วาการ กระทำอาชญากรรมใดๆ นอกกฎหมาย ไมใชแนวทางของการแกไข ปญหา แตกลับเปนการขยายขอบเขตการกออาชญากรรมที่เลวราย รุนแรงมากขึ้นไปอีก การสรางสังคมประชาธิปไตยที่เชื่อมั่นในอำนาจ ของประชาชน เชื่อมั่นในหลักนิติธรรม (The Rule of Law) และระบบ นิติรัฐ (Legal State) จะถูกทำลายลง หากเจาหนาที่รัฐยังกุมอำนาจ เบ็ดเสร็จใน “การอุมฆา” และทำลายพยานหลักฐานโดยไมมีความ เกรงกลัวตอกระบวนการยุติธรรม ในชวง 2-3 ปที่ผานมา แมสังคมไทยจะมีการพูดถึงความ สมานฉันทมากขึ้น แตการสมานฉันทก็มิไดหมายถึงเพียงการกลาว คำ “ขอโทษ” แตหากตองหมายถึงการนำกฎหมายและหลักนิติ ธรรมกลับคืนสูแนวทางที่ปฏิบัติไดจริง การใชอำนาจบริหารและ อำนาจนิติบัญญัติตองตรวจสอบไดโดยอำนาจตุลาการ รัฐตองไมใช อำนาจอันมิชอบในการกลั่นแกลงคนดี ขณะเดียวกันก็ตองไมละเวน การลงโทษผูกระทำความผิด แมผูกระทำความผิดนั้นจะเปนเจาหนาที่ รัฐเอง และความยุติธรรมตองหมายถึงความไมลาชา เพราะความ ยุติธรรมที่ลาชาก็คือความอยุติธรรม การบังคับใหบุคคลตองสูญหายถือเปนความรุนแรงเชิงโครง สรางของสังคม ผลกระทบที่เกิดขึ้น นอกจากตอเหยื่อผูเคราะหราย เองแลว ยังกระทบตอครอบครัวของเขาอีกดวย ความเจ็บปวดตอการ ไมรูถึงชะตากรรมของคนซึ่งเปนที่รัก สรางความเสียหายและกระทบ

กระเทือนทางจิตใจมากกวาความตาย ญาติของผูสูญหายตองพบกับ ความลาชาในการติดตามหาตัวผูสูญหาย และยังตองเผชิญกับการ ถูกขมขูคุกคามในรูปแบบตางๆ ผูหญิงที่สามีถูกทำใหหายไป ตอง ถูกตัดสิทธิทางกฎหมายหลายประการ ทั้งสิทธิในการปกครองบุตร ที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ สิทธิในการรับมรดก และสิทธิในการจัดการ ทรัพยสินสวนตน สิ่งที่เกิดขึ้นจึงเปนความเสียหายทั้งทางรางกายและ จิตใจอยางไมอาจประเมินได ในประเทศไทยมีเหตุการณการบังคับใหบุคคลตองสูญหายเกิด ขึ้นมากมาย ไมวาจะเปนกรณีคุณทนง โพธิอาน อดีตผูนำสหภาพ แรงงาน หรือในเหตุการณโศกนาฏกรรมการละเมิดสิทธิมนุษยชน ครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้น ไมวาจะเปนกรณีเหตุการณ 14 ตุลา 6 ตุลา กรณีพฤษภาทมิฬ หรือกรณีตากใบ รวมทั้งเหตุการณความรุนแรงทาง ภาคใตที่ลุกลามขึ้นจนยากที่จะควบคุมไดในวันนี้ สาเหตุหนึ่งก็มาจาก นโยบายการใชความรุนแรงและอำนาจที่เกินขอบเขตของเจาหนาที่รัฐ สิ่งตางๆ เหลานี้สรางความเคียดแคนชิงชังใหเกิดขึ้นในหมูประชาชน กอใหเกิดอารยะขัดขืน (Civil Disobedience) และการตอตานอำนาจ รัฐ จากการรวบรวมขอมูลของภาคประชาสังคม เชื่อวาในระหวางป 2545 - 2548 จำนวนคนหายในสามจังหวัดชายแดนภาคใตนาจะมี มากถึง 200 คน สอดคลองกับจำนวนของศพนิรนามที่มีอยูตามสุสาน ตางๆ ทั่วไปในสามจังหวัดชายแดนภาคใต อยางไรก็ดี สิ่งซึ่งเปนปญหาสำคัญ คือ การคนหาความจริง และการเขาถึงกระบวนการยุติธรรมของครอบครัวคนหาย ทั้งนี้ เพราะ ขาดซึ่งพยานหลักฐานและความไมจริงใจของภาครัฐเองในการติด ตามหาตัวผูสูญหาย กรณีการถูกบังคับใหหายตัวไปของคุณสมชาย นีละไพจิตร นับเปนคดีแรกที่การบังคับใหบุคคลตองสูญหายไดถูกนำขึ้นสูศาล แมฐานความผิดจะมิใชการฆาตกรรมหรือการทำใหสูญหาย แตอยาง

นอยที่สุดศาลชั้นตนก็มีคำพิพากษาวา มีเจาหนาที่ตำรวจ 1 นายกับ พวกอีก 3-5 คน ผลักคุณสมชายขึ้นรถที่กลุมบุคคลเหลานั้นเตรียมมา แลวคุณสมชายก็หายตัวไป คำตัดสินของศาลชั้นตนบอกไดเพียงเทานั้น เพราะยังไมมีคำวา “อุมหาย” หรือ “อุมฆา” ในกฎหมายอาญาของ ประเทศไทย ในขณะเดียวกัน คณะทำงานดานการบังคับใหบุคคล สูญหายโดยไมสมัครใจของสหประชาชาติ (UN Working Group on Enforced or Involuntary Dissappearances : UN WGEID) ไดรับคดี การบังคับสูญหายของคุณสมชายเปนคดีคนหายของสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2548 อีกทั้งคณะทำงานชุดนี้ยังไดรับคดีคน หายในภาคใตอีก 11 คดี เปนคดีคนหายอีกดวย คดีการบังคับใหหายไปของคุณสมชาย นับเปนความรวมมือ กันของภาคประชาสังคมทั้งในและตางประเทศ ที่มุงมั่นแสวงหาความ เปนธรรม และทำความจริงใหปรากฏ ทั้งนี้ เพื่อปองกันมิใหเหตุการณ เชนนี้เกิดขึ้นซ้ำแลวซ้ำอีก โดยไมสามารถนำตัวผูกระทำผิดมาลงโทษ ตามกระบวนการยุติธรรม และไมมีผูใดตองแสดงความรับผิดชอบ อีกทั้งเพื่อมุงหวังใหกระบวนการยุติธรรมเองไดทบทวนองคความรู และกระบวนการในการที่จะเปนสถาบันที่ทรงไวซึ่งความยุติธรรมและ เปนที่พึ่งของประชาชนไดอยางแทจริง โดยเฉพาะอยางยิ่ง พนักงาน สอบสวนซึ่งเปนตนทางของกระบวนการยุติธรรม จึงจำเปนอยางยิ่ง ที่จะตองมีจิตใจที่เที่ยงธรรม และยึดมั่นในหลักนิติธรรมอยางเครงครัด ทั้งนี้ เพื่อนำพาไปสูการสราง “นิติรัฐ” หรือรัฐที่ปกครองโดยกฎหมาย ใหเกิดขึ้นไดจริงในสังคมไทย ในโอกาสวันคนหายสากล 30 สิงหาคม 2551 คณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแหงชาติ กรมคุมครองสิทธิเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม สหพันธคนหายแหงเอเชีย (Asian Federation Against Involuntary Disappearances - AFAD) องคการสันติวิธีสากล (Nonviolence International) คณะกรรมการญาติพฤษภา 2535 สมาคมวัฒนธรรมลาหู

เครือขายญาติผูสูญหายในประเทศไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยา เขตวังทาพระ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และคณะ ทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ จึงถือโอกาสนี้รวมรณรงคใหรัฐบาล ไทย และรัฐบาลในประเทศตางๆ โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย รวม ลงนามในสัตยาบัน “อนุสัญญาระหวางประเทศ เรื่องการปองกันการ บังคับใหบุคคลหายไป” (International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance) ของสหประชาชาติ เพื่อเปนการคุมครองสิทธิเสรีภาพ คุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษย และเพื่อยุติการบังคับใหบุคคลตองหายไป ซึ่งอนุสัญญาฉบับนี้เปน อนุสัญญาที่ใชระยะเวลารางนานที่สุดขององคการสหประชาชาติ แต ใชเวลาสั้นที่สุดในการรับราง ทายนี้ ดิฉันขอเปนกำลังใจใหญาติผูสูญหายทุกคนที่ยังคงตอสู เพื่อคนหาความจริงและความเปนธรรม ทามกลางความรุนแรงและ การขมขูคุกคาม ดิฉันเชื่อวาบาดแผลที่อยูในใจของทุกคนแมจะมอง ไมเห็น จับตองไมได แตรอยแผลนี้จะบอกเลาเรื่องราวความขมขื่น ความเจ็บปวด และความไมเปนธรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นไดเปนอยางดี และเพราะรอยแผลนี้เอง การตอสูเพื่อความเปนธรรมจึงยังคงอยู ดิฉันเชื่อวา ทามกลางประสบการณที่พายแพและเจ็บปวด ยังมีมิตร ภาพที่ถักทอขึ้นจากผูคนรวมสังคม รวมทั้งน้ำใจไมตรี และความอาทร ซึ่งยังคงอยูและมิอาจลบเลือนลงไดดวยกาลเวลา และตองขอคารวะ ตอครอบครัวของบรรดาผูสูญหายทุกคนในความกลาหาญและเสียสละ จนสามารถนำประเด็นการสูญหายของบุคคลใหเปนที่รับรูในระดับ สากล และนำพาไปสูความพยายามที่จะหยุดยั้งอาชญากรรม และ การละเมิดสิทธิมนุษยชน ขอขอบคุณคณะทำงานดานการบังคับใหบุคคลสูญหายโดย ไมสมัครใจของสหประชาชาติ (UN Working Group on Enforced or Involuntary Dissapearences : UN WGEID) สหพันธคนหายแหง

เอเชีย (Asian Federation Against Involuntary Disappearances - AFAD) องคการสันติวิธีสากล (Nonviolence International) และ องคสิทธิมนุษยชนอื่นๆ ทั้งในและตางประเทศ ที่รวมกันพิสูจนให เห็นวา การตอสูเพื่อความยุติธรรมนั้นไมมีพรมแดน ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร ที่ใหโอกาสตนไมเพื่อรำลึก ถึงผูสูญหายในประเทศไทยไดเติบใหญยืนตนตระหงาน ณ ลานปรีดี หันหนาสูลำน้ำเจาพระยา และฝงรากลึกในผืนแผนดินที่ทุกตาราง นิ้วคือเสรีภาพ ในนามของครอบครัวผูสูญหาย ดิฉันขอฝากคำถามไปยังผูที่มี โอกาสไดพบรางของบรรดาผูที่ถูกบังคับใหตองสูญหาย หรือบรรดาผู เกี่ยวของกับการสูญหาย ดวยบทกวี DEATH ของ Harold Pinter เจา ของรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำป 2548 ในบทสุดทายที่วา… Did you wash the dead body คุณไดอาบน้ำใหศพนั้นไหม Did you close both its eyes ไดปดเปลือกตาทั้งสองขางของเขาลง Did you bury the body แลวฝงกลบรางนั้น Did you leave it abandoned หรือคุณเพียงแตละทิ้งเขาไว Did you kiss the dead body แลวคุณไดจูบลาเขาแทนฉันหรือเปลา

ดิฉันหวังวาศรัทธาในความดีงามที่มีอยูในหัวใจของเราทุกคน จะทำใหความจริงปรากฏในที่สุด ดวยความเชื่อมั่นในศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย อังคณา นีละไพจิตร คณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ กรุงเทพฯ 30 สิงหาคม 2551

สารบัญ ประเทศไทยตองสรางความมุงมั่นทางการเมือง ดานสิทธิมนุษยชน ดวยการลงนามและรับรอง ในอนุสัญญาวาดวยการคุมครอมิใหบุคคลถูก บังคับใหสูญหาย Mary Aileen D. Bacaiso

11

ไมเคยลืมเลือนผูสูญหาย Diana Sarosi

13

บทนำวาดวยอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวย การคุมครองบุคคลมิใหถูกบังคับใหสูญหาย สหพันธตอตานการบังคับใหสูญหายแหงเอเชีย

19

อนุสัญญาวาดวยการคุมครองบุคคลทุกคน จากการถูกบังคับใหหายสาบสูญ

33

เมื่อพอ… ถูกบังคับใหหายไป สุดปรารถนา นีละไพจิตร

63

คณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ

71

“ประเทศไทยตองสรางความมุงมั่น ทางการเมืองดานสิทธิมนุษยชน ดวยการลงนามและรับรอง ในอนุสัญญาวาดวยการคุมครอง มิใหบุคคลถูกบังคับใหสูญหาย” Mary Aileen D. Bacaiso เลขานุการสหพันธเอเชียตอตานการบังคับใหบุคคลสูญหาย

(Asian Federation Against Involuntary Disappearances-AFAD)

ธันวาคม 2550

การรับรองอนุสัญญาวาดวยการคุมครองมิใหบุคคลถูกบังคับ ใหสูญหาย เปนชัยชนะที่ยิ่งใหญของครอบครัวบุคคลสูญหายในประเทศ ลาตินอเมริกาและทั่วโลก ภาคประชาสังคมนานาชาติไดรับผลจาก การทำงานอยางไมเหน็ดเหนื่อยของครอบครัวบุคคลสูญหายชาวลาติน อเมริกาที่ใชเวลากวา 25 ปตั้งแตการกอตั้ง FEDEFAM สหพันธคน หายทวีปอเมริกาใต (ลาตินอเมริกา) โครงการนี้เริ่มตนเคาะประตู ขอนัดพบเจาหนาที่รัฐทั้งในประเทศและระหวางประเทศ โดยเฉพาะ อยางยิ่ง ในองคการสหประชาชาติ เพื่อสงเสียงเรียกรองความเปนธรรม ที่ทุกคนตองรับฟง โดยรณรงคใหการคุมครองมิใหบุคคลถูกบังคับ ใหบุคคลสูญหายเปนที่ยอมรับกันในทางสากล และสงผลใหไดรับการ สนับสนุนจากองคกรสิทธิมนุษยชน รวมทั้งองคกรและครอบครัวของ บุคคลสูญหายทั่วโลก ซึ่งใชเวลา 25 ปจนกวาที่อนุสัญญาระหวางประเทศ ฉบับนี้ไดรับการรับรอง วากันวาอนุสัญญาฉบับนี้เปนฉบับที่มีระยะเวลาในการรางนานที่สุด แตมีการผลักดันใหมีการรับรองเร็วที่สุดในประวัติศาสตรขององคการสห The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 11

ประชาชาติเองที่กำลังจะตองจัดตั้งใหมีคณะทำงานติดตามอยางเปน อิสระอันเกิดจากอนุสัญญาฉบับนี้ เสียงเรียกรองเหลานี้ไมไดมีเพียง แตเสียงครอบครัวบุคคลสูญหายเทานั้นองคกรดานกฎหมายสิทธิ มนุษยชนตางๆ ไดใหความสำคัญและใหขอเสนอแนะเรื่องทางกฎ หมายสากลกรณีบุคคลสูญหายตลอดมา เชน องคกรแอมเนสตี้ อินเตอร เนชั่นแนล ฮิวแมนไรท วอทช คณะกรรมการนิติศาสตรสากล สภากาชาด สากล และอื่นๆ อีกมากมาย อนุสัญญาวาดวยการคุมครองมิใหบุคคลถูกบังคับใหสูญหาย จะมีผลบังคับใช ถามีรัฐภาคีจำนวน 20 ประเทศรับรอง ในประเทศ เอเชียที่มีกรณีบุคคลสูญหายมาก การรับรองอนุสัญญาฯ ฉบับนี้มี ความสำคัญมากเพื่อสรางใหเกิดกลไกในการคุมครองบุคคลสูญหาย เชน การกำหนดใหกรณีการบังคับใหบุคคลสูญหายเปนความผิดตาม กฎหมายอาญาในประเทศเอเชียนั้นๆ และทำใหมีผลบังคับใหมีการ นำคนผิดมาลงโทษทางอาญาได ประเทศไทยเปนรัฐสมาชิกขององคการสหประชาชาติและมี ประวัติดานสิทธิมนุษยชนที่ถดถอยลง ซึ่งถึงเวลาที่รัฐบาลจะตองสราง ความมั่นใจในการแกไขปญหาดานสิทธิมนุษยชนทั้งในอดีตและ ปจจุบันรวมทั้งปองกันไมใหเกิดขึ้นในอนาคต ประเทศไทยสามารถ สรางความมุงมั่นทางการเมืองดานสิทธิมนุษยชนขึ้นไดดวยการลงนาม และรับรองในอนุสัญญาสำคัญฉบับนี้ การลงนามและรับรองอนุสัญญาฉบับนี้ทำใหรัฐบาลไทยตอง ปรับแกกฎหมายอาญาในประเทศ โดยกำหนดใหการบังคับใหบุคคล สูญหายเปนความผิดทางอาญา พรอมๆกับความมุงมั่นทางการเมือง ในการแกไขปญหาทางดานการละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยเคารพทั้ง ตอหลักกฎหมายสากลและกฎหมายในประเทศ

12 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

“ไมเคยลืมเลือนผูสูญหาย” Diana Sarosi สิงหาคม 2551

Nonviolence International Southeast Asia

“การสูญหาย” คือการหายตัวไป ไมปรากฏตัว สาบสูญ แต “ผูสูญหาย” ไมมีทางที่จะหายไปเฉยๆ ตองมีใครสักคนที่รูวาเกิดอะไร ขึ้นกับพวกเขาและพวกเขาอยูที่ใด และตองมีใครสักคนรับผิดชอบ อาชญากรรมการบังคับใหสูญหายเริ่มขึ้นตั้งแตเมื่อปลายทศวรรษ 1960 และตนทศวรรษ 1970 ในอเมริกาใต องคกรพัฒนาเอกชนที่นั่น บัญญัติคำวา “การบังคับใหสูญหาย” เพื่ออธิบายถึงเทคนิคของการ ปราบปรามฝายตอตานในสังคม ซึ่งรัฐบาลของประเทศในภูมิภาคนั้น นำวิธีการนี้มาใชอยางเปนระบบ ในชวงไมกี่ทศวรรษที่ผานมา รัฐบาล ประเทศตางๆ ทั่วโลกนำยุทธวิธีอันนาสะพรึงกลัวเชนนี้มาใชเพื่อปราบ ปรามฝายตอตาน หยุดยั้งการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง หรือนำมา ใชในระหวางเกิดสงครามความขัดแยงในประเทศ อาชญากรรมตอ มนุษยชาติเชนนี้ กอใหเกิดบรรยากาศแหงความหวาดกลัวปกคลุมไปทั่ว การบังคับใหสูญหายแตละครั้งนำไปสูการละเมิดสิทธิมนุษยชน หลายดาน อาทิ สิทธิที่จะมีความมั่นคงและศักดิ์ศรีในฐานะมนุษย สิทธิที่จะไมถูกทรมานหรือถูกกระทำดวยการปฏิบัติที่โหดรายผิดมนุษย The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 13

