Sepak Takraw (alter Event)

  • Uploaded by: Pramot
  • 0
  • 0
  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Sepak Takraw (alter Event) as PDF for free.

More details

  • Words: 6,059
  • Pages: 23
Sepak Takraw (Alter event)

( โปรดพริ กข้ามไปอ่าน คําถาม-คําตอบ ข้อแรก ในหน้าที  6 ก่อนกลับมาดูกติ กาที ห น้าแรกนี " ) -------------------------------------------ตอนที 1 > แนวทางของกติกา โดยย่อ ตอนที 2 > กติกาและรายระเอียดเพิมเติม ตอนที 3 > คําถาม-คําตอบ ตอนที 4 > แบบสํารวจข้ อมูลการแข่งขัน -------------------------------------------ใน 1 แต้ ม มีการเล่น 2 ช่วงทีแตกต่าง > ช่วงครึงแรก มีการกําหนด Attack line > ช่วงครึงหลัง ใช้ ระบบมาตรฐานเดิม (ยกเลิกการใช้ Attack line)* *ในช่วงครึงหลัง จุดเริ มทียกเลิกการใช้ Attack line โดยกลับมาใช้ ระบบเดิม มี 2 ทางเลือกให้ เลือกใช้ ตัวเลือกที 1 >เริ มใช้ ระบบเดิม(ยกเลิก Attack line) โดยเริ มจากทีมฝ่ ายรับในรอบที 2 ไปจนถึงลูกตาย ครึงแรก > เริ มจากฝ่ ายเสิร์ฟ เสิร์ฟลูกในรอบที 1 (กําหนด Attack line)

ครึงหลัง > เริ มจากทีมฝ่ ายรับ ในรอบที 2 (ยกเลิก Attack line) ไปจนถึงลูกตาย ตัว เลือกที 2 >เริ มใช้ ระบบเดิม(ยกเลิก Attack line)โดยเริ มจากทีมฝ่ ายเสิร์ฟในรอบที 3 ไปจนลูกตาย ครึงแรก > เริ มจากฝ่ ายเสิร์ฟ เสิร์ฟลูกในรอบที 1 (กําหนด Attack line) ครึงหลัง > เริ มจากทีมฝ่ ายเสิร์ฟในรอบที 3 (ยกเลิก Attack line) ไปจนถึงลูกตาย

Playing system for each point scored (A rally), In a rally the attack line is used only 2 returns or not more than 2 returns (back and forth + back and forth) after that, the original rules is used (cancel the rule of attack line) until the ball is dead. > First half rallying, the rules of attack line is used (Including the attack line) > Second half rallying, use the original rules.* (Cancel the rules of attack line) * alternatively Choice 1 - the original rules start from the receiving side on 2nd turn until the ball is dead. First half rallying (new rules) > starting from the serving side on 1st turn.* Second half rallying (original rules) >starting from the receiving side on 2nd turn.* Choice 2 - the original rules start from the serving side on 3rd turn until the ball is dead. First half rallying (new rules) > starting from the serving side on 1st turn. Second half rallying (original rules) >starting from the serving side on 3rd turn.* 1 รอบ = ลูกข้ ามเน็ตไปและข้ ามกลับมา นับเป็ น 1 รอบ

a turn = each time the ball moving back and forth across the net. ( back and forth = 1 turn ) * 1st turn (the ball moving back and forth), and then 2nd turn (the ball moving back and forth), then 3rd turn (the ball moving back and forth) and so on.... ระบบนี Yใช้ กบั สนาม 2 ตัวเลือก ทีมีขนาดความยาวต่างกัน ซึง มีผลทําให้ ตัวเลือกที 1 (Pict 1) ความยาวสนามทีเพิมขึ Yนทําให้ การเสิร์ฟลูกหยอดลงบริ เวณเส้ นเขตฟาล์ว (Attack line) สามารถหวังผลได้ , ในการเสิร์ฟจึงสามารถเล่นได้ ทังลู Y กหยอดและลูกหนัก ตัวเลือกที 2 (Pict 2) ในการเสิร์ฟ ไม่สามารถเล่นลูกหยอดได้ (สนามขนาดมาตรฐาน)

There are two choices of court size for this new playing system, both of them use the same rules in every step. But because of the difference in court length, it is possible to cause to affect the service, as follows. Choice A (Pict 1) > (Extended court length). The server can use the short serve. (Serving the ball lands in the opponent’s court close to ''attack line''). Choice B (Pict 2) > (Original court length). The server cannot use the short serve. ในช่วงครึงแรก > ส่งลูกลงบริ เวณเขตหน้ าเน็ตของฝั งตรงข้ าม (เขต A) ถือว่าเป็ นการฟาล์ว

First half rallying > It is a fault, if a player kicks or passes the ball lands in the front zone (''A'' area) on the opponent’s side. ในช่วงครึงแรก > ขณะขึ Yนฟาดลูก(Spike the ball) ถ้ าฝ่ าเท้ าทีใช้ สปริ งตัวกระโดดขึ Yนไปนันเหยี Y ยบทับ เส้ นเขตฟาล์ว (Attack line) หรื อถ้ าเป็ นการเล่นลูกในขณะทีลกู เลยเข้ าไปในเขต A บริ เวณหน้ าเน็ต (ทังY 2 ลักษณะนี Yถือเป็ นกรณีเดียวกัน) ลูกทีจะเล่นข้ ามไป หากเป็ นการเล่นลูกทีอยู่ในระดับเหนือเน็ต ถือว่า ฟาล์วเสียแต้ มต้ องเล่นลูกขณะทีอยู่ตํากว่าความสูงของเน็ตเพือแก้ ไขข้ ามไปเท่านันY (การตัดสิน ลูกทีอยู่ กํ Yากึง ระดับเน็ต จะดูทีเจตนาของผู้เล่นว่าตังใจที Y จะกวาดลูกในลักษณะทีพ่งุ ลงไปด้ วยความแรงหรื อไม่ ซึง จะสังเกตุได้ โดยง่าย ชัดเจน)

