Teaching Methodology

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Teaching Methodology as PDF for free.

More details

  • Words: 679
  • Pages: 6
Language Teaching Approaches: An Overview Introduction

วิธีการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ 2 หรือภาษาต่างประเทศแก่วงไป มาขึ้น ๆ ลง ๆ ในแต่ละรูปแบบวิธีการตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมาจนปัจจุบัน บางวิธีในบางช่วงก็จะเป็นที่นิยมกันอย่างมากมายแต่จะจางหายไปอย่าง รวดเร็วเหมือนกับวัฒนธรรมความนิยมของวัยรุ่น เหตุผลหนึ่งที่ทำาให้เป็น เช่นนี้คือ มีครูสอนภาษาจำานวนน้อยที่เข้าใจความเป็นมาเกี่ยวกับวิธีการ เรียนการสอนในประวัติศาสตร์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเนื้อหาที่นำามาเสนอจะ ช่วยให้ครูได้เรียนรู้ เข้าใจทีม ่ าของอาชีพของพวกเขามากขึ้นและคิดว่าจะเป็น ความรู้ที่จะช่วยให้มุมมองของการพัฒนาวิธีการสอนภาษาเกิดขึ้นต่อไป Pre-twentieth-Century Trends

วิธีการสอนภาษาเปลี่ยนแปลงไปมาระหว่าง วิธีการ 2 แบบคือ สอนให้ ผู้เรียนใช้ภาษาได้ เช่น สอนให้รจ ู้ ักพูดและเข้าใจภาษา กับ สอนให้ผู้เรียน วิเคราะห์ภาษา คือ การเรียนตัวกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ต่าง ๆ ในสมัย Classical Greek และ Latin สมัยกลางจะเน้นให้สอนผู้คนให้ใช้ภาษา โดยการขยาย การใช้ภาษา Greek และ Latin ไปทั่วยุโรปในฐานะ lingua franca ชนชั้นสูง , ชั้นปกครอง จะเป็นผู้ที่ใช้ภาษาได้คล่องแคล่ว การเรียนการสอน สมัยนี้จะเป็นแบบไม่เป็นทางการ ต่อมาในสมัย Renaissance การเรียนอย่าง เป็นทางการเป็นที่นิยมขึ้นมา เนื่องจากว่าเริ่มมีการพิมพ์หนังสือขึ้น โครงสร้างของภาษา Classical Latin เริ่มมีความแตกต่างกับภาษา Latin แบบ Lingua franca ซึ่งต่อมาภายหลังก็ได้เกิดเป็น Vulgate Latin ภาษาละตินของชาว บ้านธรรมดา ในที่สุด Classical Latin และ Latin as a Lingua franca ก็เริ่มไม่ได้ใช้ อีกต่อไป เมื่อเกิดการพัฒนาภาษาของแต่ละชนชาติขึ้นมา ผู้คนเริ่มพบว่า ภาษามีความจำาเป็นและมีประโยชน์จึงไม่เป็นที่ประหลาดใจที่พวกเขาเรียน ภาษาของชนชาติอื่น เผ่าอื่นด้วย ดังนั้น การเรียนภาษาจึงเป็นเรื่องของการ ใช้ประโยชน์มากกว่าการวิเคราะห์ในระหว่างศตวรรษที่ 17 ผู้ทม ี่ ีชื่อเสียงมาก ที่สุดในยุคนี้เกี่ยวกับการสอนและวิธีการสอนภาษาคือ Johann Amos Comenius ครูและนักปราชญ์ชาวเช็ค ผู้ที่ได้พิมพ์หนังสือเกี่ยวกับเทคนิคการสอนขึ้นใน ช่วงปี ค.ศ. 1631-1658 ต่อมาในต้นศตวรรษที่ 19 การสอนภาษาก็เปลี่ยนมา เป็นการเรียนรูไ้ วยากรณ์อีกครั้งหนึ่งวิธีการเรียนแบบ Grammar-Translation Approach เข้ามามีบาทสำาคัญ งานของ Karl Ploetz นักวิชาการชาวเยอรมันจะมี อิทธิพลต่อการสอนภาษา อย่างไรก็ตามในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 การสอน แบบ Direct Method ซึ่งเป็นการเน้นความสามารถในการใช้ภาษามากกว่าการ วิเคราะห์ก็กลับมา คนสำาคัญที่นำาวิธีการนี้มาใช้คือ Francois Gouin ชาวฝรั่งเศส ในขณะที่ Direct Method กำาลังเป็นที่นิยม สถาบัน LPA( The International Phonetic Association ) ได้ถูกก่อตั้งขึ้นโดยนักวิชาการหลายท่าน เช่น Henry Sweet ,Wilhelm Vietor และ Paul Passy พวกเขาได้พัฒนา IPA (The International Phonetic Alphabet) ขึ้นมาและได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูปการสอน ภาษา (The Reform Movement in Language Teaching) ในทศวรรษ 1890 วิธีการ สอนแบบ Direct Method ได้ถูกนำาไปใช้ที่สหรัฐอเมริกา โดย Emile de Sauze แต่ ก็ไม่ประสบความสำาเร็จเท่าที่ควรเนื่องจากมีครูที่ชำานาญน้อย ต่อมาภายหลัง