หรือลดทอนความเปนมนุษยหรือการลงโทษอยางอื่น สิทธิที่จะอยูใต การคุมขังในสภาพที่มีมนุษยธรรม สิทธิในฐานะบุคคลตามกฎหมาย และสิทธิที่จะไดรับการไตสวนอยางเปนธรรมและมีชีวิตครอบครัว สุดทายแลว ยังเปนการละเมิดสิทธิที่จะมีชีวิตอยู ครอบครัวของผูสูญหายทั่วโลกตองตอสูกับการปลอยใหผูกระทำ ผิดลอยนวลเปนเวลาหลายทศวรรษ พวกเขาเตือนใหพวกเรารับทราบ ถึงชะตากรรมของญาติพี่นองผูสูญหายของพวกเรา เรียกรองขอคำตอบ และทำงานเพื่อปองกันไมใหเกิดการบังคับสูญหายอีกในอนาคต ในวันที่ 29 กุมภาพันธ 2523 มีการกอตั้งคณะทำงานดานการ บังคับใหสูญหายโดยไมสมัครใจ (Working Group on Enforced or Involuntary Disappearances - UN WGEID) เพื่อชวยเหลือครอบครัว ของผูสูญหายในการติดตามคนหาความจริงและความยุติธรรม ถือ เปนกลไกหลักดานสิทธิมนุษยชนขององคการสหประชาชาติ กลไก แรกมีอำนาจหนาที่ปฏิบัติงานทั่วโลก และนับแตกอตั้ง มีการรายงาน ผูสูญหายมากกวา 50,000 กรณีจาก 90 ประเทศ ใหกับคณะทำงาน ในชวง 5 ปที่ผานมา UN WGEID สามารถใหขอมูลเพื่อความกระจาง กับ 2,791 กรณีของผูสูญหาย ตามรายงานป 2550 ของ UN WGEID ระบุวา ไดรับรายงาน กรณีผูสูญหายรายลาสุดจากคณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ จำนวน 12 กรณี ซึ่งนั่นยอมทำใหจำนวนกรณีการบังคับสูญหายในประเทศ ไทยพุงสูงขึ้นอยางเห็นไดชัด และทำใหปจจุบัน กรณีผูสูญหายใน ประเทศไทย ที่ทางคณะทำงานฯ รับรองเรียนมีจำนวนสูงถึง 48 กรณี ทั้งนี้ ในจำนวน 12 กรณีของป 2550 ลวนเกิดขึ้นในพื้นที่สามจังหวัด ชายแดนภาคใต อันไดแก ปตตานี ยะลา และนราธิวาส และในจำนวน 48 กรณีนั้น ประกอบดวย 33 กรณีเกิดขึ้นในชวงป 2535 ซึ่งเปนชวง ที่เจาหนาที่ฝายความมั่นคงใชกำลังปราบปรามผูประทวงที่กรุงเทพฯ อีกกรณีหนึ่งเกี่ยวของกับการสูญหาย 14 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

ของประธานสหภาพแรงงานแหงประเทศไทย ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อป 2534 รวมถึง 4 กรณีบุคคลสูญหายเกิดขึ้นที่จังหวัดนราธิวาสในชวงป 2547 และกรณีการสูญหายของทนายสมชาย นีละไพจิตร ในป 2550 คณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ ไดรับเรื่องรองเรียน เรื่องการสูญหาย 9 กรณีจากภาคใตของไทย ซึ่งเปนครั้งแรกที่รัฐบาล ไทยตองเขาพบเพื่อตอบขอกลาวหากับทาง UN WGEID และเพื่อถก แถลงเกี่ยวกับความคืบหนาในการสะสางกรณีสำคัญตางๆ การติดตอระหวางภาคประชาสังคมและคณะทำงานฯ เนนชัด วา ลำพังเพียงการจายเงินชดเชยใหแกญาติ ไมสามารถกลาวไดวา เพียงพอตอการพิจารณาวากรณีดังกลาวไดรับการชำระสะสางแลว ซึ่งรัฐบาลไทยมักจะตอบสนองตอการทำใหบุคคลสูญหายเพียงแคการ จายคาชดเชยเพื่อลดทอนความพยายามในการติดตามคดีของครอบครัว ผูสูญหายอยางที่รัฐบาลไดพยายามทำอยูในกรณีการสูญหายใน จังหวัดชายแดนภาคใตของไทย อยางไรก็ตาม การจะถือวากรณีหนึ่งๆ ไดรับการชำระสะสาง แลว ยอมกลาวไดตอเมื่อมีการระบุอยางชัดเจนแลวเทานั้นวาผูสูญหาย อยูที่ใด โดยการสืบสวนอยางโปรงใสของเจาหนาที่ของรัฐ หรือไดรับ การตรวจสอบจากองคกรอิสระนอกภาครัฐ หรือเปนการคนหาพบโดย ครอบครัวผูสูญหายเทานั้น นอกจากนี้ การ “ปด” คดียอมเกิดขึ้น ได ก็ตอเมื่อมีการประกาศอยางเปนทางการ โดยไดรับการรับรองจาก ญาติผูสูญหาย และฝายอื่นๆ ที่เฝาติดตามกรณีดังกลาวมาโดยตลอด วาเปนบุคคลคนสูญหาย และนาเชื่อวาเสียชีวิตแลว ขอคนพบสำคัญจากรายงานของคณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ ชี้ชัดวารัฐบาลประเทศตางๆ อางอิงถึงกิจกรรมตอตานการกอการราย เพื่อหลบเลี่ยงการปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีตอปฏิญญาวาดวยการคุม ครองมิใหบุคคลสูญหายมากขึ้น โดยจะพบวาเหตุการณที่เกิดขึ้นใน จังหวัดชายแดนภาคใตสามารถยืนยันขอกลาวอางดังกลาวไดอยางดี The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 15

นอกจากนี้ ในจำนวนกรณีบุคคลสูญหายทั้งหมด ยังพบวาฝายความ มั่นคง อันไดแก กองทัพ เปนผูตองรับผิดชอบตอการสูญหาย รวมถึง การทำใหสูญหายโดยการควบคุมตัวบุคคลไปไวยังสถานที่กักกันชั่ว คราวดวย ทั้งนี้ โดยทั่วไปในจังหวัดชายแดนภาคใตของไทย มักเกิด การจับกุมตัวผูตองสงสัยวาเปนผูกอความไมสงบ มากักไวในคายกัก กันกลางในชวง 2-3 วันแรก ซึ่งจะเปนชวงที่มักไดรับการรองเรียน อยูเสมอวามีการทรมานผูตองสงสัยในชวงเวลาดังกลาว และบอย ครั้งที่ครอบครัวของบุคคลเหลานั้น ไมไดรับแจงถึงสถานที่อยูของ ผูถูกจับกุม อีกทั้งในรายงานฉบับดังกลาวยังระบุดวยวา เฉพาะในป 2550 พบวาผูสูญหายมักหายภายหลังจากการเขาควบคุมตัว หรืออยูใน ความคุมครองของเจาหนาที่ฝายความมั่นคง ดวยเหตุนี้ ทางคณะ ทำงานฯ จึงรูสึกกังวลอยางยิ่งเกี่ยวกับความเปนอิสระ และความ โปรงใส ในการดำเนินการสอบสวนเจาหนาที่ที่มีสวนเกี่ยวของกับ ทางกองทัพ สุดทาย ทางคณะทำงานฯ ยังไดแสดงความกังวลอยางสุดซึ้ง เกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของรายงานผูสูญหายในปที่ผานมา ซึ่งรวมทั้ง การสูญหายของผูทำงานดานสิทธิมนุษยชนและการกระทำเพื่อขมขู คุกคามหรือตอบโตกับผูทำงานดานสิทธิมนุษยชน พยาน ทนายความ และญาติของผูสูญหายที่พยายามสืบหาขอมูลเกี่ยวกับชะตากรรมและ ที่อยูของผูสูญหาย สิ่งเหลานี้เกิดขึ้นแลวในประเทศไทย ทั้งการสูญ หายอยางตอเนื่อง และครอบครัวผูสูญหายก็ยังคงถูกขมขูคุกคาม อยูตอไป อันเนื่องมาจากการที่พวกเขาตองการคนหาความจริงเกี่ยว กับการสูญหายของบุคคลอันเปนที่รัก ในกรณีของสามจังหวัดชาย แดนภาคใต ครอบครัวผูสูญหายยังคงรายงานถึงสภาวะการถูกขมขู คุกคามจากผูกระทำผิดซึ่งมักจะมีสถานที่ทำงานอยูไมหางจากบาน ของพวกเขานัก 16 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

วันที่ 30 สิงหาคม เปนวันผูสูญหายสากลที่มีการจัดกิจกรรม ทั่วโลก เปนวันที่ครอบครัวของผูสูญหายจะมารวมตัวกันเพื่อรำลึกถึง บุคคลอันเปนที่รักของตน เรียกรองใหรัฐบาลดำเนินการสืบสวน กรณีเหลานั้นและแสดงความมุงมั่นในการปกปองพลเมืองของรัฐ ประเทศไทยก็เชนกัน เมื่อป2550 นับเปนปแรกเริ่มของกิจกรรม เหลานี้ในประเทศไทยดวยการปลูกตนไมเนื่องในวันผูสูญหายสากล และในปนี้ (2551) นับเปนกาวสำคัญของครอบครัวผูสูญหาย ในการตอกย้ำความตองการของตนอีกครั้ง เพราะเมื่อเวลาแตละป ผานไปอยางรวดเร็ว หากแตความยุติธรรมยังคงเดินทางอยางเชื่องชา พวกเขาจะยิ่งเขมแข็งและรวมตัวเปนหนึ่งเดียวดวยความมุงมั่นและ กลาหาญ รวมเดินทางไปดวยกันอยางไมยอทอเพื่อเฝาทวงถามคำตอบ จากรัฐบาล และทำใหผูกระทำผิดตองรับผิดชอบตอการกระทำของ ตนในที่สุด

The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 17

บทนำ อนุสัญญาระหวางประเทศ วาดวยการคุมครองบุคคลมิใหถูกบังคับใหสูญหาย United Nations for the Protection of All Persons from Enforced Dissappearance สหพันธตอตานการบังคับใหสูญหายแหงเอเชีย

(Asian Federation Against Involuntary Dissapearance)

การบังคับใหสูญหายคืออะไร จากเนื้อหาในรางฉบับสุดทายของอนุสัญญาระหวางประเทศ วาดวยการคุมครองมิใหบุคคลถูกบังคับใหสูญหาย “การบังคับใหสูญ หาย” หมายถึงการจับกุม คุมขัง ลักพา หรือการกระทำอื่นใดที่เปน การจำกัดอิสรภาพ ทั้งนี้ โดยเปนการกระทำของหนวยงานของรัฐก็ดี หรือบุคคล หรือกลุมบุคคลซึ่งทำงานตามที่ไดรับมอบหมาย ไดรับ ความสนับสนุนหรือไดรับความเห็นชอบจากรัฐ โดยจากนั้นมีการ ปฏิเสธไมยอมรับวาไดกระทำการจับกุม หรือมีการปดบังขอมูลเกี่ยว กับสถานที่ควบคุมตัวของบุคคลสูญหาย ซึ่งเปนสถานที่ที่มชควบคุม ตัวโดยไมชอบดวยกฎหมาย การปฏิบัติการดังกลาวนำมาใชเปนครั้งแรกโดยกองทัพนาซี เพื่อคุกคามชาวยิวในชวงสงครามโลกครั้งที่สอง จากนั้นกองทัพและ รัฐบาลเผด็จการในเอเชียและลาตินอเมริกาตางก็นำรูปแบบดังกลาว มาใช ในปจจุบันเอเชียเปนทวีปที่มีรายงานจำนวนผูถูกบังคับให สูญหายสูงสุด ในยุโรปและอัฟริกันก็มีรายงานผูสูญหายหลายกรณี เชนกัน The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 19

ปฏิญญาระหวางประเทศวาดวยการคุมครองมิใหบุคคลถูกบังคับให สูญหายคืออะไร ปฏิญญาระหวางประเทศวาดวยการคุมครองมิใหบุคคลถูก บังคับใหสูญหาย คือเอกสารที่ไมมีผลผูกพันตามกฎหมาย แตไดรับการ รับรองเปนเอกฉันทในที่ประชุมสมัชชาใหญ สหประชาชาติ เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2535 ตามมติที่ 47 / 133 ปฏิญญาดังกลาวใหหลักการ ชี้นำและเปนแนวทางปฏิบัติสำหรับรัฐภาคีทุกรัฐ อันไดแก • การเคารพสิทธิมนุษยชน • การไมใชวิธีบังคับใหบุคคลสูญหายไมวากรณีใดๆ • รัฐแตละรัฐมีหนาที่ดำเนินงานทั้งทางกฎหมาย การบริหาร ตุลาการ และดานอื่นๆ อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อคุมครองและ หยุดยั้งการบังคับใหบุคคลสูญหายในดินแดนที่เปนเขตรับผิด ชอบตามกฎหมายของตน • รัฐแตละรัฐจะตองตราบทบัญญัติในกฎหมายอาญา โดยถือวา การบังคับใหสูญหายเปนการกระทำผิดทางอาญาอยางหนึ่ง • ไมอาจมีการอางอำนาจของหนวยงานรัฐ พลเรือน ทหาร หรือ อื่นๆ เพื่อสรางความชอบธรรมใหกับการบังคับใหสูญหาย • การบังคับใหสูญหายเปนการกระทำผิดที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ดวยเหตุดังกลาวจึงไมควรกำหนดอายุความสำหรับคดีนี้ ในกรณีที่ใชการบังคับใหสูญหายเปนสวนหนึ่งของการกระทำ อยางเปนระบบและกวางขวาง (โดยถือเปนอาชญากรรมตอ มนุษยชาติ) ก็ไมควรมีการกำหนดอายุความใดๆ • บุคคลผูไดกระทำหรือถูกกลาวหาวาบังคับใหบุคคลอื่นสูญ หาย จะตองไมไดรับระโยชนจากกฎหมายนิรโทษกรรมหรือ มาตรการที่คลายคลึงอื่นใด • การไตสวนการบังคับใหบุคคลสูญหายจะตองใชองคผูพิพากษา ที่เปนพลเรือนเทานั้น 20 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการคุมครองมิใหบุคคลถูกบังคับ ใหสูญหายคืออะไร เปนขอกฎหมายที่มีผลผูกพันในทุกกรณี มีเจตจำนงเพื่อแก ปญหาการบังคับใหสูญหาย บทบัญญัติดังกลาวไดรับการรับรองจาก คณะมนตรีดานสิทธิมนุษยชนสหประชาชาติเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2549 และอนุมัติโดยที่ประชุมสมัชชาใหญสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2549 โดยมีรัฐภาคี 57 รัฐลงนามเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ 2550 ที่กรุงปารีส ฝรั่งเศส ในขณะที่เขียนบทความชิ้นนี้ (ป2550) มีรัฐบาลจากอีก 4 ประเทศที่ลงนามรับรอง อนุสัญญาฉบับนี้จะมีผลบังคับใชเมื่อมีรัฐใหสัตยาบันรับรอง ครบ 20 ประเทศ อนุสัญญาเปนบทบัญญัติที่มีผลผูกพันตามกฎหมายและแตก ตางอยางมากจากปฏิญญา ซึ่งเปนเพียงการอางอิงและ/หรือการ บรรยายถึงหลักการ จากการประเมินของสหพันธตอตานการบังคับใหสูญหายแหง เอเชีย ปจจัยตอไปนี้มีสวนชวยใหเกิดการรับรอง/อนุมัติอนุสัญญา ดังกลาว 1. องคกร FEDEFAM ทำงานอยางตอเนื่องและมุงมั่น สงเสริม ใหมีอนุสัญญาระหวางประเทศเพื่อคุมครองบุคคลมิใหถูกทำให สูญหาย และเพื่อทำใหคำขวัญของละตินอเมริกา นั่นคือ NUNCA MAS ! (ตองไมเกิดอีก!) มีผลในทางปฏิบัติ ซึ่งนับเปนพลังสำคัญ ที่ทำใหมีการรับรองอนุสัญญาโดยที่ประชุมสมัชชาใหญสห ประชาชาติในที่สุด 2. ความรวมมือขององคกรครอบครัวผูสูญหายจากหลายทวีป รวมทั้งองคกรสิทธิมนุษยชนสากล ในการล็อบบี้อนุสัญญาใน ชวงเวลา 3 ปที่มีการรางและเจรจา ซึ่งเปนการทำงานของ คณะทำงานสหประชาชาติเพื่อรางบทบัญญัติที่จะคุมครอง The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 21

มิใหบุคคลตกเปนผูถูกบังคับใหสูญหาย (United Nation InterSessional Working Group to elaborate a draft legally binding Normative Instrument for the protection of all persons from enforced or Involuntary Disappearances) ซึ่งนับเปนเสียงที่ดังพอที่จะชวยทำใหองคการสหประชาชาติเห็น ความสำคัญของอนุสัญญาฉบับนี้ การนำเรื่องจริงของครอบครัว ผูสูญหายมาเสนอและการใชความเชี่ยวชาญดานกฎหมายของ องคกรพัฒนาเอกชนสากลในชวง 3 ปของการรางและเจรจาอนุ สัญญาที่องคการสหประชาชาติ ในกรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร แลนด ชี้ใหเห็นความสำคัญของอนุสัญญาและความเรงดวน 3. การเดินทางขององคกรที่ทำงานกับครอบครัวของผูสูญหายเพื่อ เขาพบเจาหนาที่ในกระทรวงการตางประเทศและตัวแทนทูตถาวร ของประเทศตางๆ ในกรุงเจนีวาและนิวยอรก และการล็อบบี้ที่ องคการสหประชาชาติ ชวยทำใหรัฐบาลเห็นความสำคัญทั้งดาน การเมือง ศีลธรรม และคุณคาในทางปฏิบัติของอนุสัญญาที่มีตอ ครอบครัวเหลานี้ 4. ความสมดุลระหวางการทำงานในเมืองหลวงซึ่งเปนสถานที่ที่มี การตัดสินใจเกี่ยวกับจุดยืนของรัฐบาลดานอนุสัญญา และการ ทำงานในกรุงเจนีวา ซึ่งเปนสถานที่ที่มีการรางและตกลงรายละเอียด ขั้นสุดทายของอนุสัญญา เปนการทำงานอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถล็อบบี้ใหรัฐบาลสนับสนุนอนุสัญญา 5. ความสนับสนุนจากสื่อมวลชนและภาคประชาสังคมซึ่งเปนสิ่ง ที่ขาดเสียมิไดเลย อนุสัญญาที่มีการรับรองเมื่อเร็วๆนี้กลาวถึงประเด็นสำคัญเกี่ยวกับ การสูญหายอยางไรบาง เนื้อหาของอนุสัญญาซึ่งมีการรับรองเมื่อเดือนกันยายน 2548 22 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

โดยคณะทำงานสหประชาชาติเพื่อรางบทบัญญัติที่จะคุมครองมิให บุคคลตกเปนผูถูกบังคับใหสูญหายระบุวา กำหนดหามมิใหมีการ บังคับบุคคลใหสูญหายไมวาในกรณีใดๆ ไมวาจะเปนกรณีที่เกิดสงคราม หรือคาดวาจะมีภัยจากสงคราม การขาดเสถียรภาพทางการเมืองใน ประเทศ หรือสถานการณฉุกเฉินอื่นๆ ทั้งยังยืนยันอยางหนักแนนวา การบังคับใหสูญหายมีองคประกอบเปนความผิดตามกฎหมายอาญา และเปนการกระทำผิดอยางเปนอาชญากรรมตามกฎบัตรสากล นอกจากนั้น อนุสัญญาฉบับนี้ยังคุมครองสิทธิของญาติของ ผูสูญหายและสังคมโดยรวม ในการเขาถึงขอมูลความจริงเกี่ยวกับ ชะตากรรมและที่อยูของผูสูญหาย รวมทั้งการติดตามความกาวหนา ของการสอบสวนที่เกิดขึ้น ตามบทบัญญัติฉบับใหมนี้ รัฐภาคีแตละแหงจะตองกำหนด ในกฎหมายอาญาของตนโดยใหถือวาการบังคับใหสูญหายเปนการ กระทำผิดทางอาญาอยางหนึ่ง รัฐภาคีที่ลงนามในอนุสัญญาฉบับใหมนี้จะตองใหความรวม มือในการคนหาสำรวจสถานที่และปลอยผูสูญหายใหเปนอิสระ และ ในกรณีที่เสียชีวิตแลว ใหมีการขุดซากศพและมีการจำแนกเอกลักษณ บุคคล รวมทั้งมีการคืนเถากระดูก รัฐภาคีแตละแหงจะตองดำเนิน การอยางเหมาะสมในลักษณะดังกลาว นอกจากนั้น อนุสัญญายังประกอบดวยบทบัญญัติที่เนนถึงสิทธิ ที่จะจัดตั้งและเขารวมองคกรและสมาคมที่ทำงานเพื่อผูสูญหายอยาง เปนอิสระ สุดทาย อนุสัญญาบัญญัติไววา - การบังคับใหสูญหายเปนการกระทำผิดที่เกิดขึ้นตอเนื่อง ดวยเหตุดังกลาว จึงไมควรกำหนดอายุความสำหรับคดีนี้ จนกวาจะมีการระบุชะตากรรมและสถานที่ของเหยื่อผูสูญ หายไดชัดเจนแลว The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 23