First half rallying > It is a fault, if a player’s foot (or feet) touches or crosses over the attack line at the moment of takeoff to spike or pass the ball from a position higher than the top of the net to the opponent’s side. But it's not a fault, if at moment of contact with the ball, the “entire ball” isn’t higher than the top of the net. After contact with the ball, the player may land in the front zone (''A'' area). > A player may kicks or passes the ball from the front zone (''A'' area) across the net to the opponent’s side if at moment of contact with the ball, the “entire ball” isn’t higher than the top of the net. But It is a fault, if at moment of contact with the ball, the “entire ball” is higher than the top of the net. (Similar to the back-row attack rule in volleyball rules) ในช่วงครึงหลัง >ยกเลิกการใช้ Attack line* กลับมาใช้ กติกาในระบบเดิมทุกประการ ไม่มีการจํากัด

เขต ขึ Yนฟาดลูกหน้ าเน็ต ขึ Yนบล็อกลูกหน้ าเน็ต ได้ ตามกติกาเดิมทุกอย่าง จนกว่าลูกจะตาย *ในช่วงครึงหลัง จุดเริ มทียกเลิกการใช้ Attack line โดยกลับมาใช้ ระบบเดิม มี 2 ทางเลือกให้ เลือกใช้ ตัวเลือกที 1 >เริ มใช้ ระบบเดิม(ยกเลิก Attack line) โดยเริ มจากทีมฝ่ ายรับในรอบที 2 ไปจนถึงลูกตาย ตัวเลือกที 2 >เริ มใช้ ระบบเดิม(ยกเลิกAttack line)โดยเริ มจากทีมฝ่ ายเสิร์ฟในรอบที 3 ไปจนถึงลูกตาย

Second half rallying > Start to use the original sepak takraw rules*, a player is allowed to spike the ball or block over the net inside ''A'' area until the ball is dead.(Cancel the rules of attack line) * alternatively -- Choice 1 >The original rules start from the receiving side on 2nd turn until the ball is dead. -- Choice 2 >The original rules start from the serving side on 3rd turn until the ball is dead. (For extended court length, because the server can use the short serve the original rules should start from the receiving side on 2nd turn, more detail is in Q&A section.) - สําหรับในประเภทคู่ (double event) ในช่วงครึงหลัง จุดเริ มทียกเลิกการใช้ Attack line (ควรที) จะ ใช้ ตวั เลือกที 2 คือ เริ มจากทีมฝ่ ายเสิร์ฟ ในรอบที 3 เหตุผลและรายละเอียดอยู่ในส่วนของ คําถาม-คํา ตอบ (Q&A) หัวข้ อลําดับที 3 - สําหรับในประเภทคู่ (double event) เนืองจากจุดเสิร์ฟทีอยู่ไกลและไม่คอ่ ยมีการเสิร์ฟลูกหยอด ไม่ ได้ หวังผลจากการเสิร์ฟลูกหยอดเหมือนกับในประเภท 3 คน, ประเภทคู่ จึงควรใช้ ขนาดของสนามเท่ากับ สนามมาตรฐานเดิม (Pict 2) หรื อขยายออกไปได้ อีกเพียงเล็กน้ อย หรื ออีกทางเลือกถ้ าเลือกใช้ สนาม แบบ ขยาย (Pict 1) ก็(ควรทีจะ)ให้ มีเส้ นหลัง 2 เส้ น ตอนเสิร์ฟก็จะเสิร์ฟทีตรงเส้ นด้ านใน ซึง เป็ นเส้ นทีมี ระยะ ห่างจากเส้ นกลางเท่ากับสนามมาตรฐานเดิม

- For double event the original rules should start from the serving side on the begining of 3rd turn, the reason and more detail is in Q&A section. - For double event, because the service position is far from center line and the server rarely use the shot serve, the court size should be equal to the standard court (Pict 2) or extend it only slightly. Alternatively, if using the extended court (Pict 1), there should be 2 back lines, the service line is inside. ---------------------------