สมาคมผู้สอนภาษาสมัยใหม่อเมริกา (The Modern Language Association of America) อ้างถึงรายงานของ Coleman ได้กำาหนดให้ใช้วิธีการสอนแบบ Reading Approach เพือ ่ ที่จะให้นักเรียนได้สามารถอ่านภาษา เพื่อใช้งานตาม เป้าหมายที่ต้องการได้ ต่อมาเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่สองขึ้น เพือ ่ ให้ผู้เรียน สามารถพูดและเข้าใจภาษารัฐบาลสหรัฐได้ให้นักภาษาศาสตร์ช่วย พัฒนาการสอนแบบ Audiolingual Approach ขึ้นมาขณะที่ทางด้านประเทศ อังกฤษ ก็ได้คิดค้นการสอนภาษาแบบ Oral or Situational Approach ขึ้นมาใน ช่วงเดียวกันนี้ ซึ่งถือได้ว่าสองวิธีนี้ เป็นการพัฒนารูปแบบการสอนภาษาใน ยุค เริ่มแรกของการปฏิรูปของการสอนภาษา (The Reform Movement) 9 Twentieth-Century Approaches to Language Teaching) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

20 (Nine

Grammar-Translation Direct Reading Audiolingualism (United States) Oral-Situational (Britain) Cognitive Affective-Humanistic Comprehension-Based Communicative

1.Grammar-Translation Approach

มีคุณลักษณะดังนี้ 1.1. การสอนหรือคำาสั่งถูกใช้เป็นภาษาแม่ของนักเรียน 1.2. ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารน้อย 1.3. มุ่งเน้นการอธิบายไวยากรณ์ 1.4. ให้อ่านเนื้อหาที่ยาก 1.5. รูปแบบของแบบฝึกหัด คือ ให้แปลประโยคเป็นภาษาแม่ 1.6. ผลของการเรียนวิธีที่นักเรียนไม่สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ได้ 1.7. ครูผู้สอนไม่จำาเป็นต้องมีความสามารถในการพูดภาษาได้ 2. Direct Approaches เกิดจากความล้มเหลวในการสอนการสื่อสารใน Grammar-Translation Approach มีคุณลักษณะดังนี้ 2.1. ไม่อนุญาตให้ใช้ภาษาแม่ 2.2. บทเรียนเริ่มต้นด้วยบทสนทนา และเล่าเรื่องสั้นๆ ในสไตล์ สมัย

ใหม่ 2.3. 2.4. เกณฑ์) 2.5. 2.6

การแสดงและรูปภาพ ถูกนำามาใช้อธิบายความหมายให้ชัดเจน เรียนไวยากรณ์แบบ inductivity (ตัวอย่างเนื้อหาก่อนเข้าสู่กฎ อ่านเนื้อเรื่องเพือ ่ ความบันเทิง ไม่นำามาวิเคราะห์ไวยากรณ์ สอนวัฒนธรรม inductivity (ซึมซับจากเนื้อหาการเรียน)