- ใหถือวาการบังคับใหสูญหายเปนอาชญากรรมตอมนุษยชาติ (ในกรณีที่เปนการกระทำอยางเปนระบบและกวางขวาง) และ ไมควรมีการกำหนดอายุความใดๆ - หามไมใหมีการกักขังบุคคลในที่ลับ - รัฐภาคีทุกแหงจะตองกำหนดใหมีการจัดทำทะเบียนขอมูลบุคคล ผูถูกทำใหสูญเสียอิสรภาพ - ในกรณีที่เกิดการบังคับใหสูญหาย เหยื่อหมายถึงบุคคลผูสูญหาย และบุคคลที่ไดรับอันตราย อันเปนผลโดยตรงมาจากการบังคับ ใหสูญหาย - เหยื่อทุกคน (ในความหมายอยางกวางตามยอหนาขางตน) ของ การสูญหาย ยอมมีสิทธิที่จะไดรับการเยียวยาและการชดเชย โดยทันทวงที เปนธรรมและพอเพียง ซึ่งตองประกอบดวย - คาชดเชย - การฟนฟูเยียวยา - การทำใหผูเสียหายเกิดความพึงพอใจ ทั้งการฟนฟู ศักดิ์ศรีและชื่อเสียง - รับประกันวาจะไมกระทำการเชนนั้นอีก ความแตกตางระหวางอนุสัญญากับพิธีสารเลือกรับ ในทางเทคนิคแลวไมมีความแตกตางระหวางเอกสารทั้งสอง แบบ เนื่องจากมีผลผูกพันตามกฎหมายสำหรับประเทศที่ใหสัตยาบัน รับรอง อยางไรก็ตาม เรามักคิดวาอนุสัญญาดีกวาเนื่องจากมีศักดิ์ศรี มากกวาเปนการแสดงออกของชุมชนนานาชาติที่เห็นความสำคัญของ ปญหาดังกลาว แสดงถึงการรับรูประเด็นปญหานั้นในระดับโลกและ แสดงเจตจำนงของรัฐภาคีในการแทรกแซง หยุดยั้งการปฏิบัติ และ คุมครองมิใหเกิดกรณีดังกลาวซ้ำขึ้นอีก 24 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

เหตุใดจึงตองมีอนุสัญญาดังกลาว ในปจจุบัน หนวยงานสากลซึ่งมีหนาที่ดูแลดานการบังคับให สูญหาย ประกอบดวย • คณะทำงานดานการบังคับใหสูญหายสหประชาชาติ (United Nations Working Group on Enforced or Involuntary Disappearances : UNWGEID) • ศาลสิทธิมนุษยชนแหงยุโรปและระหวางทวีปอเมริกาและคณะกรรมา ธิการดานสิทธิมนุษยชนแหงอัฟริกา • ศาลอาญานานาชาติ (เฉพาะกรณีที่เปนการสูญหายของบุคคลอัน เนื่องมาจากการกระที่เปนระบบและกวางขวางของรัฐซึ่งลงนาม รับรองกติกากรุงโรม) และ • คณะมนตรีดานสิทธิมนุษยชน อยางไรก็ตาม หนวยงานเหลานี้ตางมีขอจำกัดของตนเอง ยก ตัวอยางเชน คณะทำงานดานการบังคับใหสูญหายสหประชาชาติ ไมมีอำนาจผูกพันทางกฎหมายหรือตุลาการใดๆ อำนาจหนาที่ของ หนวยงานดังกลาวมีในลักษณะของการชวยเหลือในเชิงมนุษยธรรม โดยทำหนาที่เปนชองทางการสื่อสารระหวางครอบครัวผูสูญหายกับ รัฐบาลที่เกี่ยวของ ดวยเหตุดังกลาว คณะทำงานจึงไมมีอำนาจใน การลงโทษรัฐที่ทำการละเมิดสิทธิมนุษยชน ทั้งไมสามารถสอบสวน อยางจริงจังและถี่ถวนตอกรณีการสูญหาย ทั้งยังไมสามารถใหการ เยี่ยวยาหรือจายคาชดเชยใดๆ กลไกอยางอื่นมักมีในยุโรป ละตินอเมริกาและอัฟริกา อีกดานหนึ่ง ธรรมนูญกรุงโรมวาดวยศาลอาญาระหวางประเทศ ก็ไมไดมีสถานะเปนกฎหมายสิทธิมนุษยชน แตเปนสนธิสัญญาเกี่ยว กับกฎหมายอาญาระหวางประเทศ ซึ่งกำหนดใหผูกระทำผิดมางอาญา The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 25

ตองรับผิดชอบตอการกระทำของตนเอง ทั้งที่เปนอาชญากรรมตอ มนุษยชาติ การฆาลางเผาพันธุ และอาชญกรรมสงคราม ควรสังเกต วา เหยื่อหรือญาติของพวกเขาไมสามารถฟองรองโดยตรงตอคณะ ผูพิพากษาสากลดังกลาวได ทั้งนี้ เพราะกลไกตุลาการดังกลาวจัดขึ้น เพื่อลงโทษอาชญากรสากล และไมมีหนาที่คุมครองสิทธิของเหยื่อ โดยตรง แมวาคณะมนตรีดานสิทธิมนุษยชนทำหนาที่เปนหนวยงาน กำกับดูแลการปฏิบัติตามกติกาสากลวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิ การเมือง (ICCPR) แตกติกาฉบับนี้มีผลบังคับใชเฉพาะรัฐที่ใหสัตยาบัน รับรองพิธีสารเลือกรับฉบับที่หนึ่งของกติกาฉบับดังกลาว นอกจากนั้น หนวยงานดังกลาวทำหนาที่ไดเพียงการแสดง “ทัศนะ” ที่มีตอการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้น ทัศนะดังกลาวไมมีผลผูกพันตามกฎ หมายตอรัฐภาคี ทายที่สุด คณะมนตรีดานสิทธิมนุษยชนยังเปน องคกรที่แทบไมสามารถทำงานอะไรไดเลย ความกาวหนาที่สำคัญอยางหนึ่งของอนุสัญญาระหวางประเทศ วาดวยการคุมครองมิใหบุคคลถูกบังคับใหสูญหาย ไดแก การกำหนด ใหมีคณะกรรมการดานการบังคับใหสูญหายที่มีสมาชิก 10 คน เมื่อ อนุสัญญามีผลบังคับใช จะตองมีการจัดตั้งคณะกรรมการชุดดังกลาว ขึ้นมา โดยมีหนาที่ดังตอไปนี้ ก) รับฟง พิจารณา และแสดงความคิดเห็น ขอสังเกตและขอ เสนอแนะตอรายงานของรัฐบาลเกี่ยวกับมาตรการที่นำมา ใช เพื่อใหมีการปฏิบัติตามอนุสัญญาภายในระยะเวลา 2 ป หลังจากที่อนุสัญญามีผลบังคับใช ข) รองขอใหรัฐภาคีใหขอมูลตอคณะกรรมการ โดยเปนขอมูล เกี่ยวกับสถานการณของบุคคลที่มีรายงานวาเปนผูสูญหาย (ทั้งนี้ญาติของผูสูญหายอาจสงเรื่องขอใหคณะกรรมการชวย ติดตามบุคคลที่สูญหายของตน) ภายในระยะเวลาที่กำหนด 26 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

โดยคณะกรรมการเอง เมื่อไดรับคำตอบจากรัฐภาคีแลว คณะกรรม การจะใหขอเสนอแนะตอรัฐดังกลาว และสงตอขอมูลใหกับบุคคลที่ รองขอใหมีกระบวนการนี้ คณะกรรมการยังอาจขอใหรัฐดำเนินการ อยางเหมาะสม รวมทั้งกำหนดมาตรการชั่วคราวเพื่อรายงานใหกับ สมาชิกคณะกรรมการไดทราบ สุดทายแลว คณะกรรมการจะทำงาน รวมกับรัฐที่เกี่ยวของอยางตอเนื่อง จนกวาจะมีขอมูลที่ชัดเจนเกี่ยว กับชะตากรรมของผูสูญหาย ค) ขอใหคณะกรรมการหนึ่งคนหรือมากกวานั้น (ในกรณีที่ พิจารณาเห็นวาการเดินทางไปยังพื้นที่นั้นๆ ของรัฐภาคีมี ความจำเปนเพื่อใหสามารถปฏิบัติตามอำนาจหนาที่ได) เพื่อดำเนินการใหมีการเดินทางไปตรวจเยี่ยมและรายงาน ผลใหคณะกรรมการไดทราบโดยไมชักชา ทั้งนี้โดยความ ยินยอมของรัฐที่เกี่ยวของ ง) รับฟงและพิจารณาการสื่อสารจากบุคคลที่เปนเหยื่อของการ ละเมิดอนุสัญญาฉบับนี้หรือตัวแทน ดวยเหตุดังกลาว ใน ชวงที่รัฐภาคีลงนามใหสัตยาบันหรือหลังจากนั้น จะตอง ดูแลใหรัฐภาคีประกาศยอมรับอำนาจรับฟงการสื่อสาร (competence) ดังกลาวดวย (ขอสำคัญในกรณีที่รัฐไมยอม รับอำนาจในการรับฟงการสื่อสารดังกลาว คณะกรรมการ อาจไมมีสิทธิเขาไปรับฟงขอมูลใดๆ ได) จ) เมื่อรัฐภาคีประกาศรับรองอำนาจในการรับฟงการสื่อสาร แลว คณะกรรมการจะตองรับฟงและพิจารณาการสื่อสาร ในกรณีที่รัฐภาคีอางวารัฐภาคีอีกแหงหนึ่งไมปฏิบัติตาม พันธกรณีภายใตอนุสัญญา ฉ) ใหนำประเด็นเขาสูการพิจารณาโดยเรงดวน (ในกรณีที่ได รับแจงขอมูลที่มีหลักฐานยืนยันชัดเจนระดับหนึ่งวารัฐภาคี ไดกระทำการบังคับใหสูญหายอยางเปนระบบหรือกวางขวาง The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 27

ในพื้นที่ประเทศของตน) เพื่อใหที่ประชุมสมัชชาใหญแหง สหประชาชาติพิจารณา เปนการนำเสนอผานเลขาธิการ องคการสหประชาชาติ อนุสัญญาฉบับนี้มีความสำคัญตอประชาชนในเอเชียอยางไร ในปจจุบันทวีปเอเชียยังไมมีกลไกระดับภูมิภาคเพื่อคุมครอง สงเสริมและพิทักษสิทธิมนุษยชน ไมวาจะเปนในรูปของอนุสัญญา คณะกรรมาธิการ หรือศาล เมื่อเทียบกันแลว ทวีปละตินอเมริกายังมี อนุสัญญาระหวางทวีปอเมริกาเพื่อคุมครองมิใหบุคคลถูกบังคับให สูญหาย (Inter-American Convention for the Protection of All Person from Enforced or Involuntary Disappearances) ในขณะ ที่ทางยุโรปมีบทบัญญัติดานสิทธิมนุษยชนหลายฉบับ อยางเชน สภา ยุโรป อนุสัญญาวาดวยสิทธิมนุษยชนแหงยุโรป ศาลสิทธิมนุษยชน แหงยุโรป นอกจากนั้น ในปจจุบันยังไมมีประเทศใดในเอเชียที่มีกฎ หมายระดับชาติที่สามารถเอาผิดในกรณีบังคับใหสูญหายได ดวยเหตุ ดังกลาว เมื่อมีการรับรองและใหสัตยาบันอนุสัญญาระดับนี้ ก็จะนำ ไปสูการกำหนดกฎหมายในประเทศใหสอดคลองกัน และบัญญัติให การบังคับใหสูญหายเปนความผิดทางอาญา รวมทั้งกำกับใหมีการ ปฏิบัติตามบทบัญญัติเหลานี้สำหรับสนธิสัญญาฉบับตอไป นอกจากนั้น รายงานฉบับลาสุดของคณะทำงานดานการบังคับ ใหสูญหายสหประชาชาติระบุวา เอเชียเปนทวีปที่มีการรองเรียนกรณี สูญหายมากที่สุด ทั้งในอดีตและปจจุบัน ในขณะที่เอเชียยังไมมีทั้ง กลไกระดับชาติ ภูมิภาค และสากลที่จะเอาผิดกับการบังคับใหสูญหาย องคการสหประชาชาติจึงเปนชองทางเดียวที่ครอบครัวของผูสูญหาย ในเอเชียสามารถใชประโยชนได

28 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

เหตุใดการกำหนดใหมีอนุสัญญาฉบับนี้จึงมีความสำคัญ รัฐที่ใหสัตยาบันรับรองอนุสัญญาฉบับนี้มีพันธกรณีที่จะตอง กำหนดกฎหมายเพื่อใหสามารถปฏิบัติตามพันธกรณีสากลนี้ได แม วาอาจจะไมมีผลประโยชนในระยะสั้นแตก็เปนการบังคับใหรัฐตอง ปฏิบัติหนาที่อยางมีมนุษยธรรมมากขึ้น อนุสัญญาฉบับนี้มีความสำคัญอยางเปนรูปธรรมตอเหยื่อและครอบ ครัวผูสูญหายอยางไรบาง อนุสัญญาฉบับนี้ เปนขั้นตอนที่นำไปสูการตอสูไมใหคนผิด ลอยนวล เปนการสงเสริมใหมีการฟองรองเอาผิดกับผูกระทำความผิด และชวยใหเกิดความหวังตอเหยื่อและญาติของผูสูญหาย ถือไดวา เปนปจจัยสำคัญที่ชวยในการล็อบบี้รัฐบาล เพื่อใหสัตยาบันรับรอง อนุสัญญาโดยเร็ว ในขณะเดียวกัน ครอบครัวผูสูญหายจะตองปฏิบัติ หนาที่ดังตอไปนี้ • สื่อสารกับคณะทำงานดานการบังคับใหสูญหาย สหประชาชาติ เปนประจำจะตองแจงใหคณะทำงานทราบขอมูลใหมๆ อยาง รวดเร็ว ในกรณีที่มีการสงเรื่องรองเรียนมาแลว จะตองหลีก เลี่ยงไมใหมีการละเมิดหลักการหกเดือน (หมายความวาใน กรณีที่คณะทำงานสงขอมูลใหกับผูรองเรียนแลว ถาผูรอง เรียนไมตอบกลับมาภายในหกเดือน คณะทำงานก็จะยกเลิก การติดตามกรณีรองเรียนนี้ไป) • ในกรณีที่มีการคุกคามหรือขมขู จะตองแจงใหคณะทำงาน ทราบโดยทันที และขอใหมีการแทรกแซงโดยรวดเร็ว สำคัญ อยางยิ่งที่จะตองใหขอมูลกับคณะทำงานเปนระยะๆ หลังจาก ที่มีการแทรกแซงแลว เพื่อใหมีการสนทนาอยางตอเนื่องและ เปนประโยชนตอไป The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 29

• สงมอบขอสังเกตทั่วไปตอคณะทำงาน ในแงของการปฏิบัติ ของรัฐบาลตอพันธกรณีที่มีปฏิญญา ในป 2535 • ใหสงเรื่องรองเรียนไปยังคณะมนตรีดานสิทธิมนุษยชน ใน กรณีที่รัฐแหงนั้นเปนภาคีของกติกาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และสิทธิการเมืองและพิธีสารเลือกรับฉบับที่หนึ่ง เราจะสามารถล็อบบี้รัฐบาลใหเห็นความสำคัญและลงนามและให สัตยาบันรับรองอนุสัญญารับรองอนุสัญญาอยางไรบาง 1. ใหความรูตอสาธารณะ โดยการเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการ บังคับใหสูญหายและความสำคัญของอนุสัญญาที่จะชวย คุมครองสิทธิมนุษยชน ในบรรดาองคกรตางๆ ใหหาทาง พูดคุยในประเด็นนี้และมีการแจกจายเอกสารเพื่อการรณรงค ทั้งเอกสารบทนำ แผนปลิว โปสเตอร ฯลฯ 2. จัดอบรมใหกับกลุมตางๆ โดยเฉพาะสื่อมวลชนและนักวิชาการ เกี่ยวกับเนื้อหาของอนุสัญญา และการทำงานเพื่อรณรงค และล็อบบี้ ซึ่งอาจชวยใหเรามีผูเชี่ยวชาญที่สามารถนำขอมูล ไปเผยแพรตอกลุมและภาคสวนอื่นๆ ได 3. ชวยพัฒนางานดานสื่อ เพื่อกระจายขอมูลใหกวางขวางขึ้น 4. เผยแพรขอมูลสรางความเขาใจเกี่ยวกับการสูญหายและ อนุสัญญาฯ 5. แปลขอมูลจากภาษาอังกฤษเปนภาษาอื่น และจากภาษาอื่น เปนภาษาอังกฤษ เพื่อใหคนอื่นไดอานและเขาใจประเด็น ปญหามากขึ้น 6. หาโอกาสที่จะล็อบบี้ผูนำประเทศตางๆ สมาชิกรัฐสภา และ เจาหนาที่รัฐบาลหรือรัฐมนตรีที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจ ใหสัตยาบันรับรองอนุสัญญา 30 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

หมายเหตุ ควรมีการสำรวจทัศนคติของรัฐบาลประเทศตางๆ ตอสิทธิ มนุษยชนโดยทั่วไป และตออนุสัญญาฉบับนี้เปนการเฉพาะ ผลการ สำรวจอาจจะชวยใหเราเขาใจจุดยืนของรัฐบาลที่มีตอสิทธิมนุษยชน มากขึ้น ซึ่งจะชวยกำหนดทิศทางการรณรงคและแผนการล็อบบี้ และ ชวยใหยุทธศาสตรและยุทธวิธีขององคกรมีประสิทธิภาพมากขึ้น งานศึกษาอาจรวมทั้งบทเรียนของเรื่องจริงที่เกิดขึ้นกับประชาชน ในหลายภูมิภาคทั่วโลก โดยถือเปนบทเรียนสำหรับการวางแผนเพื่อ ใหเกิดการรณรงคระดับนานาชาติเพื่อตอตานการสูญหายและการ ปลอยใหคนผิดลอยนวลที่มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพื่อใหโลกนี้ไมเกิด บุคคลสูญหายขึ้นอีก

The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 31

INTERNATIONAL CONVENTION FOR THE PROTECTION OF ALL PERSONS FROM ENFORCED DISAPPEARANC อนุสัญญาวาดวยการคุมครอง บุคคลทุกคนจากการถูกบังคับใหหายสาบสูญ อารัมภบท รัฐภาคีแหงอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ พิจารณาจากพันธกรณีภายใตกฎบัตรสหประชาชาติ ในอันที่ จะสงเสริมการยอมรับนับถือ และการยึดถือปฏิบัติตามหลักสิทธิ มนุษยชนและสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐาน รำลึกถึงกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางการเมืองและ สิทธิพลเมือง และตราสารอื่นๆ ระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน กฎหมายระหว า งประเทศด า นมนุ ษ ยธรรม และกฎหมายอาญา ระหวางประเทศ ระลึกถึงปฏิญญาวาดวยการคุมครองบุคคลทุกคนจากการถูก บังคับใหหายสาบสูญ ที่ไดรับการรับรองโดยที่ประชุมสมัชชาใหญ แหงองคการสหประชาชาติ สมัยสามัญ ตามขอมติที่ 47/133 เมื่อ วันที่ 18 ธันวาคม 2545 ตระหนักถึงความรายแรงของ การบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ ซึ่งตามกฎหมายอาญาระหวางประเทศ ในบางสถานการณ ถือวาเปน อาชญากรรมตอมวลมนุษยชาติ ตัดสินใจที่จะปองกันไมใหบุคคลถูกบังคับใหหายสาบสูญ และ ตอตานไมใหอาชญากรรมบังคับใหบุคคลหายสาบสูญอยูเหนือกฎหมาย The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 33