กติกา กีฬาทางเลือกอีกหนึง ประเภทของเซปั คตะกร้ อ (Alter Sepak Takraw) 1) - ในช่วงครึงแรกซึง มีการกําหนดเขต Attack line ขณะขึ Yนฟาดลูก(Spike the ball)หรื อสัมผัสลูก ขณะทีลกู ลอยอยู่ในระดับเหนือความสูงของเน็ตไปยังฝั งตรงข้ าม ถ้ าฝ่ าเท้ าทีใช้ สปริ งตัวกระโดดขึ Yนไป นันเหยี Y ยบทับเส้ นเขตฟาล์ว (Attack line) หรื อลํ Yาเข้ าไปในเขตหน้ าเน็ต(เขต A) ถือว่าฟาล์วเสียแต้ ม (Foult) ในกรณีเดียวกันนี Yถ้ าขึ Yนแตะลูก หรื อสัมผัสลูกขณะทีลกู ลอยอยู่ในระดับตํากว่าความสูงของเน็ต ไปยังฝั งตรงข้ าม ไม่นบั ว่าเป็ นการฟาล์ว และหลังจากเล่นลูก ถ้ าเท้ าทีกระโดดไม่เหยียบทับเส้ น หรื อลํ Yา เส้ น เมือลงสูพ่ ื Yนส่วนใดๆของร่ างกายทับเส้ น หรื อลํ Yาเส้ นเขตฟาล์วหรื อไม่ ไม่นบั ว่าเป็ นการฟาล์วทับเส้ น (ข้อสังเกตุ การฟาล์ วลักษณะนีค" ล้ายกันกับ ข้อกําหนดการเล่นของผูเ้ ล่นแถวหลังในกี ฬาวอลเลย์ บอล ซึงเป็ นกี ฬาที ม ี การใช้เส้น Attack line กําหนดเขตการเล่นจากแนวหลัง) - มีเส้ นตรงแบ่งเขตทีตอ่ ด้ วยเส้ นประเลยออกไปข้ างสนาม แนวเส้ นเขตฟาล์วนี Y ห่างจากเน็ต ประมาณไม่น้อยกว่า 3.00 m.(meters) ขึ Yนไป หรื ออยู่ในระยะประมาณทีเมือฝ่ ายรุ กขึ Yนฟาดลูกทีบริ เวณ เหนือเส้ น Attack line ซึง อยู่ในระยะทีจะทําให้ -โอกาสทีฝ่ายตังรัY บจะเปิ ดลูกได้ ไม่ดี ทําได้ เพียงแก้ ไขให้ ลกู ข้ ามไป, -โอกาสทีฝ่ายรับจะเปิ ดลูกได้ ดี อยู่ในระยะหวังผลแล้ วขึ Yนฟาดโต้ ตอบกลับไป, -และโอกาสทีฝ่ายตังรัY บ จะเปิ ดลูกไม่ได้ หรื อเปิ ดเสีย ตามเล่นลูกได้ ยาก และเสียแต้ ม, ทังY 3 กรณีมีเปอร์ เซ็นทีเกิดขึ Yนได้ ใกล้ เคียงกันโดยเฉลีย ซึง ทําให้ ในช่วงแรกทีใช้ Attack line จะเป็ นการ ต่อสู้ขบั เคียว เพือทีอย่างน้ อยต้ องทําให้ ฝ่ายตรงข้ ามเปิ ดลูกพลาดจนทําได้ เพียงแก้ ไขให้ ลกู ข้ ามไปเท่านันY ซึง เป็ นการชิงความได้ เปรี ยบ ทีจะได้ เป็ นฝ่ ายขึ Yนฟาดหน้ าเน็ตในช่วงครึงหลัง(หากลูกยังไม่ตายในช่วง ครึงแรก), เช่นในทีมชายถ้ าหากกําหนดว่า ตําแหน่งใกล้ ทีสดุ ของการขึ Yนฟาดลูก ควรจะอยู่ทีบริ เวณเหนือ แนวเส้ นกึง กลางสนามในฝั งของตน เส้ นเขตนี Yก็จะอยู่ตรงแนวกลางสนามพอดี เพือเว้ นระยะเผือเหลือเผือ ขาดไว้ สําหรับผู้เล่น โดยเฉพาะการชงลูกไม่ให้ ลํ Yาเส้ นฟาล์ว ทีเผือพื Yนทีรัศมีการขึ Yนฟาด และสําหรับทีม หญิง ทีมเยาวชน ทีมในดิวิชนั ต่างๆ ก็อาจจะปรับระยะลดหลัน ลงไปได้ อีกเล็กน้ อย หรื อไม่ต้องปรับ เปลียน โดยให้ มีขนาดทีเป็ นมาตรฐานเดียวกันหมด เพือความสะดวกในการจัดการ ก็แล้ วแต่รายการแข่ง ขันแต่ละรายการจะเป็ นผู้กําหนด - ในช่วงครึงแรกซึง มีการกําหนดเขต Attack line ถ้ าเปิ ดหรื อชงลูก (Pass or Set the ball) เข้ า ไปเขตหน้ าเน็ต(เขต A) ลูกทีจะเล่นข้ ามไป หากเป็ นการเล่นลูกทีอยู่ในระดับเหนือความสูงของเน็ต (Higher than the top of the net) ถือว่าฟาล์วเสียแต้ ม ต้ องเล่นลูกขณะทีอยู่ตํากว่าความสูงของเน็ต เพือแก้ ไขข้ ามไปเท่านันY (ข้อสังเกตุ การตัดสิ นลูกที อ ยู่กํ"ากึงระดับเน็ต จะดูทีเ จตนาของผูเ้ ล่นว่า ตัง" ใจที จ ะกวาดลูกในลักษณะ ที พ ่งุ ลงไปด้วยความแรงหรื อไม่ ซึงจะสังเกตุได้โดยง่าย ชัดเจน, กติ กาข้อนีค" ล้ายคลึงกันกับกติ กาข้อ

กําหนดการ เล่นของผูเ้ ล่นแถวหลังในกี ฬาวอลเลย์ บอล) - ในช่วงครึงแรกซึง มีการกําหนดเขต Attack line เมือผู้เล่นต้ องเล่นลูกทีล้นออกไปด้ านนอกข้ าง สนาม จะมีเส้ นประทีตอ่ เลยออกไปข้ างสนาม ทําหน้ าทีเช่นเดียวกับเส้ นเขตฟาล์วในสนาม 2) - ในช่วงครึงแรกซึง มีการกําหนดเขต Attack line ลูกเสิร์ฟ ลูกฟาด ลูกบล็อก หรื อลูกโต้ กลับใดๆ ถ้ า ลงบริ เวณเขตหน้ าเน็ต(เขต A) ถือว่าเป็ นลูกฟาล์วเสียแต้ ม (ข้อสังเกตุ การบล็อกจะใช้ ไม่ได้ ผลในช่วงครึง แรกนี Y เพราะการบล็อกลูกทีฟาดจากบริ เวณเหนือเส้ น Attack line ลูกจะลงทีเขตฟาล์วเป็ นส่วนใหญ่ ทังY 2 ทีมต้ องสู้กนั ด้ วยการฟาดลูกจากระยะทิห่างเน็ต ตัวผู้เล่นจะต้ องมีการพัฒนาขึ Yนไปอีกขีดขันหนึ Y ง เพือ ชิงความได้ เปรี ยบในช่วงครึงหลัง ซึง จะใช้ กติกาในระบบเดิม โดยเฉพาะเกมรับทิเหนียวแน่น การเปิ ด-ชง ลูกทีแม่นยําให้ อยู่ในระยะทีหวังผลได้ มากทีสดุ และเพือตัวทําเล่นได้ ถนัดมากทีสดุ ) 3) - ในช่วงครึงหลัง จะเริ มกลับมาใช้ กติกาในระบบเดิม (The original rules) ทุกประการ* ไม่มีการ จํากัดเขต ขึ Yนฟาดลูกหน้ าเน็ต ขึ Yนบล็อกลูกหน้ าเน็ตได้ ตามกติกาเดิมทุกอย่างจนกว่าลูกจะตาย (ยกเลิก การใช้ Attack line) *ในช่วงครึงหลัง จุดเริ มทียกเลิกการใช้ Attack line โดยกลับมาใช้ ระบบเดิม มี 2 ทางเลือกให้ เลือกใช้ ตัวเลือกที 1 >เริ มใช้ ระบบเดิม(ยกเลิกAttack line)โดยเริ มจากทีมฝ่ ายรับในรอบที 2 ไปจนถึงลูกตาย ตัวเลือกที 2 >เริ มใช้ ระบบเดิม(ยกเลิกAttack line)โดยเริ มจากทีมฝ่ ายเสิร์ฟในรอบที 3 ไปจนถึงลูกตาย