2.7 ครูตอ ้ งเป็น native speaker หรือมีประสิทธิภาพใกล้เคียงในภาษาที่

เป็นเป้าหมาย 3. Reading Approach เกิดจากปัญหาที่มีใน Direct Approach และมีทัศนะว่าการ

อ่านเป็นทักษะที่ถูกใช้มากที่สุดในภาษาต่างประเทศ มีคุณลักษณะดังนี้ 3.1. สอนไวยากรณ์ เพื่อประโยชน์ สำาหรับความเข้าใจในการอ่าน เท่านั้น 3.2. จำากัดคำาศัพท์ในตอนแรก (ขึ้นอยู่กับความถี่ของการใช้และ ประโยชน์) หลังจากนั้นค่อยขยายเพิ่มขึ้น 3.3 การแปลเป็นกระบวนการที่สำาคัญในการเรียนในห้องเรียน 3.4. เน้นทักษะการอ่านเพื่อความเข้าใจ 3.5. ครูไม่จำาเป็นต้องออกเสียงได้ดี 4. Audiolingualism เกิดจากการขาดการเน้นฟัง-พูดใน Reading Approach มี

คุณลักษณะดังนี้ 4.1. บทเรียนเริ่มด้วยบทสนทนา 4.2. การเลียนแบบและการจดจำาถูกนำามาใช้ โดยสันนิษฐานว่า ภาษาเป็นข้อมูลที่เป็นนิสัยประจำา 4.3. หลักไวยากรณ์ถูกสอนตามลำา ดับและกฏเกณฑ์ถูกสอนแบบ inductivity 4.4. ทักษะภาษาเรียงจากการฟังและพูด การอ่านและเขียนจะเลือ ่ น ออกไป 4.5. เน้นการออกเสียงตั้งแต่เริ่มต้น 4.6. จำากัดคำาศัพท์อย่างมากในขั้นแรก 4.7. มีความพยายามอย่างมาก ทีจ ่ ะป้องกันความผิดพลาดของผู้เรียน 4.8. ภาษามักจะถูกใช้อย่างชำานาญ โดยปราศจากการใส่ใจต่อความ หมายหรือบริบท 4.9. ครูตอ ้ งมีประสิทธิภาพ เพียงแค่ในเรื่องของไวยากรณ์ , คำาศัพท์ ซึ่งเขาหรือหล่อน กำาลังสอน ตั้งแต่การเรียนรู้กิจกรรม การควบคุม การใช้สื่อ การเรียนรูอ ้ ย่างระมัดระวัง 5. Oral-Situational Approach (Britain) คล้ายกับ Audiolingualism ใน

สหรัฐอเมริกา มีคุณลักษณะดังนี้ 5.1. ภาษาพูดมาก่อน 5.2. สื่อการเรียนรู้ เพือ ่ การเรียนภาษาทั้งหมด ใช้เรียนการพูดก่อนนำา เสนอการเรียนในรูปแบบการเขียน 5.3. ภาษาที่เป็นเป้าหมายเท่านั้นที่ควรจะใช้ในห้องเรียน 5.4.ความอุตสาหะพยายามถูกสร้างขึ้นเพื่อแน่ใจว่าชุดภาษาที่เป็น ประโยชน์ และกว้างขวางเท่านั้นที่ถูกนำาเสนอ 5.5. ไวยากรณ์จัดระดับง่ายไปยาก 5.6. การเรียนภาษาใหม่ถูกสอนตามสถานการณ์ที่กำาหนด 6. Cognitive Approach มีคุณลักษณะดังนี้ 6.1. การเรียนรู้ภาษาเป็น rule acquisition ไม่ใช่ habit information

6.2. 6.3. 6.4 6.5 6.6

มักจะเรียนเป็นรายบุคคล มีการสอบไวยากรณ์แบบ deductive หรือ inductivity ไม่เน้นการออกเสียง การอ่านและเขียนมีความสำาคัญเท่ากับการฟังและการพูด คำาศัพท์ที่เป็นคำาสั่งมีความสำาคัญโดยเฉพาะ ระดับกลาง และ

ระดับสูง ไม่สามารถหลีกเลี่ยงความผิดพลาดได้ ครูมีความคาดหวังที่จะเกิดประสิทธิภาพกว้าง ๆ ทีด ่ ีเท่ากับความ สามารถในการวิเคราะห์ภาษาที่เป็นเป้าหมาย 6.7 6.8