พิจารณาถึงสิทธิของบุคคลที่จะไมถูกบังคับใหหายสาบสูญ สิทธิของ ผูตกเปนเหยื่อที่จะไดรับความยุติธรรมและการชดเชยแกไข ยืนยันถึงสิทธิของผูตกเปนเหยื่อที่จะไดรับรูความเปนจริงเกี่ยว กับสภาพการที่บุคคลถูกบังคับใหหายสาบสูญ และชะตากรรมของ ผูที่ถูกบังคับใหหายสาบสูญ และสิทธิเสรีภาพในการคนหา ไดรับ และ ถายทอดขอมูลโดยตลอดจนกระทั่งถึงที่สุด จึงไดตกลงกันดังตอไปนี้ ภาค 1 ขอ 1 บุคคลใดๆ จะถูกบังคับใหหายสาบสูญมิได ไมมีขอยกเวนใดๆ แมในสภาวะสงครามหรือภัยคุกคามของ สงคราม ความไมมั่นคงทางการเมืองในประเทศ หรือสถานการณ ฉุกเฉินใดๆ ที่อาจเกิดขึ้น ที่จะใชเปนขออางเพื่อความชอบธรรมใน การบังคับใหบุคคลหายสาบสูญได ขอ 2 เพื่อวัตถุประสงคของอนุสัญญาฉบับนี้ ใหถือวาการบังคับให บุคคลหายสาบสูญ ไดแก การจับ ควบคุมตัว ลักพาตัว หรือวิธีการ อื่นใดในการทำใหบุคคลสูญเสียอิสรภาพ ที่กระทำโดยตัวแทนของรัฐ บุคคลหรือกลุมบุคคลที่กระทำไปโดยการใหอำนาจ สนับสนุน หรือรู เห็นเปนใจจากรัฐ และโดยที่รัฐปฏิเสธที่จะรับทราบวามีการทำให สูญเสียอิสรภาพนั้น หรือโดยปกปดชะตากรรม หรือสถานที่อยูของ ผูหายสาบสูญดังกลาว โดยที่สถานที่อยูของบุคคลผูหายสาบสูญนั้น กฎหมายไมสามารถใหความคุมครองได ขอ 3 แตละรัฐภาคีจะตองใชมาตรการที่เหมาะสมในการสืบสวน สอบสวนการกระทำตามที่ไดใหนิยามไวใน ขอ 2 ที่กระทำโดยบุคคล 34 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

หรือกลุมบุคคลที่กระทำโดยปราศจากอำนาจ โดยการสนับสนุนหรือ รูเห็นเปนใจจากรัฐ และตองนำผูที่รับผิดชอบมาดำเนินคดีตาม กระบวนการยุติธรรม ขอ 4 แตละรัฐภาคีจะตองใชมาตรการที่จำเปนเพื่อประกันวา การบังคับ ใหบุคคลหายสาบสูญเปนความผิดอาญาตามกฎหมายของประเทศตน ขอ 5 การบังคับใหบุคคลหายสาบสูญไปอยางกวางขวางหรือโดยการ ปฏิบัติอยางเปนระบบนั้น เปนอาชญากรรมตอมวลมนุษยชาติ ตามที่ นิยามไวในกฎหมายระหวางประเทศ และจะตองใหไดรับผลตามที่ กฎหมายระหวางประเทศเหลานั้นกำหนด ขอ 6 1. แตละรัฐภาคีจะตองดำเนินมาตรการที่จำเปนที่จะใหมีความรับผิด ทางอาญา อยางนอยที่สุดในกรณีดังตอไปนี้ (ก) บุคคลใดที่กระทำ สั่งการ รองขอ หรือชักจูงใหมีการกระทำ หรือพยายามกระทำ ถือวาเปนผูสมรูรวมคิดหรือเปนผูรวม ในการบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ (ข) ผูบังคับบัญชาที่รูหรือทำเปนไมรับรูถึงขอมูลที่ชี้ใหเห็นไดอยาง ชัดเจนวา ผูใตบังคับบัญชาที่อยูภายใตอำนาจสั่งการหรืออำนาจ ควบคุมของตน ไดกอหรือกำลังจะกออาชญากรรมบังคับให บุคคลหายสาบสูญ ใชอำนาจหนาที่รับผิดชอบหรือการควบคุม กิจกรรมซึ่งเกี่ยวของกับอาชญากรรมบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ และไมใชมาตรการที่จำเปนและสมควรตามอำนาจของตน เพื่อปองกันหรือปราบปรามการทำใหบุคคลหายสาบสูญ หรือ ไมแจงเรื่องแกเจาหนาที่ผูมีอำนาจในการสืบสวนสอบสวนและ ฟองรองดำเนินคดี The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 35

(ค) บทบัญญัติในอนุวรรค (ข) ขางตนนั้น จะไมมีผลเปนการ ลบลางมาตรฐานที่สูงกวาของความรับผิดของผูบัญชาการ ทหาร หรือผูที่ปฏิบัติตนเปนผูบัญชาการทหารที่มีอยูตาม กฎหมายระหวางประเทศ 2. ไมใหมีการสั่งหรือชี้แนะจากเจาหนาที่รัฐ พลเรือน ทหาร หรือ บุคคลใด ที่จะใชเปนขออางเพื่อสรางความชอบธรรมใหกับการ บังคับใหบุคคลหายสาบสูญได ขอ 7 1. แตละรัฐภาคีจะตองทำใหความผิดในขอหาบังคับใหบุคคลหาย สาบสูญ เปนความผิดที่มีบทลงโทษที่เหมาะสม โดยถือวาเปน ความผิดรายแรง 2. แตละรัฐภาคีจะตองจัดใหมี (ก) การลดหยอนผอนโทษ โดยเฉพาะกับบุคคลที่มีสวนเกี่ยวของ ในการบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ แตไดมีสวนนำบุคคลที่ หายไปนั้นกลับคืนมาโดยที่ยังมีชีวิตอยู หรือทำใหเกิดความ กระจางในคดีที่บุคคลถูกบังคับใหหายสาบสูญ หรือโดยการ ชี้วาใครเปนผูกระทำผิดในการบังคับใหบุคคลหายสาบสูญไป (ข) จะตองไมลบลางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาและเพิ่ม มาตรการ โดยเฉพาะการเสียชีวิตของบุคคลที่ถูกบังคับให สาบสูญหรือการบังคับบุคคลใหหายสาปสูญในกรณีที่เปนหญิง มีครรภ ผูเยาว ผูพิการ หรือบุคคลที่ดอยโอกาสตางๆ ขอ 8 เพื่อไมเปนการลบลางบทบัญญัติในขอ 5 1. สำหรับรัฐภาคีที่มีกฎหมายจำกัดดานอายุความนั้น ในเรื่องการ บังคับใหบุคคลหายสาบสูญนี้ จะตองใชมาตรการที่จำเปนเพื่อ ทำใหมั่นใจวาขอจำกัดดานกระบวนการยุติธรรมนี้จะ 36 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

(ก) มีอายุความยาวนาน และเหมาะสมกับความรายแรงของความผิด (ข) ใหถือวาเปนการทำความเปนความผิดตอเนื่อง โดยใหเริ่มนับ อายุความตั้งแตวันที่การบังคับใหบุคคลหายสาบสูญสิ้นสุดลง เปนตนไป 2. แตละรัฐภาคีจะตองรับประกันสิทธิของผูตกเปนเหยื่อของการบังคับ ใหบุคคลหายสาบสูญ วาจะไดรับการชดเชยเยียวยาอยางมีประสิทธิ ผลในระหวางอายุความนั้น ขอ 9 1. แตละรัฐภาคีจะตองใชมาตรการที่จำเปนในการจัดใหมีระบบ ตุลาการที่มีเขตอำนาจที่สามารถพิจารณาความผิดฐานบังคับให บุคคลหายสาบสูญ (ก) เมื่อความผิดฐานบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ ไดเกิดขึ้นใน ดินแดนที่อยูภายใตเขตอำนาจศาลของตน หรือบนเรือ หรือ อากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐภาคีนั้น (ข) เมื่อผูถูกกลาวหาวากระทำผิดเปนคนสัญชาติของรัฐภาคี (ค) เมื่อบุคคลที่หายสาบสูญเปนบุคคลสัญชาติตน และรัฐภาคี พิจารณาเห็นวาสมควร 2. แตละรัฐภาคีจะตองดำเนินมาตรการที่จำเปนที่จะใหศาลที่มีเขต อำนาจพิจารณาความผิดฐานบังคับใหบุคคลหายสาบสูญได เมื่อ มีบุคคลที่ถูกกลาวหาวากระทำความผิดอยูในดินแดนภายใต เขตอำนาจศาลของตน เวนแตจะไดสงเปนผูรายขามแดน หรือ มอบตัวผูถูกกลาวหานั้นใหแกอีกรัฐหนึ่ง ตามพันธกรณีระหวาง ประเทศ หรือมอบตัวผูถูกกลาวหาใหกับศาลยุติธรรมระหวางประเทศ ซึ่งมีเขตอำนาจในการพิจารณาคดี 3. อนุสัญญาฯ ฉบับนี้จะไมจำกัดกีดกันการดำเนินเปนคดีอาญาอื่นๆ เพิ่มเติมตามกฎหมายในประเทศตอผูถูกกลาวหา The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 37

ขอ 10 1. ภายหลังจากที่มีการสอบสวนขอมูลที่มีอยูจนเปนที่พอใจแลว ถามี สภาพการที่รัฐภาคีพบวามีผูตองสงสัยในการกระทำความผิดฐาน บังคับใหบุคคลหายสาบสูญมาปรากฏตัวอยู ก็ใหควบคุมตัว หรือ ดำเนินมาตรการที่จำเปนตามกฎหมาย เพื่อจะใหแนใจวามีตัวผู กระทำผิดอยู การควบคุมตัวและมาตรการทางดานกฎหมายอื่นๆ ใหเปนไปตามกฎหมายของรัฐภาคีนั้น แตก็อาจใชเฉพาะคราว ตามความจำเปน เพื่อที่จะใหบุคคลดังกลาวถูกดำเนินคดี มอบตัว หรือ ถูกสงเปนผูรายขามแดน 2. รัฐภาคีที่ไดดำเนินมาตรการตามที่อางไวใน วรรค 1 ขางตน จะ ตองดำเนินการสืบสวนสอบสวนขั้นตนเพื่อใหไดขอเท็จจริงโดย เรงดวน และจะตองแจงรัฐภาคีที่ระบุไวในขอ 9 วรรค 1 ใหทราบ ถึงมาตรการที่ไดใชดำเนินการตามวรรค 1 ดังกลาว รวมทั้งสถานที่ ควบคุมตัว และสภาพการของการควบคุมตัว และสิ่งที่พบจาก การสืบสวนสอบสวน โดยระบุดวยวามีความตั้งใจที่จะใชอำนาจ ศาลของตนในการดำเนินคดีบุคคลดังกลาวหรือไม 3. บุคคลที่ถูกควบคุมตัวตามวรรค 1 อาจจะติดตอกับตัวแทนที่ใกล ที่สุดของรัฐที่ตนเปนผูมีสัญชาติไดโดยทันที หรือถาตนเปนบุคคล ที่ไรสัญชาติ ก็อาจติดตอกับตัวแทนของรัฐที่ตามปกติตนมีถิ่นที่ อยูในรัฐนั้น ขอ 11 1. เมื่อรัฐภาคีที่มีเขตอำนาจศาล ไดบุคคลที่ถูกกลาวหาวากระทำความ ผิดฐานบังคับใหบุคคลหายสาปสูญแลว ถาไมสงตัวเปนผูรายขาม แดนหรือมอบตัวบุคคลดังกลาวใหกับอีกรัฐหนึ่งตามพันธกรณีระหวาง ประเทศ หรือมอบบุคคลนั้นใหกับศาลอาญาระหวางประเทศที่เปน ที่ยอมรับวามีเขตอำนาจในการดำเนินคดีแลว ก็จะตองสงเรื่อง ใหแกพนักงานเจาหนาที่ของตนเพื่อฟองรองดำเนินคดีตอไป 38 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

2. พนักงานเจาหนาที่ตองพิจารณาดำเนินการในลักษณะเดียวกันกับ คดีที่เปนความผิดอาญารายแรงอื่นๆ ตามกฎหมายของรัฐภาคีนั้น ในกรณีที่อางถึงตามขอ 9 วรรค 2 มาตรฐานของพยานหลักฐาน ที่ใชในการฟองเปนคดีอาญาและใชในการพิพากษาลงโทษนั้น ตอง ไมต่ำกวาที่ใชกับกรณีที่อางถึงในขอ 9 วรรค 2 3. บุคคลที่ถูกดำเนินคดีที่เกี่ยวกับการบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ จะตองมีหลักประกันวาจะไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมในทุก ขั้นตอน บุคคลใดที่ถูกฟองรองดำเนินคดีในขอหาบังคับใหบุคคล หายสาบสูญจะไดรับการพิจารณาคดีอยางเปนธรรมโดยศาล หรือ คณะตุลาการที่มีอำนาจหนาที่และที่เปนอิสระ ซึ่งไดจัดตั้งขึ้น ตามกฎหมาย ขอ 12 1. แตละรัฐภาคีจะตองทำใหมั่นใจไดวา ผูที่รองเรียนกลาวหาวาไดมี บุคคลถูกบังคับใหหายสาบสูญ มีสิทธิที่จะรองเรียนตอพนักงาน เจาหนาที่ แลวเจาหนาที่จะตองทำงานตรวจสอบขอกลาวหาโดย พลันและอยางเที่ยงธรรม หากจำเปน ก็จะตองดำเนินการโดย ไมชักชา ดวยความเปนกลางตลอดกระบวนการสืบสวนสอบสวน ทั้งจะตองดำเนินการตามขั้นตอนที่จำเปนเพื่อใหมั่นใจวา ผูรองเรียน พยาน ญาติของบุคคลที่หายสาบสูญ และทนายความของบุคคล ดังกลาว รวมทั้งบุคคลที่มีสวนในการสืบสวนสอบสวนทั้งหมด ไดรับการปองกันจากการปฏิบัติที่มิชอบ หรือการขมขูคุกคามอัน เนื่องมาจากการรองเรียนหรือใหพยานหลักฐานของตน 2. ในกรณีที่มีมูลอันนาเชื่อไดวา มีบุคคลถูกบังคับใหหายสาบสูญ เจาหนาที่ตามที่ระบุไวในวรรค 1 จะตองทำการสืบสวนสอบสวน คดีดังกลาว ถึงแมวาจะไมมีการรองเรียนอยางเปนทางการก็ตาม 3. แตละรัฐภาคีจะตองทำใหแนใจไดวา เจาหนาที่ที่อางถึงตาม วรรค 1 นั้น The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 39

(ก) มีอำนาจหนาที่และไดรับปจจัยที่จำเปนเพื่อใหการสืบสวน สอบสวนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการเขาถึงเอกสาร หรือขอมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการสืบสวนสอบสวน (ข) มีอำนาจในการเขาไปในสถานที่ซึ่งมีเหตุผลอันสมควรที่นาเชื่อ ไดวา จะเปนสถานที่ที่มีผูถูกบังคับใหหายสาบสูญอยู โดยหาก จำเปนก็อาจตองไดรับอนุญาตจากศาลเสียกอน ซึ่งศาลจะ ตองมีคำสั่งในเรื่องดังกลาวโดยพลัน 4. แตละรัฐภาคีจะตองมีมาตรการที่จำเปนในการปองกันและลงโทษ การกระทำใดๆ ที่จะใหมีการยุติการสืบสวนสอบสวน จะตองทำให มั่นใจวาบุคคลที่ตองสงสัยวามีสวนในการทำความผิดฐานบังคับให บุคคลหายสาบสูญนั้น ไมอยูในตำแหนงที่มีอิทธิพลสามารถขัดขวาง ความคืบหนาของการสืบสวนสอบสวน โดยการกดดัน หรือกระทำ การอันเปนการขมขูคุกคาม หรือตอบโต ตอผูรองเรียน พยาน ญาติ ของบุคคลที่หายสาบสูญ หรือทนายความของบุคคลเหลานั้น หรือตอ บุคคลที่มีสวนในการสืบสวนสอบสวนคดีนั้น ขอ 13 1. เพื่อจุดประสงคในการสงผูรายขามแดนระหวางรัฐภาคีดวยกัน ความผิดฐานบังคับใหบุคคลหายสาบสูญนั้นจะตองไมถือวาเปน ความผิดทางการเมือง หรือเปนการกระทำผิดที่เกี่ยวของกับคดี การเมือง หรือเปนความผิดที่เกิดขึ้นจากมูลเหตุจูงใจทางการเมือง ดวยเหตุดังกลาว การขอใหสงผูรายขามแดนในขอหาบังคับให บุคคลหายสาบสูญนั้น จะตองไมถูกปฏิเสธโดยอาศัยเพียงเหตุผล ดังกลาวเทานั้น 2. ความผิดฐานบังคับใหบุคคลหายสาบสูญนั้น ใหถือเปนความผิด ที่สามารถสงผูรายขามแดนไดตามสนธิสัญญาสงผูรายขามแดน ที่มีอยูแลวระหวางรัฐภาคี กอนอนุสัญญานี้จะมีผลใชบังคับ 40 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

3. รัฐภาคีทั้งหลายจะตองนำความผิดฐานบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ ไประบุไวในสนธิสัญญาสงผูรายขามแดนที่จะทำตอไป โดยใหถือ เปนความผิดที่สงผูรายขามแดนได 4. ถารัฐภาคีหนึ่งมีขอกำหนดสงผูรายขามแดนตามสนธิสัญญาที่มี อยู ไดรับการรองขอใหสงผูรายขามแดนจากอีกรัฐภาคีหนึ่ง ที่ไมมี สนธิสัญญาสงผูรายขามแดนตอกัน ก็อาจพิจารณาใชอนุสัญญาฯ ฉบับนี้มาเปนพื้นฐานทางกฎหมายที่จำเปนสำหรับการสงผูราย ขามแดนในคดีความผิดฐานบังคับใหบุคคลหายสาบสูญได 5. รัฐภาคีทั้งหลายที่ไมมีขอกำหนดสงผูรายขามแดนตามสนธิสัญญา ที่มีอยู จะตองยอมรับวาความผิดฐานบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ เปนฐานความผิดที่สามารถสงผูรายขามแดนระหวางรัฐภาคีได 6. การสงผูรายขามแดนในทุกกรณี ใหเปนไปตามเงื่อนไขที่กำหนด ไวโดยกฎหมายของประเทศที่ถูกรองขอ หรือโดยสนธิสัญญาสง ผูรายขามแดนที่อาจใชบังคับได โดยเฉพาะอยางยิ่ง เงื่อนไขที่ เกี่ยวกับโทษขั้นต่ำสำหรับคดีสงผูรายขามแดน และมูลเหตุที่ ประเทศที่ถูกรองขออาจใชปฏิเสธการสงผูรายขามแดน หรือตั้ง เงื่อนไขตางๆ ในการสงผูรายขามแดน 7. จะตองไมตีความอนุสัญญานี้ ไปในทางที่บังคับพันธกรณีเพื่อให สงผูรายขามแดน ถารัฐภาคีที่ถูกรองขอมีเหตุผลที่เพียงพอที่เชื่อ ไดวา คำรองขอใหสงผูรายขามแดนนั้นมีความมุงหมายที่จะฟอง รองดำเนินคดี หรือลงโทษบุคคลใดๆ อันเนื่องมาจากมูลเหตุทาง เพศ เชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ เผาพันธุกำเนิด ทัศนะทางการเมือง หรือการเปนสมาชิกของกลุมสังคม หรือการปฏิบัติตามคำรองขอ จะเปนเหตุใหบุคคลดังกลาวนั้นไดรับอันตรายดวยเหตุดังกลาวนั้น ขอ 14 1. รัฐภาคีทั้งหลายจะตองชวยเหลือกันและกันอยางเต็มที่ โดยจัดให มีมาตรการที่จใหมีความชวยเหลือทางกฎหมายรวมกัน ในการดำเนิน The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 41

คดีเกียวกับขอหาความผิดฐานบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ รวม ทั้งการใหพยานหลักฐานทั้งหมดที่ตนมีอยูซึ่งจำเปนสำหรับการ ดำเนินคดี 2. การใหความชวยเหลือกันทางกฎหมาย ใหเปนไปตามเงื่อนไขของ กฎหมายในประเทศของรัฐภาคีที่ถูกรองขอ หรือโดยสนธิสัญญา ตางๆ ที่ใชบังคับไดสำหรับการชวยเหลือกันทางกฎหมาย รวมทั้ง เงื่อนไขเกี่ยวกับมูลฐานที่ประเทศที่ถูกรองขออาจใชปฎิเสธในการ จัดใหมีความชวยเหลือกันทางกฏหมาย หรืออาจใหมีความชวย เหลือกันโดยมีเงื่อนไข ขอ 15 รัฐภาคีทั้งหลายจะใหความรวมมือกัน และจะชวยใหมีมาตร การอยางดีที่สุดในการใหความชวยเหลือกัน เพื่อชวยเหลือผูตกเปน เหยื่อของการถูกบังคับใหหายสาบสูญ และในการคนหา การหาตำแหนง แหลงที่ และการปลอยบุคคลที่ถูกบังคับใหหายสาบสูญเปนอิสระ และ ในกรณีที่เสียชีวิต จะใหมีการขุดศพ ระบุเอกลักษณบุคคล และสง กลับรางของบุคคลที่หายสาบสูญ ขอ 16 1. จะไมมีรัฐภาคีใดกระทำตอบุคคลใดๆ โดยการเนรเทศ ผลักดัน กลับ สงมอบตัวหรือสงเปนผูรายขามแดนใหแกอีกรัฐหนึ่ง หาก มีมูลที่เพียงพอที่จะเชื่อไดวาบุคคลดังกลาวจะประสบกับอันตราย จากการถูกบังคับใหหายสาบสูญ 2. เพื่อความมุงหมายที่จะตัดสินวามีมูลเหตุดังกลาวขางตนหรือไม ใหพนักงานเจาหนาที่พิจารณาเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งสิ่ง ที่เกิดขึ้นในรัฐดังกลาว เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยาง รายแรงกวางขวาง หรือการละเมิดกฎหมายดานมนุษยธรรมระหวาง ประเทศอยางรายแรง 42 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