** - สําหรับในประเภทคู่ (double event) ในช่วงครึงหลัง จุดเริ มทียกเลิกการใช้ Attack line (ควรที) จะใช้ ตวั เลือกที 2 คือเริ มจากทีมฝ่ ายเสิร์ฟในรอบที 3 เหตุผลและรายละเอียดอยู่ในส่วนของ คําถาม-คํา ตอบ (Q&A) หัวข้ อลําดับที 3 ** - สําหรับในประเภทคู่ (double event) เนืองจากจุดเสิร์ฟทีอยู่ไกลและไม่คอ่ ยมีการเสิร์ฟลูกหยอด ไม่ได้ หวังผลจากการเสิร์ฟลูกหยอดเหมือนกับในประเภท 3 คน, ประเภทคู่ จึงควรใช้ ขนาดของสนามเท่า กับ สนามมาตรฐานเดิม (Pict 2) หรื อขยายออกไปได้ อีกเพียงเล็กน้ อย หรื ออีกทางเลือกถ้ าเลือกใช้ สนาม แบบ ขยาย (Pict 1) ก็(ควรทีจะ)ให้ มีเส้ นหลัง 2 เส้ น ตอนเสิร์ฟก็จะเสิร์ฟทีตรงเส้ นด้ านใน ซึง เป็ นเส้ นทีมี ระยะ ห่างจากเส้ นกลางเท่ากับสนามมาตรฐานเดิม ------------------------

คําถาม-คําตอบ (Q&A) จากการแลกเปลียนความคิดเห็น ในกลุม่ ผู้สนใจกีฬา ถาม - ระบบการเล่นในรู ปแบบนี Y จะทําให้ มีผลลัพท์อะไรเกิดขึ Yน ? และเกิดขึ Yนได้ อย่างไร ? ทําไมจึงคิด ว่าเป็ นรู ปแบบทีน่าจะมีความเป็ นไปได้ ในทางปฏิบตั ิ เพือเป็ นอีก 1 ทางเลือกของกีฬาเซปั คตะกร้ อ ?

ตอบ - สิงทีจะต้ องทําความเข้ าใจร่ วมกันก่อนเป็ นอันดับแรกคือการตระหนักรู้ อยู่เสมอว่า ในระบบเดิมที ใช้ อยู่ทกุ วันนี YนันY เป็ นระบบมาตรฐานซึง เป็ นทียอมรับ ได้ พฒ ั นาและจัดการแข่งขันกันมานานจนได้ รับ ความนิยมอย่างกว้ างขวาง และในส่วนของระบบกติกาใหม่นี Yทีได้ นําเสนอเข้ ามาก็เพือเป็ นทางเลือกอีก 1 ประเภททีนอกเหนือจากเซปั คตะกร้ อประเภทสามคนและประเภทคูใ่ นระบบมาตรฐาน เพือทีผ้ เู ล่นและผู้ ชมกีฬาทีมีความสนใจ หรื อมีความต้ องการทีจะเพิมเติมทางเลือกและประสบการณ์ใหม่ในการแข่งขัน หรื อชมการแข่งขันกีฬาเซปั คตะกร้ อ(Sepak Takraw) ได้ นําไปทดลองใช้ หรื อจัดการแข่งขันกีฬาทาง เลือก หรื อว่าในกลุม่ กีฬาประยุกต์ ก็ตามแต่จะเห็นควร - ในระบบมาตรฐานเดิม แต้ มแต่ละแต้ มเกิดขึ Yนค่อนข้ างเร็ วภายในรอบเดียว หรื อไม่เกิน1-2รอบ โดยเฉลีย(1-2 turn) นัน คือ เสิร์ฟ-ฟาด-บล็อก-ลูกตาย(Dead ball) - ๆ - ๆ เป็ นภาพซํ Yาๆกันไปตังแต่ Y ต้น เกมจนจบเกม การทําคะแนนทีเกิดขึ Yนอย่างรวดเร็ วในฉับพลัน(A short rally) ในแง่มมุ หนึง แสดงให้ เห็น ถึงเกมการแข่งขันทีกระชับ รวดเร็ วทันอกทันใจของกีฬาเซปั คตะกร้ อ แต่ในอีกมุมมองก็จะเห็นใด้ วา่ เกม การเล่นทีมีรูปแบบซํ Yาๆกันในทุกๆแต้ มเช่นนี Y (mono-pattern) โอกาสทีจะเกิด long rally(การโต้ กนั จนถึง รอบที 3 หรื อ 4)แทบจะไม่มีให้ เห็นเลยตลอดทังเกม Y แต้ มแต่ละแต้ มจะเกิดขึ Yนอย่างรวดเร็ วและจบเร็ วซึง มี โอกาสน้ อยมากทีจะเกิดการโต้ ตอบขับเคียว จนดูเหมือนกับว่า ภาพรวมของเกมการแข่งขันจะขาดสีสนั และความหลากหลายอยู่บ้างไม่มากก็น้อย แต่ในระบบทีมีการใช้ Attack line นี Y เป็ นการผสมผสานทีทํา ให้ เกิดการโต้ ตอบ รุ กรับขับเคียวกันมากขึ Yน(ในแต่ละเซ็ตมีโอกาสเกิด long rally มากครังY ขึ Yน) ซึง ส่งผลให้ เกมมีความสนุกตืนเต้ นมากขึ Yน ขณะเดียวกันการเล่นทีกรปรณ์ไปด้ วยทักษะ 3 จังหวะคือการเปิ ดลูก ชง ลูกและฟาดลูกในวิถีทางอันเป็ นแบบฉบับเฉพาะตัวของเซปั คตะกร้ อทีแสดงให้ เห็นถึงทักษะลีลาอันเข้ ม ข้ นโลดโผน รวมไปถึงการบล็อกและองค์ประกอบอืนๆซึง เป็ นเอกลักษณ์ในระบบเดิมรู ปแบบเดิมก็ยงั คง อยู่ไม่ได้ หายไป และนอกจากจะไม่มีผลกระทบใดต่อเอกลักษณ์เดิมแล้ ว ยังช่วยให้ เทคนิควิธีและทักษะ เฉพาะตัวส่วนอืนๆทีขาดหายไปจากเกมได้ มีโอกาสแสดงออกมาให้ เห็นอย่างชัดเจนมากยิงขึ Yนโดยเฉพาะ ทักษะ-เทคนิคการเล่นเกมรับทีเหนียวแน่น การพัฒนาทักษะการฟาดลูกจากระยะไกล และไหวพริ บใน การแก้ ไขลูกให้ ข้ามทีรวมถึงการสือสารให้ ร้ ู กนั เมือเล่นพลาดไม่เข้ าจุดเพราะการชงลูกไม่ให้ ลํ Yาเส้ น Attack line หรื อไม่ให้ ห่างแนวเส้ นมากไปจนเกินระยะหวังผลนันไม่ Y ง่ายนัก แต่อาจจะถึงกับเป็ นความกด ดันเป็ นภาระหนักสําหรับตัวชงซึง จะต้ องมีบทบาทค่อนข้ างมากในการชิงความได้ เปรี ยบในช่วงครึงแรก ซึง จะส่งผลให้ ทีมมีโอกาสมากกว่าเมือถึงช่วงครึงหลัง สิงเหล่านี Yนับเป็ นส่วนหนึง ทีเกิดจากการผสมผสาน ทีทําให้ เกิดการโต้ ตอบ รุ กรับขับเคียวกันมากขึ Yน และในแต่ละเกมการแข่งขันก็จะได้ เห็นการใช้ ทกั ษะ และเทคนิควิธีทีมีความครบเครื องหลากหลาย ส่งผลให้ เกมการเล่นมีมิติ มีสีสนั และสนุกตืนเต้ นมากยืง ขึ Yน (ข้อสังเกตุ เหตุทีต อ้ งมี ภาษาอังกฤษในวงเล็บตามหลังคําและวลี บางส่วน ก็เพือ ช่วยสือ ความหมายให้ ชัดเจนมากขึ"น ในกรณี ทีม ี การใช้เครื องมื อแปลภาษา Translate tool) - การประสานการเล่น 2 รู ปแบบเข้ าด้ วยกัน ทําให้ ภายใน 1 แต้ ม จะมีการเล่น 2 ช่วงทีแตกต่าง