7. Affective-Humanistic Approach เกิดจากการขาดการพิจารณาถึงผลกระทบ ความรู้สึกใน Audiolingualism และ Cognitive Approach มีคุณลักษณะดังนี้ 7.1 ความเคารพถูกเน้นสำาหรับความรู้สึกของแต่ละคน 7.2 เน้นการสื่อสารที่มีความหมายต่อผู้เรียน 7.3 คำาสั่งในการเรียนมักจะเกี่ยวกับการทำางานเป็นคู่หรือกลุม ่

เล็ก ๆ บรรยากาศห้องเรียนสำาคัญกว่าสื่อการเรียนรู้หรือวิธีการเรียน การช่วยเหลือกันระหว่างเพีอ ่ น ๆ มีความจำาเป็นในการเรียน การเรียนภาษาต่างประเทศเป็นประสบการณ์ที่เป็นที่ตระหนัก ของแต่ละคน 7.7 ครูเป็นที่ปรึกษาหรือผู้อำานวยความสะดวก 7.8 ครูควรจะมีความรู้ดีในภาษาที่เป็นเป้าหมายและภาษาถิ่นซึ่ง การแปลจะต้องถูกใช้ในชั้นแรกมากเพื่อช่วยเหลือให้นักเรียนรู้สึกว่าไม่ ยากในการเรียนแล้วค่อยให้นักเรียนทำา/ ฝึกเพิ่มเป็นลำาดับ 7.4 7.5 7.6

8. Comprehension-Based Approach เกิดจากผลการวิจัยว่าการเรียนภาษาที่ 2 หรือ ภาษาต่างประเทศมีคล้ายกับการเรียนภาษาที่ 1 มีคุณลักษณะดังนี้ 8.1 ความเข้าใจในด้านการฟังมีความสำาคัญมาก ซึ่งจะส่งผลถึงการ

พัฒนาทักษะอื่น ๆ ให้ตามมาอย่าง ถูกต้องในภาวะเหมาะสม 8.2 . ผู้เรียนควรเริ่มเรียนภาษาโดยการฟังคำาพูดที่มีความหมายและ ตอบสนองโดยไม่ต้องพูดอย่างมีความเข้าใจในความหมาย ก่อนที่จะพูดหรือ เขียนภาษาโดยตัวเอง 8.3. ผู้เรียนไม่ควรจะพูดจนกว่ารู้สึกว่าพร้อม การทำาเช่นนี้จะมีผลที่ดี ต่อการออกเสียงที่ถูกต้อง 8.4 ความก้าวหน้าของผู้เรียนแสดงจากการตอบรับ ความรูท ้ ี่เหนือ กว่า 1 ระดับความสามารถของตัวผู้เรียน 8.5 การเรียนกฎไวยากรณ์อาจจะช่วยตรวจสอบผู้เรียนหรือทำาให้ ตระหนักในสิ่งที่พวกเขาทำาอยู่แต่ไม่ได้ช่วยให้ซึมซับการใช้ภาษาที่เป็นเป้า หมาย 8.6 การช่วยแก้ไขความผิดพลาดอาจไม่จำาเป็นเพราะบางครั้งจะ ทำาให้ได้ผลไปในทิศทางที่ตรงกันข้าม สิ่งสำาคัญคือ ต้องพยายามให้ผู้เรียน เข้าใจและแก้ไขด้วยตัวเอง

ถ้าครูไม่ได้เป็น Native Speaker สื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมเช่น แถบบันทึกเสียง , วีดีทัศน์ ควรจะต้องนำามาใช้ 8.7

9.