ขอ 17 1. จะตองไมมีบุคคลใดถูกคุมขังอยางลับๆ 2. เพื่อที่จะไมเปนการลบลางพันธกรณีระหวางประเทศของรัฐภาคี เกี่ยวกับการทำใหสูญเสียอิสรภาพของบุคคล ดังนั้นในกฎหมาย ของแตละรัฐภาคีจะ (ก) สรางเงื่อนไขสำหรับการออกคำสั่งที่จะบุคคลทำใหสูญเสีย อิสรภาพ (ข) ระบุผูมีอำนาจในการออกคำสั่งที่ทำใหบุคคลสูญเสียอิสรภาพ (ค) รับประกันวาบุคคลที่ถูกทำใหสูญเสียอิสรภาพจะถูกควบคุม ตัวเฉพาะในสถานที่ที่ไดรับการยอมรับอยางเปนทางการวา เปนสถานที่ใชสำหรับการการนั้นเทานั้น (ง) รับประกันวาบุคคลที่ถูกทำใหสูญเสียอิสรภาพจะไดรับอนุญาต ใหติดตอสื่อสารกับและไดรับการเยี่ยมเยียนจากครอบครัว ทนายความ หรือผูที่บุคคลนั้นเลือก ทั้งนี้ตามเงื่อนไขที่กำหนด โดยกฎหมาย หรือถาบุคคลดังกลาวเปนชาวตางประเทศ ก็ จะไดรับการติดตอจากเจาหนาที่ทางการทูตตามกฎหมาย ระหวางประเทศที่ใชอยู (จ) รับประกันวาจะมีพนักงานเจาหนาที่ และผูมีอำนาจตามกฎหมาย สามารถเขาถึงสถานที่อยูของผูที่สูญเสียอิสรภาพนั้นได ถา จำเปนก็ใหขออนุญาตจากศาลที่มีเขตอำนาจเสียกอน (ฉ) รับประกันวาบุคคลใดๆ ที่สูญเสียอิสรภาพ หรือผูแทนอันชอบ ดวยกฎหมายของบุคคลที่ตองสงสัยวาถูกบังคับใหหายสาบสูญ มีสิทธิจะไดเขาสูกระบวนการทางศาล เพื่อใหศาลมีคำสั่งโดย ไมชักชาวา การทำใหบุคคลนั้นสูญเสียอิสรภาพชอบดวย กฎหมายหรือไม และสั่งใหปลอยตัว ถาพบวาการทำใหสูญ เสียอิสรภาพนั้น ไมชอบดวยกฎหมาย ทั้งนี้ เนื่องจากบุคคล ที่สูญเสียอิสรภาพไมสามารถใชสิทธิตามกฎหมายได จึงจำเปน The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 43

ตองมีผูแทนอันชอบดวยกฎหมาย เชน ญาติของผูที่สูญเสีย อิสรภาพ หรือทนายความของบุคคลดังกลาว 3. แตละรัฐภาคีจะตองทำใหมั่นใจวามีการรวบรวมและเก็บรักษา เอกสารทางทะเบียนที่เปนปจจุบัน ที่บันทึกเกี่ยวกับบุคคลที่ถูก ทำใหสูญเสียอิสรภาพ ซึ่งจะตองนำมาแสดงไดโดยพลันเมื่อมีการ รองขอ โดยจะตองแสดงตอศาล หรือพนักงานเจาหนาที่หรือสถาบัน ที่มีอำนาจหนาที่ตามความมุงหมายของกฏหมายของรัฐภาคีที่ เกี่ยวของ หรือตามกฏหมายระหวางประเทศที่รัฐภาคีนั้นเกี่ยวของ โดยมีขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้ (ก) ระบุเอกลักษณบุคคลของผูที่ถูกทำใหสูญเสียอิสรภาพ (ข) วัน เวลา และสถานที่ที่บุคคลถูกทำใหสูญเสียอิสรภาพและ ระบุเจาหนาที่ที่ทำใหบุคคลดังกลาวสูญเสียอิสรภาพ (ค) เจาหนาที่ที่มีคำสั่งที่ทำใหบุคคลสูญเสียอิสรภาพ และเหตุผล ในการทำใหสูญเสียอิสรภาพ (ง) เจาหนาที่ที่รับผิดชอบการทำใหสูญเสียอิสรภาพ (จ) สถานที่ที่ใชในการทำใหสูญเสียเสรีภาพ วัน เวลาที่รับตัว เขามาควบคุม และเจาหนาที่ที่รับผิดชอบสถานที่ที่ใชในการ ทำใหสูญเสียอิสรภาพ (ฉ) ระบุสภาวะทางสุขภาพของบุคคลที่ถูกทำใหสูญเสียอิสรภาพ (ช) ในกรณีการเสียชีวิตระหวางถูกทำใหสูญเสียอิสรภาพ จะตอง ระบุสภาพการณและสาเหตุการตายและสถานที่ปลายทางที่ ไวศพของผูตาย (ซ) วันและเวลาของการปลอยตัว หรือการยายสถานที่คุมขัง จุดหมาย ปลายทาง และเจาหนาที่รับผิดชอบในการยายที่คุมขัง ขอ 18 1. ภายใตบทบัญญัติของขอ 19 และ 20 แตละรัฐภาคีจะตองรับประกัน ตอบุคคลใดๆ ก็ตามที่มีสวนไดเสียโดยชอบดวยกฏหมาย ในการ 44 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

ไดมาซึ่งขอมูล เชน ญาติของบุคคลที่ถูกทำใหสูญเสียอิสรภาพ ผูแทนหรือทนายความของคนเหลานั้น โดยใหสามารถเขาถึงขอมูล ไดอยางนอยที่สุดดังตอไปนี้ (ก) ชื่อเจาหนาที่ที่มีคำสั่งทำใหสูญเสียอิสรภาพ (ข) วันเวลาและสถานที่ที่บุคคลถูกทำใหสูญเสียอิสรภาพและวันที่ เขาไปอยูในสถานที่นั้น (ค) ชื่อเจาหนาที่ที่ทำหนาที่ควบคุม (ง) สถานที่ควบคุมตัวบุคคลที่ถูกทำใหสูญเสียอิสรภาพ รวมถึงกรณี ที่มีการยายไปอีกสถานที่หนึ่ง จุดหมายปลายทางและชื่อเจา หนาที่ที่รับผิดชอบในการยาย (จ) วันเวลาสถานที่ที่ถูกปลอยตัว (ฉ) สภาวะทางสุขภาพของบุคคลที่ถูกทำใหสูญเสียอิสรภาพ (ช) ถาเปนกรณีการเสียชีวิตระหวางที่สูญเสียอิสรภาพ จะตองระบุ สาเหตุการตายและสถานที่ปลายทางที่ไวศพของผูเสียชีวิต 2. จะตองมีมาตราการที่เหมาะสมเมื่อจำเปน ในการปองกันบุคคล ตามวรรค 1 รวมทั้งผูที่มีสวนรวมในการสืบสวนสอบสวน จากการ ปฏิบัติที่ไมชอบธรรม การถูกขมขูคุกคามและการแทรกแซงในการ คนหาขอมูลเกี่ยวกับบุคคลที่สูญเสียอิสรภาพ ขอ 19 1. ขอมูลสวนบุคคลซึ่งรวมถึงขอมูลทางการแพทยและพันธุกรรม ซึ่ง ถูกเก็บรวบรวมและ/หรือสงใหตามกรอบของการคนหาบุคคลที่ถูก บังคับใหหายสาบสูญ จะตองไมถูกนำไปใชหรือมีไวเพื่อการอยาง อื่น นอกเหนือจากการใชเพื่อการคนหาผูหายสาบสูญ แตทั้งนี้ บทบัญญัตินี้จะไมถูกนำไปใชเพื่อลบลางการใชขอมูลดังกลาว ในการดำเนินคดีอาญาอันเกี่ยวของกับความผิดฐานบังคับใหบุคคล นั้นหายสาบสูญ หรือการใชสิทธิเพื่อจะไดรับการชดใชเยียวยา The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 45

2. การเก็บรวบรวม การจัดทำ การใช หรือการเก็บรักษาขอมูลสวน บุคคล รวมถึงขอมูลทางการแพทยและพันธุกรรมจะตองไมละเมิด สิทธิหรือสงผลใหเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชน เสรีภาพขั้นพื้นฐาน หรือศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของบุคคล ขอ 20 เฉพาะกรณี เมื่อบุคคลไดรับการปกปองคุมครองตามกฎหมาย และการทำใหสูญเสียอิสรภาพนั้นอยูภายใตอำนาจควบคุมของศาล เทานั้น ที่สิทธิที่จะไดรับขอมูลตามขอ 18 อาจถูกจำกัดลงได ซึ่งถือ เปนกรณีที่เปนขอยกเวนอันมีความจำเปนอยางยิ่งตามที่กฎหมาย กำหนดไว และถาการสงขอมูลนั้นจะเปนการกระทบตอความเปน สวนตัว หรือความปลอดภัยของบุคคล หรือเปนขัดขวางการสืบสวน สอบสวนคดีอาญา หรือเปนเหตุผลอื่นๆ ตามกฎหมายซึ่งสอดคลอง กับกฎหมายระหวางประเทศ และสอดคลองกับวัตถุประสงคของ อนุสัญญาฉบับนี้ นอกจากนี้แลว จะตองไมมีกรณีใดๆ เลยที่จะมีการ จำกัดสิทธิในขอมูลขาวสารตามที่ระบุไวในขอ 18 ที่สามารถกอใหเกิด การดำเนินการตามที่นิยามไวในขอ 2 หรือเปนการละเมิดขอ 17 วรรค 1 โดยที่จะไมเปนการลบลางตอการพิจารณาวา การทำใหบุคคล สูญเสียอิสรภาพชอบดวยกฎหมายหรือไม รัฐภาคีทั้งหลายจะตอง ประกันวาบุคคลตามที่ระบุไวในขอ 18 วรรค 1 มีสิทธิที่จะไดรับการ เยียวยาโดยกระบวนการยุติธรรมโดยพลันและอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อเปนหนทางที่จะไดรับขอมูลตามที่ระบุไวในขอ 18 วรรค 1 โดย ไมชักชา สิทธิในอันที่จะไดรับการเยียวยานี้จะตองไมถูกระงับหรือ จำกัดไมวาในสภาพการณใดๆ ขอ 21 แตละรัฐภาคีจะตองดำเนินมาตรการที่จำเปนเพื่อใหมั่นใจวา บุคคลที่ถูกทำใหสูญเสียเสรีภาพจะไดรับการปลอยตัวในลักษณะที่มี ขอพิสูจนยืนยันที่ตรวจสอบไดวามีการปลอยตัวแลวจริง แตละรัฐภาคี 46 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

จะตองดำเนินมาตรการที่จำเปนเพื่อทำใหมั่นใจวารางกายของบุคคล นั้นอยูในสภาพที่แข็งแรง และอยูในสภาพที่สามารถที่จะใชสิทธิของ ตนไดอยางเต็มที่ในขณะที่ไดรับการปลอยตัว โดยที่จะไมเปนการ ลบลางพันธกรณีที่บุคคลดังกลาวนั้นอาจมีอยูตามกฎหมาย ขอ 22 เพื่อไมใหเปนการลบลางบทบัญญัติในขอ 6 แตละรัฐภาคีจะ ตองมีมาตรการที่จำเปนที่จะปองกันและลงโทษการกระทำตอไปนี้ (ก) การทำใหเกิดความลาชาหรือขัดขวางการเยียวยาตามขอ 17 วรรค 2 (ฉ) และขอ 20 วรรค 2 (ข) การไมลงบันทึกเรื่องการทำใหสูญเสียเสรีภาพของบุคคลใดๆ หรือทำบันทึกขอมูลใดๆ ที่เจาหนาที่ที่รับผิดชอบการลงทะเบียน อยางเปนทางการทราบ หรือควรจะทราบ โดยลงบันทึกอยาง ไมละเอียดถูกตอง (ค) การปฏิเสธในการจัดใหขอมูลเกี่ยวกับการทำใหสูญเสียเสรีภาพ ของบุคคล หรือใหขอมูลที่ไมถูกตองแมนยำ ถึงแมวาจะเปน เรื่องที่ถูกตองตามที่กฎหมายกำหนดแลวก็ตาม ขอ 23 1. แตละรัฐภาคีจะทำใหมั่นใจวา จะมีการอบรมเจาหนาที่ผูบังคับ ใชกฎหมาย ทั้งฝายพลเรือนและทหาร บุคคลากรทางการแพทย เจาหนาที่รัฐ และบุคคลอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวของกับการควบคุมตัว หรือการปฏิบัติตอผูถูกทำใหสูญเสียอิสรภาพ ซึ่งรวมถึงการใหการ ศึกษาและใหขอมูลที่จำเปนอันเกี่ยวกับอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ ทั้งนี้เพื่อ (ก) ปองกันไมใหเจาหนาที่เหลานี้มีสวนในการบังคับใหบุคคล หายสาบสูญ (ข) เนนถึงความสำคัญในการปองกันและการสืบสวนสอบสวน กรณีการบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 47

(ค) ทำใหแนใจวาจะตระหนักถึงความจำเปนเรงดวนในการคลี่คลาย คดีบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ 2. แตละรัฐภาคีจะตองทำใหแนใจวา คำสั่ง หรือคำชี้แนะ ที่ระบุให อำนาจ หรือสงเสริมใหมีการบังคับใหบุคคลหายสาบสูญนั้น เปน สิ่งที่จะกระทำมิได แตละรัฐภาคีจะตองประกันวาผูที่ปฏิเสธที่จะ ปฎิบัติตามคำสั่งนั้นจะไมตองถูกลงโทษ 3. แตละรัฐภาคีจะตองมีมาตรการที่จำเปนที่ทำใหแนใจไดวาบุคคล กลาวถึงในวรรค 1 ที่มีเหตุผลที่จะเชื่อไดวามีการบังคับใหบุคคล หายสาบสูญเกิดขึ้น หรือไดมีการวางแผนเกิดขึ้นแลว โดยจะตอง รายงานเรื่องนี้ตอผูบังคับบัญชา และถาจำเปนจะตองรายงานให กับพนักงานเจาหนาที่ หรือหนวยงานที่มีอำนาจในการตรวจสอบ และเยียวยาแกไข ขอ 24 1. เพื่อวัตถุประสงคของอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ “ผูเปนเหยื่อ” หมายถึง บุคคลที่หายสาบสูญ หรือบุคคลใดๆ ที่ไดรับความเสียหายอันเปน ผลโดยตรงการบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ 2. ผูตกเปนเหยื่อแตรายมีสิทธิในการรับรูความจริงอันเกี่ยวของกับ สภาพการณของการบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ ความคืบหนา และผลของการสืบสวนสอบสวน และชะตากรรมของบุคคลที่หาย สาบสูญ แตละรัฐภาคีจะตองมีมาตรการอยางเหมาะสมตอเรื่องนี้ 3. แตละรัฐภาคีจะตองมีมาตรการที่เหมาะสมในการคนหาตำแหนง แหงที่ควบคุมตัว และปลอยตัวบุคคลที่หายไป และในกรณีที่มี การเสียชีวิต จะตองหาตำแหนงแหงที่ เคารพและสงคืนรางของ ผูหายสาบสูญ 4. แตละรัฐภาคีจะตองทำใหมั่นใจวา ตนมีระบบกฎหมายที่ผูที่เปน เหยื่อของการบังคับใหหายสาบสูญจะไดรับสิทธิในการชดใชคาเสีย หายอยางเปนธรรมและเพียงพอโดยพลัน 48 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

5. สิทธิที่จะไดรับการชดใชคาเสียหายตามวรรค 4 ใหครอบคลุมถึง ความเสียหายทางดานวัตถุและดานจิตใจ โดยจะตองมีรูปแบบ การชดเชยเยียวยาที่เหมาะสม ดังเชน (ก) การทำใหกลับคืนดังเดิม (ข) การบำบัด (ค) การคืนศักดิ์ศรีความเปนมนุษยและชื่อเสียงเกียรติยศจนเปน ที่พึงพอใจ (ง) การรับประกันวาจะไมเกิดเรื่องซ้ำอีก 6. โดยที่จะไมเปนการลบลางพันธกรณีที่จะใหมีการสืบสวนสอบสวน อยางตอเนื่องจนกระทั่งเกิดความกระจางเกี่ยวกับชะตากรรมของ บุคคลที่หายสาบสูญ รัฐภาคีแตละรัฐจะตองจัดใหมีมาตรการที่ เหมาะสมเกี่ยวกับสถานการณดานกฎหมายของบุคคลที่ถูกบังคับ ใหหายสาบสูญ ผูซึ่งไมสามารถใหความกระจางเกี่ยวกับชะตากรรม ของบุคคลนั้นได และรวมถึงญาติ ในสวนที่เกี่ยวของกับสวัสดิการ ทางสังคม การเงิน กฎหมายครอบครัว และสิทธิในทรัพยสินตางๆ 7. แตละรัฐภาคีจะตองประกันสิทธิในการรวมตัวกันจัดตั้งและเขารวม อยางเสรีในองคกร หรือสมาคมที่เกี่ยวของกับการพยายามที่จะ ทราบถึงสภาพและชะตากรรมของบุคคลที่หายไป และใหความ ชวยเหลือผูเปนเหยื่อของการบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ ขอ 25 1. แตละรัฐภาคีจะตองมีมาตรการที่จำเปน ในการปองกันและลงโทษ ตามกฎหมายอาญา (ก) การพรากเด็กไปโดยไมชอบ ใหเปนบุคคลที่ถูกบังคับใหหาย สาบสู ญ จากบิดา มารดา หรือผูปกครอง ตามกฎหมาย ซึ่งเปนบุคคลที่ถูกบังคับใหหายสาบสูญ หรือที่เกิดระหวางที่ มารดาเปนบุคคลถูกบังคับใหหายสาบสูญ The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 49

(ข) การปลอมแปลง การปดบัง การทำลายเอกสารที่เกี่ยวกับการ พิสูจนเอกลักษณบุคคลของเด็กตามอนุวรรค (ก) 2. แตละรัฐภาคีจะตองมีมาตราการที่จำเปนในการคนหาและระบุถึง เด็กตามวรรค 1 (ก) และสงคืนเด็กเหลานั้นใหกับครอบครัวตน กำเนิด ที่สอดคลองกับกระบวนการตามกฎหมายและตามขอตกลง ระหวางประเทศที่ใชบังคับ 3. รัฐภาคีทั้งหลายจะชวยเหลือกันและกันในการคนหาระบุเอก ลักษณบุคคล และระบุสถานที่ควบคุมตัวของเด็กตามวรรค 1 (ก) 4. ดวยเหตุแหงความจำเปนที่จะตองคุมครองประโยชนสูงสุดของเด็ก ตามที่อางไวในวรรค 1 (ก) และดวยสิทธิของพวกเขา ที่จะสงวน ไวหรือสถาปนาใหมอีกครั้ง ซึ่งเอกลักษณบุคคล ซึ่งรวมถึงสัญชาติ ชื่อ และความสัมพันธในทางเครือญาติ ตามที่ยอมรับโดยกฎหมาย รัฐภาคีทั้งหลายที่ยอมรับระบบการรับรองบุตรบุญธรรม หรือรูป แบบใดๆ ในการดูแลเด็ก จะตองมีกระบวนการทางกฎหมายเพื่อ ทบทวนการรับเปนบุตรบุญธรรม การดูแลเด็ก และ ถาเปนกรณี ที่เหมาะสมก็ใหยกเลิกการรับเปนบุตรบุญธรรมที่เกิดขึ้นกับเด็ก ของบุคคลที่ถูกบังคับใหหายสาบสูญ 5. ในทุกกรณีี และโดยเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับขอ 25 นี้ทั้งหมด ประโยชนสูงสุดของเด็กจะตองเปนหลักประการแรกในการพิจารณา และเด็กที่สามารถใหทัศนะของตนเองได จะตองมีสิทธิในการแสดง ออกซึ่งทัศนะเหลานั้นอยางเสรี ทัศนะดังกลาวของเด็กใหมีน้ำหนัก ตามอายุและวุฒิภาวะของเด็ก ภาค 2 ขอ 26 1. ใหจัดตั้งคณะกรรมการเรื่องการบังคับใหบุคคลหายสาบสูญ (ตอ ไปในที่นี้เรียกวา “คณะกรรมการฯ”) เพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่กำหนด 50 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

ไวในอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ คณะกรรมการฯ จะประกอบไปดวยผู เชี่ยวชาญจำนวนสิบคนที่เปนผูมีจริยธรรมและมีคุณวุฒิเปนที่ ยอมรับในดานสิทธิมนุษยชน ซึ่งเขารับตำแหนงในฐานะสวนบุคคล เปนอิสระ และไมฝกใฝฝายใด สมาชิกของคณะกรรมการฯ จะได รับการเลือกตั้งโดยรัฐภาคีทั้งหลาย โดยกระจายกันไปตามที่ตั้ง ทางภูมิศาตรโดยเทาเทียมกัน เปนการสมควรที่จะพิจารณาประโยชน จากการมีสวนรวมของคณะกรรมการที่มีบุคคลที่มีประสบการณทาง กฎหมายที่เกี่ยวของ และมีตัวแทนเพศสภาวะในสัดสวนที่สมดุล 2. สมาชิกของคณะกรรมการฯ จะไดรับเลือกตั้งดวยวิธีลงคะแนนลับ โดยเลือกจากรายชื่อของบุคคลที่ถูกเสนอโดยรัฐภาคีตางๆ จากบุคคล สัญชาติตน ในระหวางการประชุมรัฐภาคีทั้งหลายทุกๆ 2 ปที่จัดขึ้น โดยเลขาธิการองคการสหประชาชาติเพื่อวัตถุประสงคนี้ การประชุม นั้นตองประกอบดวยรัฐภาคี 2 ใน 3 จึงจะครบเปนองคประชุม บุคคล ที่ไดรับเลือกตั้งใหเปนคณะกรรมการฯ จะตองไดรับคะแนนสูงสุด โดยลำดับ ซึ่งเปนคะแนนเสียงขางมากโดยเด็ดขาดจากผูแทนรัฐ ภาคีทั้งหลายที่รวมประชุมและรวมลงคะแนน 3. การเลือกตั้งครั้งแรกจะจัดใหมีขึ้นอยางชาภายในกำหนด 6 เดือน นับแตวันที่อนุสัญญาฯ ฉบับนี้มีผลบังคับใช โดย 4 เดือนกอนวัน ที่จะมีการเลือกตั้งคณะกรรมการฯ แตละครั้ง เลขาธิการองคการ สหประชาชาติจะตองออกจดหมายเชิญรัฐภาคีทุกรัฐ ใหเสนอชื่อ บุคคลที่จะเขารับการเลือกตั้งภายกำหนดเวลา 3 เดือน เลขาธิการฯ จะจัดทำบัญชีรายชื่อผูที่ถูกเสนอโดยเรียงตามลำดับตัวอักษร โดย ระบุวาเสนอชื่อโดยรัฐภาคีใด แลวเสนอบัญชีนั้นตอรัฐภาคีทุกรัฐ 4. กรรมการฯ จะดำรงตำแหนงวาระละ 4 ป โดยมีสิทธิรับเลือกตั้ง ไดอีกหนึ่งวาระ อยางไรก็ตาม สมาชิกจำนวน 5 คนที่ไดรับเลือก ตั้งในคราวแรกจะสิ้นสุดลงหลังจากครบกำหนด 2 ป โดยในทันที หลังจากการเลือกตั้งครั้งแรก ใหประธานกรรมการฯ ตามที่อาง ไวในวรรค 2 เลือกรายชื่อทั้ง 5 นั้นโดยวิธีจับฉลาก The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 51

5. ถากรรมการฯทานใด เสียชีวิต หรือลาออก หรือไมสามารถปฏิบัติ หนาที่ไดดวยเหตุผลใดๆก็ตามอีกตอไป ก็ใหรัฐภาคีที่เสนอชื่อ กรรมการผูนั้นเสนอชื่อบุคคลสัญชาติตนเขารับการเลือกตั้งใหเปน กรรมการแทน แตทั้งนี้ตองไดรับความเห็นชอบจากเสียงขางมาก ของรัฐภาคีทั้งหลาย โดยใหถือวาไดรับความเห็นชอบจากรัฐภาค แลว เวนแตวาจะมีรัฐภาคียางนอยที่สุดกึ่งหนึ่งหรือมากกวาปฎิเสธ ภายใน 6 สัปดาห หลังจากที่ไดรับแจงชื่อผูถูกเสนอชื่อจาก เลขาธิการองคการสหประชาชาติ 6. ใหคณะกรรมการฯ กำหนดขอบังคับการปฏิบัติงานของตนเอง 7. เลขาธิการองคการสหประชาชาติจะจัดหาเจาหนาที่ และสิ่งอำนวย ความสะดวกที่จำเปนเพื่อการปฏิบัติหนาที่อยางมีประสิทธิภาพ ของคณะกรรมการฯ เลขาธิการองคการสหประชาชาติจะเปนประธาน เปดการประชุมคณะกรรมการฯนัดแรก 8. กรรมการฯจะไดรับการอำนวยความสะดวก เอกสิทธิ์ และความ คุมกัน ในการปฏิบัติงานเปนผูเชี่ยวชาญขององคการสหประชาชาติ ดังที่ไดระบุไวตามขอบัญญัติของอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวย เรื่องเอกสิทธิ์และความคุมกันขององคการสหประชาชาติ 9. แตละรัฐภาคีจะใหความรวมมือกับคณะกรรมการฯ และชวยเหลือ กรรมการฯ เพื่อใหประสบความสำเร็จในการดำเนินการตามภาระ หนาที่ของคณะกรรมการฯ ตามที่รัฐภาคีไดใหการยอมรับไว ขอ 27 ใหมีการประชุมรัฐภาคีอยางเร็วที่สุดหลัง 4 ป แตไมเกิน 6 ป หลังจากวันที่อนุสัญญาฯ ฉบับนี้มีผลบังคับใช เพื่อประเมินผลการ ดำเนินการของคณะกรรมการฯ และตัดสินตามกระบวนการที่ระบุไว ในขอ 44 วรรค 2 วาสมควรที่จะโอนยายอำนาจหนาที่ในการตรวจตรา อนุสัญญาฯฉบับนี้ใหหนวยงานอื่นหรือไม โดยไมตัดเความเปนไปไดใดๆ ที่จะตรวจตราอำนาจหนาที่ดังกลาว ทั้งนี้ ตามทีร่ ะบุไวในขอ 28 ถึงขอ 36 ของอนุสัญญาฯ นี้ 52 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

ขอ 28 1. ในกรอบการทำงานที่ไดรับมอบหมายภายใตอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ คณะกรรมการฯ จะตองรวมมือกับหนวยงาน สำนักงาน องคการ ชำนัญพิเศษ กองทุน ขององคการสหประชาชาติที่เกี่ยวของทั้งหมด กรรมการของสนธิสัญญาที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายระหวางประเทศ กระบวนการพิเศษขององคการสหประชาชาติ องคการระหวาง ประเทศในระดับภูมิภาค รวมทั้งสถาบัน หนวยงาน สำนักงาน ของรัฐที่เกี่ยวของกับการคุมครองบุคคลทุกคนจากการถูกบังคับ ใหหายสาบสูญ ในการปฏิบัติหนาที่ตามกำหนดมอบหมาย ใหคณะกรรมการฯ จะตองปรึกษาคณะกรรมการอื่นๆ ที่จัดตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาระหวาง ประเทศดานสิทธิมนุษยชนตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนที่จัดตั้งขึ้นตามกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง เพื่อทำใหมั่นใจวามีความตอเนื่องในเรื่องการ ปฏิบัติตามขอสังเกตและขอเสนอแนะ ขอ 29 1. แตละรัฐภาคีจะสงรายงานตอคณะกรรมการฯ โดยผานทางเลขา ธิการองคการสหประชาชาติ ในเรื่องมาตราการที่ไดดำเนินไปตาม พันธะผูกพันที่ตนมีภายใตภายใตอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ ภายในเวลา 2 ปหลังจากอนุสัญญาฯ ฉบับนี้มีผลบังคับใชกับประเทศนั้นๆ 2. เลขาธิการขององคการสหประชาติจะตองสงรายงานนี้ใหแกรัฐ ภาคีทั้งหลาย 3. รายงานแตละฉบับจะไดรับการพิจารณาจากคณะกรรมการฯ ซึ่ง จะมีการออกรายงานขอวิจารณ ขอสังเกต ขอเสนอแนะตามที่ กรรมการเห็นสมควร ขอวิจารณ ขอสังเกต และขอเสนอแนะจะ สงใหรัฐภาคีที่เกี่ยวของซึ่งอาจตอบสนองตอสิ่งเหลานั้นเอง หรือ ตามที่คณะกรรมการฯ รองขอ The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 53

4. คณะกรรมการฯ อาจจะรองขอใหรัฐภาคีทั้งหลายจัดสงขอมูลเพิ่ม เติมเกี่ยวกับการปฏิบัติตามอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ได ขอ 30 1. อาจมีการขอใหมีการเสนอรายงานการคนหาบุคคลที่ถูกบังคับให หายสาบสูญตอคณะกรรมการฯ เปนกรณีเรงดวนจากญาติของ บุคคลที่หายสาบสูญ และผูแทนตามกฎหมาย และทนายความ หรือบุคคลใดๆ ที่ไดรับมอบอำนาจ หรือบุคคลใดๆ ที่มีสวนได เสียโดยชอบธรรม 2. ถาคณะกรรมการฯ ไดพิจารณาการรองขอเปนกรณีเรงดวนตาม วรรค 1 จะตอง (ก) ไมมีการประกาศวาเปนบุคคลที่ไมพบ (ข) ไมเปนการกอตั้งการรองขอโดยละเมิดสิทธิ (ค) ไดมีการดำเนินการนำเสนอโดยถูกตองตอหนวยงานที่มีอำนาจ หนาที่ของรัฐภาคีที่เกี่ยวของ เชน เจาพนักงานที่มีอำนาจใน การสืบสวนสอบสวนซึ่งนาจะเปนไปไดที่จะมีอยู (ง) ไมมีการกระทำที่ไมสอดคลองกับขอบทตางๆ ของอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ และ (จ) เรื่องเดียวกันนี้ ไมไดถูกดำเนินการตรวจสอบภายใตกระบวน อื่นๆ ในการสอบสวนระหวางประเทศอื่น หรือมีการยุติใน ลักษณะเดียวกันแลว ก็ใหคณะกรรมการรองขอใหรัฐภาคีที่ เกี่ยวของนั้นจัดใหขอมูลสถานการณของบุคคลที่คนหาภาย ในระยะเวลาที่คณะกรรมการฯ กำหนด 3. ตามขอมูลที่รัฐภาคีจัดใหตามวรรค 2 คณะกรรมการฯ อาจจะสง ขอเสนอแนะไปยังรัฐภาคีนั้น ซึ่งรวมถึงขอเรียกรองใหรัฐภาคีดัง กลาวดำเนินมาตรการที่จำเปน ซึ่งรวมถึงมาตรการชั่วคราว ใน การระบุตำแหนงแหลงที่และการปกปองคุมครองบุคคลที่เกี่ยวของ ตามอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ แลวแจงใหคณะกรรมการฯ ทราบเกี่ยวกับ 54 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

คณะกรรมการฯ จะตองใชความพยายามตอไปที่จะทำงานกับ รัฐภาคีที่เกี่ยวของ ตราบใดที่ยังไมทราบชะตากรรมของบุคคลดังกลาว โดยจะตองรายงานใหผูรองเรียนไดรับทราบตลอดเวลา ขอ 31 1. รัฐภาคีใดๆ ในขณะที่ลงนามใหสัตยาบันอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ หรือ เมื่อใดก็ตามหลังจากนั้น อาจทำประกาศยอมรับอำนาจของคณะ กรรมการฯ ที่จะรับและพิจารณาขอสื่อสารรองเรียนจากหรือแทน ปจเจกบุคคลที่อยูภายใตเขตอำนาจศาลตนที่อางวาตกเปนเหยื่อ ของการละเมิดบทบัญญัติของอนุสัญญานี้โดยรัฐภาคีนั้น คณะ กรรมการฯ จะไมรับขอสื่อสารรองเรียนเกี่ยวกับรัฐภาคีใดๆ ที่ยัง ไมไดทำประกาศดังกลาว 2. คณะกรรมการฯจะพิจารณาขอสื่อสารรองเรียนวาไมสามารถรับ ฟงได ในกรณี (ก) เปนบัตรสนเทห (ข) เปนขอสื่อสารรองเรียนที่ละเมิดสิทธิของการยื่นขอสื่อสารรอง เรียนนั้น หรือไมสอดคลองกับบทบัญญัติของอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ (ค) เรื่องเดียวกันนี้ไมเคยมีการตรวจสอบภายใตกระบวนการอื่นๆ ระหวางประเทศในการสืบสวนหรือหาขอยุติในลักษณะเดียว กันมากอน (ง) ไดมีการเยียวยาในประเทศอยางไดผลแลว หลักการนี้จะใช ไมไดกับการเยียวยาที่ลาชาโดยไมมีเหตุผลอันสมควร 3. ถาคณะกรรมการฯ พิจารณาแลวเห็นวาขอสื่อสารรองเรียนใดเปน ไปตามขอกำหนดที่ระบุไวในวรรค 2 แลว ก็ใหสงขอสื่อสารรอง เรียนนั้นใหกับรัฐภาคีที่เกี่ยวของ เพื่อใหทำขอสังเกตและขอคิด เห็นกลับมาภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการฯ กำหนด 4. เมื่อใดก็ตามภายหลังจากไดรับขอสื่อสารรองเรียน และกอนที่จะ ตัดสินวามีมูลหรือไม คณะกรรมการฯ อาจสงเรื่องใหรัฐภาคีที่ The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 55

เกี่ยวของพิจารณาอยางเรงดวน เพื่อใหใชมาตรการชั่วคราวตาม ความจำเปน เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหเหยื่อที่ถูกละเมิดไดรับความเสีย หายที่ไมอาจแกไขได ทั้งนี้เมื่อคณะกรรมการฯ ไดใชดุลยพินิจ ไปเชนนั้นแลว ก็ไมหมายความวาคณะกรรมการฯ จะรับขอสื่อสาร รองเรียน หรือถือวาขอสื่อสารรองเรียนนั้นมีมูลแลว 5. คณะกรรมการฯ จะตองจัดการประชุมลับในการพิจารณาตรวจสอบ ขอสื่อสารรองเรียนตามขอบทนี้ คณะกรรมการฯ จะตองแจงใหผู ทำขอสื่อสารรองเรียนทราบการตอบสนองจากรัฐภาคีที่เกี่ยวของ เมื่อคณะกรรมการฯ ตัดสินที่จะยุติกระบวนการ ก็จะตองสงความ เห็นไปใหรัฐภาคีและผูทำขอสื่อสารรองเรียนใหทราบดวย ขอ 32 รัฐภาคีรัฐใดรัฐหนึ่งตามอนุสัญญาฯ ฉบับนี้อาจทำคำประกาศ เมื่อใดก็ได เพื่อยอมรับอำนาจของคณะกรรมการฯ ที่จะรับและพิจารณา ขอสื่อสารรองเรียนของรัฐภาคีอื่น ที่กลาวอางวาตนไมทำตามพันธ กรณีในอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ คณะกรรมการฯ จะตองไมรับขอสื่อสาร รองเรียนเกี่ยวกับรัฐภาคีที่ยังไมไดทำคำประกาศไว หรือขอสื่อสาร รองเรียนจากรัฐที่ยังไมไดทำคำประกาศนั้นเชนกัน ขอ 33 1. ถาคณะกรรมการฯ ไดรับขอมูลที่นาเชื่อถือวารัฐภาคีใดไดกระทำ การอันเปนการละเมิดขอบทในอนุสัญญาฯ ฉบับนี้อยางรายแรง ภายหลังการปรึกษาหารือรัฐภาคีที่เกี่ยวของแลว ก็อาจขอใหกรรม การคนใดคนหนึ่งหรือหลายคน ไปตรวจเยี่ยมและจัดทำรายงาน กลับมาใหคณะกรรมการฯ โดยไมลาชา 2. คณะกรรมการฯ จะตองแจงใหรัฐภาคีที่เกี่ยวของทราบเปนลาย ลักษณอักษรถึงความตั้งใจที่จะไปตรวจเยี่ยม โดยระบุวาประกอบ ดวยใครบาง และมีวัตถุประสงคยางไรในการตรวจเยี่ยม รัฐภาคี ดังกลาวจะตองตอบคณะกรรมการฯ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม 56 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

3. เมื่อรัฐภาคีนั้นไดมีคำรองขอที่รับฟงได คณะกรรมการฯ อาจจะ ตัดสินใจเลื่อน หรือยกเลิกการตรวจเยี่ยมก็ได 4. ถารัฐภาคีนั้นเห็นดวยกับการตรวจเยี่ยม คณะกรรมการฯ และรัฐ ภาคีที่เกี่ยวของจะตองทำงานดวยกันเพื่อกำหนดรูปแบบวิธีการ ตรวจเยี่ยม โดยรัฐภาคีดังกลาวจะตองจัดสิ่งอำนวยความสะดวก ที่จำเปนใหคณะกรรมการฯ เพื่อใหการตรวจเยี่ยมประสบผลสมบูรณ 5. ภายหลังการตรวจเยี่ยม คณะกรรมการฯ จะตองสงหนังสือรายงาน ขอสังเกตและขอเสนอแนะถึงรัฐภาคีที่เกี่ยวของนั้น ขอ 34 ถาคณะกรรมการฯ ไดรับขอมูลที่ปรากฏวามีเนื้อหาที่บงชี้และ หนักแนนวา มีการบังคับใหบุคคลหายสาบสูญเกิดขึ้นอยางกวางขวาง และอยางเปนระบบ ในเขตแดนภายใตขอบเขตอำนาจศาลของรัฐภาคีใด ภายหลังจากคนควาขอมูลที่เกี่ยวกับสถานการณดังกลาวจากรัฐภาคี นั้นแลว คณะกรรมการฯ อาจใหนำเรื่องเสนอตอการประชุมสมัชชา ใหญขององคการสหประชาชาติเปนการเรงดวน โดยสงเรื่องผานเลขา ธิการองคการสหประชาชาติ ขอ 35 1. ใหคณะกรรมการฯ จะมีอำนาจเฉพาะที่เกี่ยวกับบุคคลที่ถูกบังคับ ใหหายสาบสูญ โดยจะเกิดขึ้นหลังจากที่อนุสัญญาฯ ฉบับนี้มีผล บังคับใชเทานั้น 2. พันธกรณีของรัฐใดตอคณะกรรมการฯ เกี่ยวกับการบังคับใหบุคคล หายสาบสูญเกิดขึ้นหลังจากที่รัฐนั้นไดเขาเปนรัฐภาคีในอนุสัญญาฯ แลวเทานั้น ขอ 36 1. คณะกรรมการฯ จะตองสงรายงานกิจกรรมประจำปภายใตอนุ สัญญาฯ ฉบับนี้ตอรัฐภาคีทั้งหลาย และตอที่ประชุมใหญสามัญ องคการสหประชาชาติดวย The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 57