ในช่วงครึงแรก(ใช้ กติกาซึง มี Attack line) การบล็อกจะใช้ ไม่ได้ ผลหรื อได้ ผลน้ อยมาก เพราะการบล็อก Y มต้ อง ลูกทีฟาดจากบริ เวณเหนือเส้ น Attack line ลูกจะลงทีเขตฟาล์ว(''A'' area)เป็ นส่วนใหญ่ ทังสองที สู้กนั ด้ วยการฟาดลูก(Spike the ball)จากระยะทิห่างเน็ต ตัวผู้เล่นจะต้ องมีการพัฒนาขึ YนไปอีกขีดขันY หนึง เพือชิงความได้ เปรี ยบในช่วงครึงหลัง(เริ มใช้ กติกาเดิม) โดยเฉพาะเกมรับทิเหนียวแน่น การเปิ ดลูก ชงลูก(Set the ball) ทีแม่นยําให้ อยู่ในระยะทีหวังผลได้ มากทีสดุ เพือทีตวั ทํา(Spiker) จะเล่นได้ ถนัดที สุด หากลูกยังไม่ตาย(The ball is not dead) หรื อไม่มีการเสียแต้ มในช่วงครึงแรก การบล็อกจะถูกนํา มาใช้ ในช่วงครึงหลังโดยทีมทีไม่สามารถทําลายเกมรับของฝ่ ายตรงข้ ามได้ ตงแต่ ั Y ครึงแรก ซึง ในครึงหลังนี Y จะกลับมาใช้ กติกาในระบบเดิม(ยกเลิก Attack line) และจะได้ ร้ ู ผลว่าทีมใดจะเป็ นฝ่ ายได้ ขึ Yนฟาดลูก หน้ าเน็ตทีมใดทีจะเป็ นฝ่ ายทีต้องขึ Yนบล็อก ถาม - กติกาทีเพิมขึ Yนนี Y จะทําให้ เกิดความยุ่งยากในการเล่นและการตัดสินของผู้ตดั สินหรื อไม่? เช่นใน กติกาข้ อ 1 การตัดสินลูกทีลอยกํ Yากึง ระดับเน็ต จะทําให้ เกิดความคลุมเคลือในผลการตัดสินหรื อไม่? และ ทําไมจึงตัดสินลูกฟาล์วเหยียบเส้ นจากเท้ าทีใช้ สปริ งตัวกระโดดขึ Yนไป แทนทีจะตัดสินจากเท้ าทีตกลงมา หลังจากทีลอยตัวฟาดลูกไปแล้ ว? การตัดสินและกติกาในลักษณะเดียวกันนี Yได้ มีการนําไปใช้ หรื อมีอยู่ใน กีฬา สากลชนิดใดชนิดหนึง มาก่อนหรื อไม่? ซึง ถ้ ามีและก็ยงั ใช้ ได้ ด้วยดีจนถึงปั จจุบนั ก็แสดงว่าในแง่ ของการ ตัดสิน กรณีนี YนันY ได้ รับการพิสจู น์กนั มาแล้ วว่าไม่มีปัญหาใดๆ ตอบ - การตัดสินและกติกาในลักษณะเดียวกันนี Y มีใช้ กนั อยู่แล้ วในกีฬาวอลเลย์บอล(Volleyball) ซึง เป็ นกีฬาทีมีการใช้ เส้ น Attack line แล้ วกําหนดข้ อห้ ามในการรุ ก(Attack hit) ของผู้เล่นแถวหลัง โดย ระบุวา่ ห้ ามเล่นลูกทีอยู่ในระดับเหนือเน็ตหากเข้ าไปเล่นในเขตรุ กด้ านหน้ า, แต่จะทําการรุ กทีระดับความ สูงเท่าใดก็ได้ จากหลังเขตรุ ก โดยทีขณะกระโดด เท้ าข้ างหนึง (หรื อทังสองข้ Y าง) ต้ องไม่แตะหรื อข้ ามเส้ น รุ ก หลังจากตบลูกแล้ วจึงจะลงยืนในเขตรุ กได้ ซึง กติกา ในข้ อ 1 ของเซปั คตะกร้ อระบบนี Yก็ใช้ การตัดสิน และกติกาในลักษณะเดียวกันนี Y แต่เซปั คตะกร้ อ(Sepak Takraw)ไม่มีการแบ่งโซนผู้เล่นเป็ นแถวหน้ า แถวหลัง แล้ วกําหนดกรอบกติกาของผู้เล่นแต่ละแถวเหมือนกับของ Volleyball (มีความคล้ ายคลึงกันใน Y กา มีความ แง่ของการตัดสินทีมีการใช้ เส้ น Attack line เหมือนกันเท่านันY แต่รายละเอียดขันตอนของกติ แตกต่างกันมากในด้ านการกําหนดรู ปแบบและวิธีการอันจะทําให้ เกิดผลลัพท์อย่างใดอย่างหนึง ) - ในกติกาข้ อ 1 การตัดสินว่าผู้เล่นยกเท้ าสูงกว่าเน็ตหรื อไม่ถ้าลูกอยู่กํ Yากึง ระดับเน็ต ต้ องดูทีเจตนา ว่า ตังใจที Y จะกวาดลูกในลักษณะทีพ่งุ ลงไปด้ วยความแรงหรื อไม่ การเล่นในลักษณะเช่นนี Y ทงผู ั Y ้ ตดั สิน Y จะทําผิดกติ และผู้ชมกีฬา จะมองเห็นได้ อย่างชัดเจนถึงเจตนาของผู้เล่น (Player's intention) ว่าตังใจที กาหรื อไม่ ซึง ทําให้ ตดั สินได้ ง่าย และหาข้ อโต้ แย้ งได้ ยาก (ข้อสังเกตุ การตัดสิ นข้อนีค" ล้ายกับการตัดสิ น ในกติ กาข้อหนึงของวอลเลย์ บอลที ร ะบุว่า "ขณะทําการรุกอนุญาตให้ใช้ปลายนิ" วเล่นลูกได้ ถ้าการถูกลูก เป็ นไปอย่างชัดเจนและไม่ได้ใช้ฝ่ามื อจับหรื อโยนลูกบอลออกไป")