Communicative Approach เกิดจากมุมมองที่ว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำาหรับ

การสื่อสาร

มีคุณลักษณะดังนี้ 9.1. เป้าหมายของการสอนภาษาคือให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารได้ 9.2. เนื้อหาของการเรียนภาษาจะต้องรวมถึงความหมาย ความคิด และ หน้าที่ทางสังคมไม่ได้เป็นแค่โครงสร้างทางภาษา 9.3. นักเรียนทำางานเป็นกลุ่มหรือคู่ เพือ ่ ถ่ายโอนความความหมายใน สถานการณ์ต่างๆ ซึ่งคนหนึ่งมีข้อมูลอย่างหนึ่ง แต่คนอื่นๆ ไม่มี 9.4 นักเรียนมักจะเข้าร่วมแสดงบทบาทสมมุติหรือละครเพื่อปรับการ ใช้ภาษา กับบริบททางสังคมที่แตกต่างกัน 9.5 สื่อการเรียนและกิจกรรมมักจะเป็นของจริง สะท้อนสถานการณ์ ในชีวิตจริง 9.6. ใช้ทักษะทุกอย่างร่วมกันตั้งแต่เริ่มต้น 9.7. บทบาทของครูในตอนแรกเป็นผู้คอยช่วยเหลืออำานวยความ สะดวก ในตอนหลังเป็นแค่ผู้คอยแก้ไขข้อผิดพลาด 9.8. ครูควรจะเป็นผู้สามารถใช้ภาษาได้อย่างคล่องแคล่วและเหมาะสม สรุปได้ว่าข้อเด่นของวิธีการสอนทั้ง 5 แบบแรก ก็เกิดจากข้อด้อยของ วิธีการสอนในยุคก่อนๆ และวิธีการสอนอีก 4 แบบล่าสุด ก็ได้พัฒนาเพิ่มเติม มาจากทั้ง 5 แบบแรกเช่นกัน ทั้งนี้แต่ละวิธีก็อาจจะมีข้อต่างกันบางเล็กน้อย แล้วแต่มม ุ มองว่าผู้คนจะเรียนอย่างไร จะใช้อย่างไร หรืออยู่นะจุดไหน แต่ก็ ไม่ได้หมายความว่าทั้ง 4 วิธีจะขัดแย้งกันหรือเข้ากันได้ ซึ่งก็แล้วแต่ครูผู้สอน ที่จะนำามาประยุกต์ใช้ให้ได้ผล และน่าสนใจ Conclusion

มีสิ่งต่างๆ 5 อย่างที่ครูควรจะทำา เพือ ่ การตัดสินใจที่ดีที่สุด ในการเลือก รูปแบบ วิธีการและเทคนิคการสอนรวมทั้งสื่อการสอน นอกจากที่จะต้อง ศึกษาทำาความเข้าใจรูปแบบและวิธีการสอนที่มอ ี ยู่หลากหลายรูปแบบแล้ว นั่นก็คือ 1. ประเมินความต้องการของนักเรียน เช่น ทำาไมจึงควรจะเรียนภาษา อังกฤษ หรือเรียนเพราะจุดประสงค์อะไร 2. ตรวจสอบข้อจำากัดต่างๆ เช่นเวลา ขนาดของห้องเรียน สื่อการเรียน องค์ประกอบทางกายภาพ แล้วตัดสินใจว่าจะสอนอย่างไร 3. ตัดสินใจว่าเจตคติหรือรูปแบบการเรียน (Learning Style) ของ นักเรียนแต่ละคนเป็นอย่างไรเพือ ่ จะได้พัฒนากิจกรรม และสื่อที่ตอบสนอง ได้ 4. ระบุประเภทของ บทพูด กิจกรรมการพูด และประเภทของเนื้อหา ซึ่งนักเรียนตองการที่จะเรียน เพือ ่ จะได้ร่วมมือในการจัดหาสื่อการเรียน และ กิจกรรมการเรียน 5. กำาหนดว่าจะประเมินผลการเรียนอย่างไร

การทำาสิ่งเหล่านี้ ครูจะต้องอยู่ในจุดที่สามารถเลือกเทคนิค หรือหลัก การที่มีประโยชน์มากที่สุดเพื่อจะได้ออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยดึงมาจาก วิธีการสอนต่างๆ หลักสูตรประเภทต่างๆ ร่วมทั้งงานวิจัยทีม ่ ีอยู่ Clifford Prator บอกไว้ว่าครูมอ ื อาชีพจะต้อง Adapt ; don’t adopt.

Related Documents

Teaching Methodology
November 2019 16
Teaching Methodology
November 2019 13
Methodology
May 2020 25
Methodology
November 2019 41