2. ก อ นจะตี พ ิ ม พ ผ ลสั ง เกตการณ เ กี ่ ย วกั บ รั ฐ ภาคี ใ ดในรายงาน ประจำป รัฐภาคีที่เกี่ยวของจะตองไดรับแจงลวงหนาและจะตอง ใหเวลาที่เหมาะสมในการใหคำตอบ รัฐภาคีนั้นอาจรองขอให ตีพิมพขอคิดเห็นหรือผลสังเกตการณไวในรายงานดังกลาวดวย ภาค 3 ขอ 37 ไมมีสิ่งใดในอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ที่กระทบตอบทบัญญัติที่มี ประโยชนมากกวาในการคุมครองบุคคลจากการถูกบังคับใหหาย สาบสูญ ซึ่งบทบัญญัติตางๆ นั้นอาจบรรจุอยูใน (ก) กฎหมายภายในของรัฐภาคี (ข) กฎหมายระหวางประเทศที่บังคับใชกับรัฐนั้นได ขอ 38 ๑. อนุสัญญาฯ ฉบับนี้เปดใหมีการลงนามโดยรัฐสมาชิกทั้งหลายของ องคการสหประชาชาติ ๒. อนุสัญญาฯ ฉบับนี้เปดรับสัตยาบันโดยรัฐสมาชิกทั้งหลายของ องคการสหประชาชาติ โดยใหมอบสัตยาบันสารไวที่เลขาธิการ สหประชาชาติ ๓. อนุสัญญาฯ ฉบับนี้เปดใหภาคยานุวัติโดยรัฐสมาชิกทั้งหลายของ สหประชาชาติ การภาคยานุวัตรจะมีผลตอเมื่อมีการมอบภาคยา นุวัตรสารแกเลขาธิการสหประชาชาติเก็บรักษา ขอ 39 1. อนุสัญญาฯ ฉบับนี้จะมีผลบังคับใชในวันที่สามสิบ หลังจากที่ได มีการมอบมอบสัตยาบันสาร หรือภาคยานุวัติสารฉบับที่ 20 ตอ เลขาธิการสหประชาชาติแลว 58 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

2. สำหรับแตละรัฐที่สัตยาบันหรือภาคยานุวัตินุสัญญาฯ ฉบับนี้หลัง จากที่มีการมอบสัตยาบันสารหรือภาคยานุวัตสารฉบับที่ 20 แลว อนุสัญญาฯ ฉบับนี้จะมีผลบังคับใชในวันที่สามสิบหลังจากที่รัฐ นั้นไดมอบสัตยาบันสารหรือภาคยานุวัติสารของตนแลว ขอ 40 เลขาธิการสหประชาชาติจะตองแจงรัฐสมาชิกทุกรัฐขององคการ สหประชาชาติ และทุกรัฐซึ่งไดลงนาม หรือภาคยานุวัติอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ ทราบเรื่องตอไปนี้ (ก) การลงนาม การใหสัตยาบัน และการภาคยานุวัติ ตามขอ 38 (ข) วันที่อนุสัญญาฯ ฉบับนี้มีผลใชบังคับตามขอ 39 ขอ 41 บทบัญญัติของอนุสัญญานี้ใหปรับใชโดยครอบคลุมทุกภาคสวน ของสหพันธรัฐโดยไมมีขอจำกัดหรือขอยกเวนใดๆ ขอ 42 1. ถามีขอพิพาทระหวางรัฐภาคีสองรัฐหรือมากกวา เกี่ยวกับการตีความ หรือการปรับใชอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ ซึ่งไมสามารถตกลงกันไดโดย การตอรองหรือโดยกระบวนการที่ไดระบุไวในอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ เมื่อฝายใดฝายหนึ่งรองขอ ก็ใหสงเรื่องพิพาทใหอนุญาโตตุลาการ แตถาหากภายในหกเดือนนับแตวันที่สงเรื่องใหอนุญาโตตุลาการ แลว ทั้งสองฝายยังไมสามารถตกลงกันได โดยการอนุญาโตตุลาการ ฝายหนึ่งฝายใดอาจจะสงเรื่องพิพาทนี้ไปยังศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศโดยยื่นขอรองเรียนตามธรรมนูญของของศาล 2. รัฐใดก็ตาม ในขณะที่ลงนามหรือใหสัตยาบันอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ หรือทำภาคยานุวัติ อาจทำคำประกาศวาจะไมเขาผูกพันตามวรรค 1 ในขอบทนี้ก็ได โดยก็จะมีผลใหรัฐภาคีอื่นๆ ไมผูกพันตามวรรค 1 ของขอบทนี้ ตอรัฐที่ไดทำคำประกาศนั้นดวยเชนกัน The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 59

3. รัฐภาคีที่ไดแสดงเจตนาไวในบทบัญญัติในวรรค 2 ในขอบทนี้ อาจจะเพิกถอนคำประกาศโดยทำเปนคำบอกกลาวแจงใหเลขาธิการ สหประชาชาติทราบ ขอ 43 อนุสัญญาฯ ฉบับนี้ไมมีผลลบลางกฎหมายระหวางประเทศ ดานมนุษยธรรม รวมถึงพันธกรณี ของ High Contracting Parties ที่มีตออนุสัญญาเจนีวาทั้งสี่ฉบับของวันที่ 12 สิงหาคม 2492 และ ในพิธีสารเลือกรับของป 2520 หรือโอกาสสำหรับรัฐภาคีใดๆ ที่จะ มอบอำนาจใหคณะกรรมการกาชาดสากล เพื่อเยี่ยมสถานที่คุมขังใน สถานการณซึ่งไมครอบคลุมโดยกฎหมายระหวางประเทศดานมนุษยธรรม ขอ 44 1. รัฐภาคีใดของอนุสัญญาฯ ฉบับนี้อาจเสนอการแกไขอนุสัญญาโดย ยื่นเรื่องใหกับเลขาธิการสหประชาชาติ เลขาธิการสหประชาชาติ จะตองเรื่องการเสนอแกไขไปยังรัฐภาคีอื่นๆ ของอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ โดยขอใหรัฐภาคีระบุวาเห็นชอบที่จะใหมีการจัดประชุมเพื่อพิจารณา และลงคะแนนขอเสนอแกไขหรือไม ในกรณีที่ภายในระยะเวลา 4 เดือนนับแตวันที่สงจดหมายออกไป หากอยางนอยหนึ่งในสาม ของรัฐภาคีเห็นชอบตอขอเสนอใหมีการประชุม ก็ใหเลขาธิการ สหประชาชาติจะนัดประชุมภายใตการอุปถัมภ ของสหประชาชาติ 2. การแกไขใดๆ ที่เห็นชอบดวยคะแนนสนับสนุนดวยเสียงสวนใหญ สองในสามของรัฐภาคีที่เขาประชุมและลงคะแนน จะสงใหเลขา ธิการสหประชาชาติเพื่อสงใหรัฐภาคีทุกรัฐเพื่อใหการยอมรับ 3. การแกไขอนุสัญญาฯ ที่ผานความเห็นชอบตามวรรค 1 ของขอบทนี้ จะมีผลบังคับใชเมื่อรัฐภาคีจำนวนสองในสามของอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ไดใหการยอมรับตามกระบวนการรัฐธรรมนูญแลว 4. เมื่อการแกไขอนุสัญญาฯ ฉบับนี้มีผลบังคับ ก็ใหมีผลผูกพันรัฐ 60 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

ภาคีที่ไดใหการยอมรับขอแกไขนั้น สำหรับรัฐภาคีอื่นๆ ก็จะยัง คงผูกพันตามบทบัญญัติของอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ และขอแกไขกอน หนานั้นที่ตนไดยอมรับไปแลว ขอ 45 1. อนุสัญญาฯ ฉบับนี้ ฉบับที่เปนภาษาอาหรับ จีน อังกฤษ ฝรั่งเศส และสเปน มีฐานะใชไดเทาเทียมกัน โดยจะมอบไวกับเลขาธิการ สหประชาชาติ 2. เลขาธิการสหประชาชาติจะสงสำเนาที่รับรองถูกตองของอนุสัญญาฯ ฉบับนี้ ใหแกรัฐภาคีทั้งหมดตามที่ระบุในขอ 38 ……………………………………..

The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 61

เมื่อพอ… ถูกบังคับใหหายไป “การถูกบังคับใหหายตัวไป” สาเหตุของความพลัดพรากที่ไมไดมา จากเหตุผลตามธรรมชาติ และไมไดเกิดขึ้นทั่วไป ซึ่งเราก็ไมคาดคิดวาเรื่อง แบบนี้จะเกิดขึ้นกับ “พอ” ทนายสมชาย นีละไพจิตร…หัวหนาครอบครัว ของเรา ที่ถูกบังคับใหหายตัวไป เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2547 นะเปนลูกสาวคนโตของครอบครัว ถาจะยอนถามถึงเหตุการณและ ความรูสึกในชวงนั้น นะคงอธิบายไดไมชัดเจนนัก รูเพียงวา ทุกอยางมีแต ความสับสนวุนวายจนทุกคนตั้งตัวไมติด อยางแรกที่สำคัญคือ เรายังทำ ความเขาใจและยอมรับกับคำวา “ถูกบังคับใหหายตัวไป” ไมคอยได ในยุคที่เรานับถือกฎหมายและนิติธรรมเปนเสาหลักของสังคม เรา ไมคิดวาคนคนหนึ่งจะถูกบังคับใหหายตัวไปไดงายๆ แมอยูในบริเวณที่ผู คนพลุกพลาน ไมทันที่ปญหาเหลานี้จะไดรับคำตอบ เราทุกคนในครอบครัว ตองทำความคุนเคยกับการที่นักขาว นักหนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน รวม ทั้งตำรวจจากหลายหนวยที่ตางเขามาที่บานเพื่อถามคำถามเดิมซ้ำแลว ซ้ำเลา เราทุกคนตองชวยกันรับโทรศัพทที่เขามาทุกสิบนาที จากคนรูจัก บาง ไมรูจักบาง โทรทัศนทุกชองมีแตขาวของพอ และมีทุกชั่วโมง เห็น หนาพอในหนังสือพิมพทุกฉบับ เราตองยอมรับกับการพาดหัวขาวซึ่งดู รุนแรง รวมทั้งกระแสขาวตางๆ ทั้งที่จริงและไมจริง ตอนนั้น นะเรียนจบและเริ่มทำงานรับราชการแลว ไมใชนักศึกษา หรือนักเรียนที่อยูในชวงการปดเทอมอยางนองๆ เวลาที่จะนั่งคิดทบทวน เหตุการณตางๆ หรือปรับสภาพจิตใจมีไมมากนัก นะใชเวลาเพียง 2 วัน แลวก็ตัดสินใจไปทำงานในวันรุงขึ้น พยายามทำงานใหไดเต็มที่ที่สุดเทา ที่จะทำได และพยายามเก็บความรูสึกตางๆ ไวเพื่อไมใหกระทบกับการ ทำงานและผูรวมงานคนอื่นๆ การยอมรับสภาพความเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่เกิดขึ้น ทามกลางสภาพจิตใจที่ย่ำแยในตอนนั้น สุดที่จะบรรยายได เรา ตองออกไปขางนอกบานทั้งที่เปนหวงคนในบาน เปนหวงพอ The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 63

‘แม’ (อังคณา นีละไพจิตร) เปนคนแรกที่ถามถึงเรื่องงานและบอกวา อยากใหนะกลับไปทำงานตามปกติ แมพูดเสมอวาไมอยากใหสิ่งที่เกิดขึ้น ทำใหชีวิตของเราหมดความกาวหนา แมอยากใหทุกคนเดินตอไปตาม เสนทางของตนเอง นี่เปนสิ่งหนึ่งที่ทำใหนะรูสึกเขมแข็งขึ้น คิดเอาวา อยางนอย การเดินหนาของเราตองทำใหแมสบายใจและหมดความกังวล ใจได และมันนาจะทำใหสังคมภายนอกไดรับรูวา ครอบครัวเรายังคงเขม แข็งและยังยืนหยัดอยูได แลววันหนึ่ง สิ่งที่เราทุกคนทำจะทำใหสังคม เขาใจและรูจักพอมากขึ้น เราไมรูเลยวาเหตุการณนี้จะดำเนินตอไปอยางไร จะจบลงแบบไหน จะนานเปนเดือน เปนป หลายป หรือไมมีที่สิ้นสุด เพราะทุกอยางดูสับสน มีขาวจากหลายกระแส บางคนบอกวาเจอพอที่โนนที่นี่บาง บางคนบอกวา ตายแลวบาง บางคนก็บอกวายังมีชีวิตอยู …เมื่อทุกอยางอยูในความควบคุม ของพระผูเปนเจา สิ่งเดียวที่เราทำไดคือการเรียกความเขมแข็งกลับมา ดำเนินชีวิตใหไดตามปกติ ทำงานเพื่อไมใหแมตองเปนหวง และเพื่อเปน ที่พึ่งของครอบครัวไดบาง และเหตุผลสำคัญที่สุดที่ทำใหเดินหนาและทำงานตอไปก็คือ ‘พอ’ เพราะเดิมทีนะเคยตั้งใจวา ถาเรียนจบจะเรียนเนติบัณฑิตตออีก 1 ป โดย ไมทำงานและยังไมเรียนโทตอ แตพออยากใหทำงานเร็วๆ พรอมทั้งเรียน โทไปดวย เมื่อสอบวิชาสุดทายเสร็จ นะจึงเริ่มอานหนังสือเพื่อเตรียมตัว เรียนตอ ทามกลางเสียงคอนขอดจากพอวา “อานมากๆ ระวังจะเพี้ยนนะ” หรือ “ถาสอบไมไดจะเสียใจเปลาๆ” จนกระทั่งเคยพูดกับเพื่อนตอหนา นะวา “ลูกสาวเรียนจบแลว เกียรตินิยมอันดับหนึ่งเลย แตไมมีงานทำ” (พอมักพูดเลนแรงๆ กับพวกเราเสมอ) นะจึงตัดสินใจทำงาน พอดีใจมาก ที่มีงานที่ดีเปนหลักเปนแหลง พอพูดเสมอวา การทำงานจะทำใหเราโต ขึ้น มีความรับผิดชอบมากขึ้น และทำใหเรามีประสบการณมากกวาการ กลับไปเรียน อานหนังสือ แลวก็สอบ แลวพอก็จะไดหมดหวงไปอีกคน ที่พอคิดเชนนี้ อาจเปนเพราะพอตองเรียนและทำงานไปดวยมากอน การเอาประสบการณของตนเองมาสอนลูกมันเปนวิธีของพออยูแลว และ เมื่อเกิดเรื่องนี้ขึ้น นะก็อดคิดไมไดวา พออาจจะรูไดวา พอคงมีเวลาอยู

64 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

ดูแลครอบครัวไดอีกไมนานนัก …เราจึงตองดูแลตัวเองใหได และดำเนิน ชีวิตตอไปใหสมกับความคาดหวังของพอ คนภายนอกอาจจะมีความคิดเกี่ยวกับ “ทนายสมชาย นีละไพจิตร” แตกตางกันไปตามบทบาทและสถานะที่มีโอกาสเขาไปรูจัก บางคนอาจ กลาวถึงโดยใชเพียงการคาดเดาหรือสรุปเอาเอง แตในฐานะที่เปนลูก นะมองเห็นภาพของ “พอ” ตามที่ไดสัมผัสและรับรูมาโดยตลอด และแนใจ วา หากคนอื่นๆ ไดรับรู ก็จะเขาใจในตัว “ทนายคนนี้” และรูสึกดีอยาง ที่เราทุกคนในครอบครัวรูสึก ตอนที่พวกเรายังเปนเด็ก ภาพของพอคงเปนภาพที่ลูกๆ เห็นจนชินตา เหมือนๆ กัน คือพอเปนคนดุ เสียงดัง เอะอะ โวยวาย แตก็เปนประเภท โกรธงายหายเร็ว ถาเราทำอะไรผิดหรือทะเลาะกันดวยเรื่องไมเปนเรื่องละก็ โดนตีแนๆ แลวก็ตีเทากันทุกคนดวย พอพูดเสมอวา “ตีแลวจะไดจำ แม วาตีแลวพอจะเจ็บดวย แตก็ตองทำ ลูกจะไดเปนคนดี” พอสอนพวกเราแบบนี้แคชวงที่เราเปนเด็กเทานั้น พอเริ่มโตขึ้นพอ ก็เริ่มฟงพวกเรามากขึ้น …เรื่องการตื่นเชา เปนอีกเรื่องที่พอพูดเสมอทุกเชา ทั้งวันที่เราตองไปโรงเรียนและวันเสารอาทิตย พอจะมาปลุกพวกเราทุกวัน อยางหนึ่งที่ทุกคนรูคือ พอเปนคนตื่นเชาแลวก็ลุกขึ้นทำโนนทำนี่ทันที ทุกคนเลยตองลุกตาม แตพอก็เคยบอกเหตุผลไววา “เราตื่นเชาจะไดเห็น สิ่งที่คนตื่นสายไมมีโอกาสไดเห็น และจะทำใหเรารูวาวันๆ หนึ่งเราทำ อะไรไดหลายอยาง” แตพวกเราก็มักขอผอนผันอยูเรื่อยๆ โดยเฉพาะวัน เสาร-อาทิตย เราอาจลืมไปวา พอก็มีวันพักผอนเทาๆ กับเรา การทำงานบานเปนสิ่งหนึ่งที่พอชอบมาก แลวมันก็ทำใหเราทุกคน นึกถึงพอเสมอ พอสอนใหทุกคนทำงานบานเปน พอทำไดหมดทั้งปดกวาด เช็ดถู และทำทุกครั้งที่มีโอกาส พอบอกวา “ทำแลวมีความสุข” บางครั้ง ถึงขั้นหันหลังตูมาเช็ดก็มี เวลาทำงานบานพอจริงจังมากทำจนสะอาด เอี่ยมไปทั้งบาน แลวก็ไมลืมที่จะชวนใหเราทำ พอบอกวา “บานจะบอก ถึงคนอยูได ถาบานสะอาด ใครๆ ก็จะรูวา คนในบานตองมีจิตใจที่สะอาด ดวย” แลวก็ใหเหตุผลที่ตองฝกใหทุกคนทำเปนวา “บานเราไมมีคนใช ทุกอยางตองชวยกันทำ ถาเราไมชวยกัน ภาระหนักก็จะอยูที่พอกับแม” The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 65

ความชอบของพอในเรื่องนี้ลามไปถึงที่สำนักงานดวย ทันทีที่ไปถึง สำนักงาน ถาพอมีเวลากอนที่จะไปศาล พอจะกวาดพื้นซีเมนตขางนอก สำนักงานดวยตัวเอง แลวกวาดตอขางใน จากนั้นก็ถูพื้น เช็ดแมกระทั่ง ราวบันได พอละเอียดในเรื่องนี้มาก สิ่งเล็กนอยเหลานี้หลายคนคงไมเชื่อ วาจะเปนบุคลิกจริงๆ ของทนายที่วันนี้ทุกคนรูจัก แมพอจะดูเครงครัดเอาจริงเอาจังกับหลายๆ เรื่อง แตทุกคนก็ยืนยัน วาพอเปนคนใจดีมาก เรียกวาถาอยากไดอะไรหรืออยากไปไหน คนแรก ที่เราจะนึกถึงก็คือ พอ ถาพอไปรับที่โรงเรียน เรามักหลอกลอใหพอซื้อ ขนมใหไดงายๆ และถาพอผานไปที่ไหนมา ก็มักจะซื้อขนมหรือของฝาก กลับมามากมาย พอไมคอยเสียดายเงินกับเรื่องพวกนี้ คงเปนเพราะเหตุผล ที่พอมักพูดใหฟงวา เมื่อกอนพอไมมีโอกาสไดทำแบบนี้ ไมคอยไดกิน ขนมดีๆ อยางนี้ สิ่งที่พอไดเจอมาในวัยเด็กเราอาจสัมผัสไดไมมากนัก แตนี่ก็เปนอีกสิ่งหนึ่งที่พอเอามาใชกับพวกเรา พอคงไมอยากใหเราไดรับรู ความรูสึกชวงนั้นของพอสักเทาไหร พอไมเคยนึกถึงการสะสมความมั่งคั่ง เลย พอคิดวาเดี๋ยวเราก็ตายแลว เอาอะไรไปไมได และพอก็มั่นใจในความ เมตตาของพระองคผูเปนเจาเสมอ เงินทองที่ไดจึงหมดไปกับคาเทอม คา ใชจายในบาน ขนมนมเนยตางๆ แลวก็การชวยเหลือทุกคนที่พอจะชวยได นอกจากจะใจดีแลว พอยังเปนคนอารมณดีมากๆ ดวย เสียงหัวเราะ ของพอ ทุกคนยังจำได พอเปนคนหัวเราะงาย แลวเสียงหัวเราะของพอ ก็ดังมากดวย นี่คงเปนอีกสิ่งหนึ่งที่มีอยูในตัวผูชายคนนี้ …ที่ทุกคนใน ครอบครัวคิดถึง สำหรับเรื่องการเรียนของพวกเราทุกคน พอจะคอยดูอยูหางๆ คง เปนเพราะหลายเรื่องคอนขางจุกจิกและเปลี่ยนไปมากถาเทียบกับสมัยที่ พอเรียน แลวคงเพราะพอก็ไมใชคนเรียนเกง พอจึงไมเคยจ้ำจี้จ้ำไชให เราตองเรียนใหเกงเรียนใหไดเหรียญโอลิมปกอะไรแบบนั้น แคสิ่งที่พอย้ำ เสมอทุกครั้งที่พวกเรากาวลงจากรถเวลาพอไปสงก็คือ “ขอใหอัลลอฮคุมครอง ขยันเรียนนะลูก” พอเนนเรื่องความขยัน ความเอาใจใสมากกวาลำดับที่ เราสอบได แคเราตั้งใจเรียน ถึงเวลาใกลสอบก็อานหนังสือ ตั้งใจทำใหดี ที่สุด พอก็พอใจแลว พวกเราทุกคนเลยไมไดโตมากับความกดดันในเรื่อง