- ในกติกาข้ อ 1 การตัดสินลูกฟาล์วเหยียบเส้ นจากเท้ าทีใช้ สปริ งตัวกระโดดขึ Yนไป กรรมการจะ มองเห็นได้ ชดั เจนกว่ามาก เพราะขณะทีสปริ งตัว เท้ าทีใช้ กระโดดจะหยัง ติดอยู่บนพื Yนเป็ นเวลาชัว ขณะ หนึง ทําให้ การตัดสินเป็ นไปได้ โดยสะดวกชัดแจ้ ง แต่ถ้าตัดสินโดยดูจากเท้ าทีตกลงมาหลังจากทีลอยตัว ฟาดลูก อาจทําให้ เกิดความผิดพลาดได้ ง่ายกว่า เพราะจะมีหลายครังY ทีตวั ทําเล่นได้ ไม่ถนัดจนผิดจังหวะ และลงสูพ่ ื Yนในลักษณะกึง ๆล้ มตัวลงนอน จนทําให้ มองเห็นได้ ไม่ชดั เจนว่าเท้ าของผู้เล่นเหยียบเส้ นหรื อไม่ และยังอาจทําให้ เกิดการบาดเจ็บได้ ง่ายหากผู้เล่นพยายามชักเท้ าหนีเส้ นฟาล์วในขณะลงสูพ่ ื Yนเพราะไม่ อยากเสียแต้ มสําคัญ ถาม - สําหรับสนามตัวเลือกที 2 การกลับมาเล่นในระบบเดิม(ยกเลิก Attack line) โดยเริ มในรอบที 3 (The 3rd turn) ทําไมจึงเริ มจากทีมเสิร์ฟ เริ มจากทีมรับได้ หรื อไม่? และสําหรับการเริ มในรอบที 2 (สนาม ตัวเลือกที 1) ทําไมจึงเริ มใช้ ในท้ ายรอบที 2 (The 2nd turn) ทีทีมฝ่ ายรับ? การเริ มในรอบอืนๆ เช่นรอบที 4 ทําได้ หรื อไม่? จะเกิดผลอย่างไร?ประโยคทีวา่ ความสมดุลย์ในระบบเกมการแข่งขันมีความหมายอย่าง ไร? ตอบ - ในตัวเลือกที 2 การยกเลิก Attack line ให้ เริ มทีทีมเสิร์ฟ เพราะถือว่าทีมรับเป็ นฝ่ ายได้ ขึ Yนฟาด ลูกก่อนตังแต่ Y รอบที 1 หลังจากรับลูกเสิร์ฟ ซึง แม้ วา่ ทีมเสิร์ฟจะมีโอกาสได้ ขึ Yนเล่นหน้ าเน็ตก่อนในช่วงครึง หลัง แต่ก็อาจทําได้ เพียงแค่ต้องแก้ ไขให้ ลกู ข้ ามไปโดยไม่ได้ ขึ Yนฟาด หากในช่วงครึงแรกทีมรับเล่นได้ ดี ขึ Yน ฟาดได้ ถนัดถูกตําแหน่ง จนทีมเสิร์ฟเปิ ดลูกได้ ยาก เมือดูตามขันตอน Y ความเสมอภาคในการสร้ างโอกาส อันเนือง มาจากลําดับขันของกติ Y กาของทังY 2 ทีม น่าจะมีเท่าเทียมกัน ส่วนทีแตกต่าง ทีเป็ นตัวบ่งชี Yถึงผล การแข่งขันก็คงเป็ นความผิดพลาดของผู้เล่นและพัฒนาการของแต่ละทีมทีมีไม่เท่ากัน - จุดประสงค์ของระบบนี Yคือ ความพอเหมาะพอดีของการเล่นใน 1 แต้ ม ทังในเรื Y  องการใช้ เวลาและ ภาพของการเล่นทีหลากหลาย ซึง มีการโต้ ตอบรุ กรับขับเคียวกันมากขึ Yนของคูแ่ ข่งขัน การให้ เริ มใช้ ระบบ กติกาเดิมในท้ ายรอบที 2 ทีทีมฝ่ ายรับ หรื ออีกทางเลือกคือต้ นรอบที 3 ทีทีมเสิร์ฟ น่าจะทําให้ เกิดความ สมดุลย์ในระบบเกมการแข่งขันมากทีสดุ เหตุผลก็คือ ถ้ าหากให้ เริ มใช้ ระบบกติกาเดิมทีทีมเสิร์ฟ ตังแต่ Y เริ มเข้ าสูร่ อบที 2 ผลลัพท์ทีได้ คงไม่ตา่ งจากรู ปแบบมาตรฐานเดิมทีมีอยู่แล้ วมากนัก หรื อถ้ าเริ มในรอบที 4 ก็คงจะทําให้ รูปแบบของเกมในครึงแรก เป็ นการเล่นทีซํ Yาซากในลักษณะเดียวมากเกินไปจนเกินความ จําเป็ น ซึง จะทําให้ สญ ู เสียความสมดุลย์ ความพอเหมาะพอดีของเกมการเล่นใน 1 แต้ ม - สําหรับการใช้ สนามตัวเลือกที 1 ในการแข่งขัน (Extended court length - Pict 1) ซึง การ เสิร์ฟสามารถเล่นได้ ทังลู Y กหยอดและลูกหนัก ทําให้ การเสิร์ฟหวังผลได้ ทดั เทียมกับในระบบมาตรฐาน เดิม ซึง ก็ทําให้ ในการกลับมาเล่นในระบบกติกาเดิมเลือกทีจะเริ มจากทีมฝ่ ายรับได้ โดยเริ มจากทีมฝ่ าย รับในรอบที 2 (มีผลให้ การเล่นใน 1 แต้ มกระชับขึ Yนกว่าการเริ มในรอบที 3 เล็กน้ อย) ซึง ก็น่าจะใช้ ได้ ดี และไม่มีผลกระทบต่อความสมดุลย์ของเกมด้ วยเช่นกัน เพราะเหตุวา่ แม้ จะเริ มจากทีมฝ่ ายรับก็ไม่น่าจะ ทําไห้ ฝ่ายรับเกิดโอกาสในการชิงความได้ เปรี ยบมากกว่าฝ่ ายเสิร์ฟ (หมายความถึงกฎ กติกาทีอาจจะทํา

ให้ เกิดโอกาสทีไม่เท่าเทียม ภายในช่วงแต่ละ 1 แต้ ม) เพราะกรณีนี Yฝ่ ายเสิร์ฟสามารถใช้ การเสิร์ฟทังลู Y ก หยอดและลูกหนัก กดดันฝ่ ายรับจนเปิ ดลูกได้ ยาก หรื อถึงกับเปิ ดพลาดเสียแต้ มก็มีความเป็ นไปได้ มาก เช่นกัน (หากผู้เล่นตําแหน่งเสิร์ฟเล่นได้ ดีซงึ ได้ มาจากความสามารถของผู้เล่น ไม่ใช่มาจากปั จจัยอืนใดที เปิ ดช่องเปิ ดโอกาสให้ มากกว่าอีกฝ่ าย) สรุ ปได้ วา่ สําหรับการใช้ สนามแบบ Extended court length ในช่วงครึงหลังทีต้องกลับมาเล่นใน ระบบกติกาเดิม สามารถเลือกทีจะใช้ ได้ ทงั Y 2 กรณี โดยเริ มจากทีมฝ่ ายรับในรอบที 2 หรื อ เริ มจากฝ่ าย เสิร์ฟในรอบที 3 ส่วนตัวเลือกใหนจะให้ ผลลัพท์ทีเหมาะสมลงตัวทีสดุ คงต้ องทดลองทดสอบในสนามแข่ง ขันหลายๆครังY เพือเปรี ยบเทียบข้ อมูลหาผลสรุ ป และสําหรับสนามขนาดมาตรฐานเดิม(ตัวเลือกที 2) การกลับมาเล่นในระบบกติกาเดิมในช่วงครึงหลัง โดยทีให้ เริ มจากทีมฝ่ ายเสิร์ฟ ในรอบที 3 น่าจะมีความ เหมาะสมมากกว่า(เริ มครึงหลังทีทีมเสิร์ฟ) เนืองจากทีมฝ่ ายรับมีโอกาสค่อนข้ างมากในการเปิ ดลูกเสิร์ฟ ได้ ดีเพราะไม่มีความกดดันจากการเสิร์ฟลูกหยอดเหมือนในสนามตัวเลือกที 1 จึงต้ องถือว่าทีมรับมี โอกาสมากทีจะเป็ นฝ่ ายได้ บกุ ก่อนตังแต่ Y รอบที 1 และด้ วยสาเหตุนี Y ถ้าหากให้ ทีมรับได้ เริ มเล่นหน้ าเน็ต ก่อน(เริ มครึงหลังทีทีมรับ) ก็อาจจะเป็ นการเปิ ดช่องให้ ทีมฝ่ ายรับเป็ นฝ่ ายได้ รับโอกาสมากกว่าจนเกินพอ ดีจนขาดความสมดุลย์ - สําหรับการเล่นในประเภทคู(่ Double event) การเสิร์ฟจากเส้ นหลังทีห่างเน็ตมาก ทําให้ โอกาสที การเสิร์ฟจะสร้ างความกดดันให้ กบั ฝ่ ายรับจนเปิ ดลูกได้ ยากหรื อถึงกับเสียแต้ มนันY น่าจะเกิดขึ Yนได้ น้อย กว่าการเสิร์ฟในประเภท 3 คนอยู่คอ่ นข้ างมาก นัน คือฝ่ ายรับจะเล่นได้ ง่ายกว่า โอกาสในการชิงความได้ เปรี ยบของฝ่ ายรับจะมีมากกว่าเมือเทียบกับการเล่นในประเภท 3 คน ด้ วยเหตุนี Y ในการกลับมาเล่นใน ระบบกติกาเดิม ถ้ าหากเริ มจากฝ่ ายรับในรอบที 2 ก็เท่ากับกติกาไปเพิมโอกาสให้ ฝ่ายรับมากยิงขึ Yนไปอีก ซึง อาจทําให้ แต้ มเกิดขึ Yนจากทางฝ่ ายรับเป็ นส่วนใหญ่ และเกิดความโน้ มเอียงและเบียงเบนไปในทางใด ทางหนึง มากเกินไป จนอาจทําให้ เกมการแข่งขันขาดดุลยภาพได้ ด้ วยเหตุนี Yเพือทีจะทําให้ ทงั Y 2 ฝ่ าย มี โอกาสในการชิงความได้ เปรี ยบทีใกล้ เคียงกัน ซึง จะทําให้ ระบบการแข่งขันในประเภทคูม่ ีความสมดุลย์ ในการกลับมาเล่นในระบบกติกาเดิม จึง(ควรที)จะต้ องเริ มจากฝ่ ายเสิร์ฟ ในรอบที 3 เพราะในกรณีเช่น นี Yถือว่าทีมรับเป็ นฝ่ ายได้ บกุ ก่อนได้ ขึ Yนฟาดลูกก่อนตังแต่ Y รอบที 1 (ความกดดันจากการรับลูกเสิร์ฟมีน้อย กว่า และมีโอกาสค่อนข้ างสูงมากทีจะเปิ ดลูกเสิร์ฟได้ ดี) อีกทังโอกาสที Y ลกู จะตายหรื อมีแต้ มเกิดขึ Yนในช่วง ครึงแรกก็น่าจะมีมากกว่า หรื อไม่ก็ไม่น้อยกว่าในประเภท 3 คน เพราะในการตังรัY บมีผ้ เู ล่นน้ อยกว่า - เรื องสําคัญอย่างหนึง ทีกีฬาหลายชนิดมีปัญหาเกิดขึ Yน จนต้ องปรับเปลียนกฏเกณฑ์บางอย่างก็ คือ เรื องของความสมดุลย์ในระบบเกมการแข่งขัน การปรับกติกาเพือให้ เกิดเความสมดุลย์จะคํานึงถึง ลําดับขันตอนที Y อาจทําให้ เกิดความไม่เสมอภาคในด้ านต่างๆ และต้ องไม่เปิ ดช่องทางให้ ทกุ ทีม หันมาใช้ เทคนิควิธีอย่างใดอย่างหนืงมากจนเกินขอบเขตเพือเน้ นผลการแข่งขันเพราะกติกาเปิ ดช่องให้ จนทําให้ ทังเกมไม่ Y พบเห็นเกมการเล่นและเทคนิควิธีทีครบถ้ วนหลากหลายเท่าทีควรจะเป็ นจากผู้เล่นในทุกๆ ตําแหน่ง ตามเอกลักษณ์ของกีฬาชนิดนันๆ Y ซึง ในทีนี Yถือเป็ นส่วนหนึง ในความหมายของ "ความสมดุลย์ใน ระบบเกมการแข่งขัน" ซึง เป็ นส่วนสําคัญทีเป็ นสาเหตุทําให้ เกิดการเปลียนแปลงองค์ประกอบบางส่วนใน