66 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

การเรียนนัก แตทุกคนก็ตั้งใจและเอาใจใสกับมันมาก เพราะพอพูดเสมอ วา “พอไมมีสมบัติอะไรจะให นอกจากการใหลูกทุกคนไดเรียนหนังสือ” หลายคนคิดวา นะเลือกเรียนนิติศาสตรเพราะความตองการของพอ ซึ่งจริงๆ ไมใช พอไมเคยกะเกณฑเรื่องเรียนกับพวกเรา จำไดวาพอถาม ครั้งแรกตอนม.3 วาจะเรียนอะไรตอ ตอนนั้นตอบวาจะเรียนนิติฯ ดวย เหตุผลงายๆ คือไดคะแนนท็อปวิชากฎหมาย (สวนหนึ่งในวิชาสังคม) พอดูตกใจนิดหนอยแตก็ไมวาอะไร บอกแควาอยามาเปนทนายแบบพอเลย มันเหนื่อยตองไปโนนมานี่ เราก็เปนผูหญิงดวย พออยากใหทำงานอะไร ก็ไดที่เขา-ออกเปนเวลามากกวา จะไดไมตองเปนหวง เวลาผานมาจนถึงวันที่ตองเลือกคณะ ตัวเลือกของนะยังคงมีเพียง ตัวเลือกเดียว คือการเรียนกฎหมาย เรื่องเรียนนะคงไดแรงบันดาลใจจาก พอมาพอควร เพราะวิชาที่ไมมีหัวหรือไมชอบก็จะเรียนไมไดเลย อยาง วิทยหรือเลขก็จะไดแค เกรด 1 หรือไมก็ 2 ตลอด (แตพอเคยบอกวาตัวเอง ตกดวยซ้ำ) แตถาเปนวิชาที่ชอบเปนพิเศษอยางวิชาสังคมจะเรียนไดดี และพอไดลองเอาหนังสือกฎหมายของพอมาอานดู ยิ่งเริ่มรูวานาสนใจ นะจึงมั่นใจที่จะบอกกับพอและแมวา จะเลือกเรียนนิติฯ เทานั้น เมื่อมาเรียนนิติฯ ใครๆ ก็คิดวา พอคงตองติวเขมใหนะ แตกลับ ไมเปนเชนนั้น พอยังคงทำหนาที่พอ ไมใชครูหรืออาจารย พอเปนพอคนเดิม ขอแคลูกขยันและตั้งใจเรียนก็พอ พอไมเคยรูวานะลงวิชาอะไรบาง สอบ เมื่อไหร ไดเกรดอะไรบาง รูแควาไมตกก็พอใจแลว สวนนะเองจะสงเกรด ใหแมดูเสมอ เลยไมแปลกที่พอจะดูตกใจมากที่รูวาลูกไดเกียรตินิยมอันดับ หนึ่ง และก็ตามมาดวยคำถามที่วา ทำอยางไรถึงได ตองไดเกรดเทาไหร …สิ่งเหลานี้ไมใชสิ่งที่พอคาดหวังวาลูกตองทำใหได การเรียนนิติฯ ทำใหเราพอ-ลูกไดคุยกันมากขึ้น หัวขอสนทนาไปได ไกลกวาเรื่องที่พอ-ลูกจะคุยกัน บางครั้งนะเอาปญหาที่เปนขอสอบมาให พอลองทำวาจะตัดสินกรณีนั้นๆ อยางไร หลายครั้งเราไดคำตอบไมตรงกัน บางเรื่อง พอปรึกษานะเพราะเปนกฎหมายใหมหรือเปนกฎหมายที่ไมคอย ไดใช หรือถามความเห็นในกรณีปญหาคดีตางๆ พอคงไมไดหวังคำตอบ ที่สุดยอด คงตองการแคความคิดเห็นของคนที่อยูในวัยและสถานภาพที่ The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 67

ตางกัน รวมทั้งฝกทักษะใหเด็กคนหนึ่งไปดวยในตัว และแนนอนวาหลาย เรื่องเราเห็นไมตรงกัน แตนั่นก็ไมสำคัญ พอเปนคนใจกวางแลวก็เปนนักเลง พอสมควร พอยอมรับไดโดยไมมีการใชอารมณแตอยางใด นะมีโอกาสติดตามพอไปตามที่ตางๆ บาง อยางการไปบรรยายใน การอบรมทนายความ พอไดรับเกียรติใหบรรยายเสมอ พอชวนไปตั้งแต นะยังไมมีสิทธิสมัครสอบ พอบอกวา “ชวยไปฟงใหที อยากรูวาพูดดีหรือ ไมอยางไรบาง อยากรูวาคนเรียนจะเขาใจไหม” ใครๆ คงคิดวา ถาให ลูกตัวเองวิจารณแลวจะมีขอติไดยังไง แตดวยความที่นะเปนลูกคนโต คอนขางดื้อ แลวก็มีนิสัยตรงๆ อยูสักหนอย พอเลยไดสิ่งที่ตองปรับปรุง อีกพอควร เรื่องตามพอไปไหนมาไหนนั้น ไมใชจะมีแคนะเพียงคนเดียว แตรวม ถึงนองๆ คนอื่นดวยแลวแตโอกาส โดยเฉพาะนองชาย พอมักอางเสมอวา “ไปดวยกันหนอย พอไมมีเพื่อน” ดูเหมือนนี่เปนอีกนิสัยหนึ่งของพอคือ ขี้เหงา กลัวการอยูคนเดียว แตเมื่อเราหลวมตัวไปดวยทีไรคนที่ไมมีเพื่อน กลับเปนพวกเราเสียเอง อยางนี้คงเรียกไดวา พอติดลูกมากกวาลูกติดพอ …นาแปลกที่ทนายอยางพอ แทนที่จะถูกหอมลอมหรือไปไหนมาไหนกับ ลูกนองกลุมใหญๆ แตกลับไปไหนมาไหนกับลูกๆ เสียมากกวา ในเรื่องการทำงาน นะมีโอกาสไดไปทำงานกับพอคอนขางมาก พอ จะพาไปตั้งแตชวงมัธยมปลาย จนในชวงที่เปนนิสิตป 2 และป 3 พอชวน ไปเหมือนเดิม อางเหตุผลเดิมๆ ประกอบกับตองการฝกใหนะไดเรียนรู ซึ่งนอกจากการเตรียมงานของพอที่บานแลว การที่ตองออกไปพรอมพอ ทุกเชา ทำใหนะเขาใจและไดรูเห็นในอีกหลายมุมที่ไมเคยพบในตัวพอ งานที่นะตองทำคืองานที่พอเคยทำตอนฝกงานใหมๆ และอีกมากมายที่ เดิมพอตองทำเอง ทั้งการทำความสะอาดสำนักงาน การถือกระเปาให (แมวาลูกจะเปนผูหญิง และกระเปาก็ไมใชใบเล็กๆ พอใหเหตุผลวา “พอ ก็เคยตองทำอยางนี้มากอน แลวถาเราไมเริ่มจากการทำงานเล็กๆ หรือ ไมเคยฝกความอดทน ไมเคยเจอกับความลำบาก เราคงทำงานอื่นๆ ไมได” ถือวาเปนเหตุผลที่ดี เลยตองยอมกันไป) พอยังหัดใหนะไปติดตอที่ศาล ในเรื่องตางๆ แทน นะตองลองไปติดตอเองทั้งที่ไมคอยรูเรื่องเทาไร จาก

68 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

ที่กลัวๆ กลาๆ เลยกลายเปนความเคยชินในที่สุด เรื่องลูกความ พอเปนคนหนึ่งที่เอาใจใสลูกความมาก แลวก็ไมใช แคการเอาใจใสตามหนาที่ แตรวมถึงน้ำใจที่เพื่อนมนุษยควรมีตอกัน มี คดีหนึ่ง พอเปนทนายใหจำเลยซึ่งเปนตำรวจ พอขับรถไปรับพอของจำเลย คนนั้นไปดวยกัน เพราะทานอายุมากแลว พอเสร็จจากศาลพอก็พาลุงคน นั้นไปเยี่ยมลูกของทานที่เรือนจำดวย จากนั้นพาไปทานขาว แลวก็แวะสง คดีกบฏแบงแยกดินแดน (คดีดาโอะ ทาน้ำ) ก็เชนกัน นะมีโอกาส เขาไปรวมฟงดวย และเมื่อเสร็จการพิจารณาก็ตองรับหนาที่ในการซื้อ ขาวมาเลี้ยงทุกคน ทั้งทนายความและลูกความ พอบอกวาไมเปนไร แคขาว กลองไมกี่บาท ชวยๆ กันไป … นะไมแนใจวานี่เปนหนาที่หรือเปลา แลว เราตองทำถึงขนาดนี้หรือไม บุคลิกการทำงานของพอ แมพอจะเปนคนจริงจัง ดูดุและเอาเรื่อง อยูในที แตเวลาที่ไปติดตอกับเจาหนาที่ ไมวาที่ไหนก็ตาม พอจะกลาย เปนอีกบุคลิกหนึ่งทันที พอพูดกับทุกคนดวยคำที่สุภาพ นุมนวล ทั้งที่บาง ครั้งก็ไดรับคำตอบที่ไมนาพอใจนัก และแมกับฝายตรงขาม พอก็มักเขา ไปพูดคุยและยิ้มแยมแจมใสเสมอ เชนเดียวกับผูพิพากษา พอจะใหความ เคารพแกทุกทาน ภาพทนายความใหญและพูดจาเสียงดังที่นะเคยคิดไว ไมเหลือเลยแมแตนอย การถามความของพอก็ไมไดนากลัวอยางที่คิด พอถามดวยคำที่สุภาพ ไมมีการขมขูหรือดูถูกพยาน แมบางคำถามอาจตรงไปสักนิด แตพอก็มีวิธี ทำใหนุมลงได พอบอกวา เวลาถามตองซักใหแตก แตก็ตองใหเขาพูดออก มาเอง ไมใชไปขมขู นะคิดวาเวลาพออยูในศาลดูใจดีกวาที่อยูที่บานเสียอีก พอมักพูดถึงแนวคิดการทำงานใหฟงเสมอวา “เลือกที่จะเปนทนาย เพราะดูจะเปนอาชีพทางสายกฎหมายอาชีพที่ใกลชิดกับประชาชน และ ชวยเหลือผูที่เดือดรอนไดชัดเจนที่สุด” นะเคยถามพอเกี่ยวกับการเปน ทนายจำเลยซึ่งดูนาลำบากใจไมใชนอย แลวพอก็ใหคำตอบวา “ถาเขา เดือดรอนเราก็ควรตองชวยเหลือ แลวตามกฎหมาย การดำเนินกระบวน การในศาล ก็ตองใหสิทธิจำเลยไดมีทนายตอสูคดีให ไมเชนนั้นกระบวน การก็ไมอาจดำเนินตอไปได สำหรับพอ เรามีหนาที่แคชวยเหลือเขาในการ The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 69

พิสูจนตัวเองในศาล สวนจะผิดหรือถูกอยางไรก็วากันไปตามความจริง หากผิดจริงก็ตองรับโทษกันไป ถาไมผิดก็ตองใหความยุติธรรมกับเขา” พอเชื่อมั่นในความยุติธรรมมาก (ดูจะเปนเรื่องยากที่จะอธิบายวา ทำไมพอถึงมั่นใจและเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมขนาดนี้) พอบอก เสมอวา จะผิดหรือถูกอยางไร ศาลจะเปนผูตัดสิน พอไมเคยคิดวาลูกความ จะบริสุทธิ์เสมอไป หากเขาทำผิดก็ตองรับโทษ และการรับโทษก็ตองเปน โทษที่สมควรกับความผิดของเขาเทานั้น ไมใชโทษที่หนักหนาเกินกวา ความผิดที่ไดทำ ทุกอยางเปนการตอสูในกระบวนการจากศาลชั้นตน ศาลอุทธรณ ศาลฎีกา เขาเพียงแตทำหนาที่ของตนเองอยางดีที่สุดเทานั้น และพอไมเคยหมดกำลังใจงายๆ พอเปนคนตรงไปตรงมา ออกจะลูกทุงอยู หนอยๆ การกลับขาวเปนดำ กลับดำเปนขาว ไมมีอยูในความคิดของ พอแมแตนอย นี่คงเปนเพียงอีกดานหนึ่งของ พอ หรือ “ทนายสมชาย นีละไพจิตร” จากมุมมองและความทรงจำของลูกสาวคนหนึ่ง สำหรับนะแลว พอไมใช คนเดนคนดัง ไมใชทนายความใหญโต เปนเพียงผูชายคนหนึ่งที่พยายาม ทำหนาที่ของตัวเองใหดีที่สุดเทาที่จะทำได มีความใฝฝน มีอุดมการณ และแนวทางที่ชัดเจน เสียสละไมเอาผลประโยชนสวนตนเปนที่ตั้ง และ เปน “พอ” ไดอยางสมบูรณที่สุด นะ - สุดปรารถนา นีละไพจิตร

70 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

คณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ Working Group on Justice for Peace หลักการ คณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพกอตั้งขึ้นเมื่อเดือนมิถุนายน 2549 เปนการรวมตัวกันของปจเจกชน องคกรสิทธิมนุษยชน และองคกรดานสันติภาพ เพื่อสนับสนุนสงเสริมการทำงานตามแนวทางสันติวิธี ปกปองสิทธิมนุษยชน สนั บ สนุ น ส ง เสริ ม ให ผ ู  ไ ด ร ั บ ผลกระทบจากการละเมิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน สามารถเขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดอยางเทาเทียมกัน และยุติการงดเวน โทษ (Impunity) ในประเทศไทย ดวยความเชื่อมั่นวาความยุติธรรมที่ตั้งอยูบน พื้นฐานของระบบนิติธรรม จะมีสวนสำคัญในการแกปญหาความไมเปนธรรม และความรุนแรง อีกทั้งเปนหนทางหลักในการสงเสริมใหเกิดสันติภาพในสังคม และในพื้นที่ที่มีความขัดแยง วัตถุประสงค • เพื่อใหประชาชนระดับรากหญาไดรับรู เขาใจถึงสิทธิมนุษยชน กฎหมาย และสิทธิในกระบวนการยุติธรรม • เพื่อกอใหเกิดความเขาใจตอสาธารณชนในประเด็นเรื่องความเปนธรรม ในกระบวนการยุติธรรม การทรมาน และการบังคับใหสูญหาย รวมทั้ง กติกาสากลระหวางประเทศที่เกี่ยวของกับประเด็นดังกลาว • เพื่อสรางความเขมแข็งใหกับผูถูกละเมิดสิทธิและครอบครัวในการตอสู เพื่อความยุติธรรมตามแนวทางสันติวิธี และใหไดรับการชดเชยเยียวยา ที่เหมาะสมทั้งดานสังคมและจิตใจ • เพื่อสรางความเขมแข็งใหกับกลุมนักศึกษาและเยาวชน ในการทำความ เขาใจเรื่องสันติวิธีและทักษะอื่นๆ ที่จำเปน เพื่อการสรางสันติภาพ โดย เฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่ที่มีความขัดแยง • เพื่อรณรงคใหรัฐบาลไทยตระหนักถึงปญหาการละเมิดสิทธิในกระบวน การยุติธรรม การทรมาน การบังคับบุคคลสูญหาย และแสวงหาแนว ทางแกไข ปรับปรุง เยียวยา ภายใตหลักนิติธรรม กลุมเปาหมาย • ชาวบานและผูไดรับผลกระทบจากความขัดแยงในจังหวัดชายแดนภาคใต • ผูเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิในกระบวนการยุติธรรม โดยเฉพาะอยางยิ่ง การทรมาน การบังคับใหสูญหาย การจับกุมโดยมิชอบ การวิสามัญฆาตกรรม The Disappearance of Persons is The Disappearance of Justice 71

• สาธารณชน และหนวยงานดานสิทธิมนุษยชนในระดับสากลและสห ประชาชาติ กิจกรรม • จัดอบรมใหความรูทางดานกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน การคุมครอง สิทธิของผูเสียหาย ผูถูกจับกุม หรือผูตองหา รวมทั้งหลักการในการสังเกต การณคดี แกนักกิจกรรมในพื้นที่ เยาวชน และประชาชนทั่วไป • จัดกิจกรรมสำหรับนักศึกษาและเยาวชนใหเขาใจถึงการทำงานดานสันติวิธี และทักษะอื่นๆ ที่จำเปนเพื่อการสรางสันติภาพ • รวมสังเกตการณคดีการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่มีนัยยะสำคัญตอการพัฒนา กระบวนการยุติธรรม • รณรงคใหยุติการทรมาน การบังคับบุคคลใหสูญหาย การจับกุมโดยพลการ (Arbitrary Detention) และการละเมิดสิทธิอื่นๆ ในกระบวนการยุติธรรม • สนับสนุน สงเสริม สรางความเขมแข็งใหผูเสียหายและครอบครัว ทั้งใน ดานการเขาถึงกระบวนการยุติธรรม และการเยียวยาทางสังคมและจิตใจ • ใหความรูตอสาธารณะในเรื่องกลไกการปกปองสิทธิมนุษยชนระดับสากล กลไกสหประชาชาติ กติกา อนุสัญญา และกฎหมายสากลที่เกี่ยวของกับ ประเด็นการทรมาน การบังคับบุคคลใหสูญหาย การจับกุมโดยพลการ และ การละเมิดสิทธิอื่นๆ ในกระบวนการยุติธรรม • สงเสริมการใชกลไกการปกปองสิทธิมนุษยชนขององคการสหประชาชาติ เพื่อใหความคุมครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย เชน การทำงานรวมกับ คณะทำงานดานการบังคับใหสูญหายโดยไมสมัครใจ (UN Working Group on Enforced or Involuntary Disappearance : UN WGEID) หรือผูเสนอ รายงานพิเศษ (Special Rapporteur) ดานตางๆ ขององคการสหประชาชาติ • รณรงคใหรัฐบาลไทยเขาเปนภาคีในอนุสัญญาตอตานการทรมานและการ ปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment - CAT) และอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวย การคุมครองมิใหบุคคลถูกบังคับใหสูญหาย (International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance) และผลักดันใหรัฐบาลนำหลักการในอนุสัญญาดังกลาวมาใชอยางจริงจัง • จัดทำรายงานสถานการณดานสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย เสนอตอ รัฐบาลไทย และองคกรดานสิทธิมนุษยชนทั้งในและตางประเทศ รวม ถึงแนวทางการแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย

72 การสูญหายของบุคคล คือการสูญหายของความยุติธรรม

ยุติธรรมเพื่อสันติภาพ เพื่อการเขาถึงความยุติธรรมอยางทั่วถึงและเทาเทียม

คณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ (Working Group on Justice for Peace) สำนักงานกรุงเทพฯ 24/158 ซอยลาดพราว 21 ถนนลาดพราว แขวงลาดพราว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ10900 E-mail: [email protected] สำนักงานปตตานี 22/186 ถนนหนองจิก ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปตตานี 94000 โทรศัพท / โทรสาร : 073-331-254 มือถือ : 086-332-1247 E-mail: [email protected]

Related Documents


More Documents from "Jerry Hamm"