กีฬาประเภทต่างๆ ถาม - การนําระบบการเล่นนี Yไปใช้ กบั เซปั คตะกร้ อประเภทคู่ เพือเป็ นอีก 1 ทางเลือก จะมีความ เหมาะสม และมีผลเป็ นเช่นเดียวกันหรื อไม่ ? จํานวนผู้เล่นทีน้อยจะทําให้ โอกาสในการขึ Yนฟาดลูกในครึง แรก มีน้อยลงหรื อทําได้ ยากขึ Yน จนดูเหมือนว่า เป็ นการจํากัดขอบเขตการเล่นทีมากเกินไปหรื อไม่ ? ตอบ - ในการเล่นประเภทคู่ (Double event) การเสิร์ฟจากเส้ นหลังทีห่างเน็ตมากน่าจะสร้ างความกด ดันให้ กบั ฝ่ ายตรงข้ ามได้ น้อยกว่าการเสิร์ฟในประเภท 3 คน (ประเภทคู่ มักไม่คอ่ ยมี การเสิร์ฟลูกหยอด (The short serve) เช่นเดียวกับประเภท 3 คนในระบบใหม่ แต่จดุ เสิร์ฟจะอยู่ไกลกว่า) ซึง โดยทัว ไป ผู้ เล่นประเภทคู่ มักจะเล่นใด้ อย่างหลากหลายและมีความคล่องตัวสูงทังY 2 คน การนําระบบการเล่นนี Yไป ใช้ ก็น่าจะทําให้ เกมการแข่งขันมีความสนุก เร้ าใจจากการรุ กรับขับเคียวทีมากขึ Yนของผู้เล่นทังY 2 ฝั ง แทน ทีระบบการเล่นนี Yจะเป็ นปั ญหา ก็น่าจะกลับเป็ นความท้ าทายทีจะเพิมศักยภาพของผู้เล่นให้ พฒ ั นาขึ Yนไป อีกขีดขันหนึ Y ง จากความเคยชินปกติทีทําได้ อยู่แล้ ว ทังความแม่ Y นยําเมือชงลูก ความเคลือนไหวขณะขึ Yน ฟาดลูกในเกมรุ ก และการตังรัY บทีเหนียวแน่น เมือเปิ ดลูกหรื อบล็อกลูกในเกมรับ ภาพของผู้เล่นเพียง 2 คนของทังY 2 ฝั ง ทีตงรั ั Y บลูกฟาดจากระยะไกลเหนือเส้ น Attack line ของคูแ่ ข่งและสามารถโต้ ตอบกลับ ไปได้ ในแบบเดียวกันในช่วงครึงแรก น่าจะช่วยสร้ างบรรยากาศทีคกึ คัก สนุกตืนเต้ นให้ เกิดขึ Yนภายใน สนามแข่งขันได้ เป็ นอย่างดี และหากทังY 2 ฝ่ ายเล่นเกมรับได้ อย่างเหนียวแน่นโดยทียงั ไม่เสียแต้ มตังแต่ Y ในช่วงครึงแรก ก็ยงั มีครึงหลังให้ ได้ ล้ นุ ว่า ทีมใดจะเป็ นฝ่ ายได้ ขึ Yนฟาดหน้ าเน็ต อีกทีมจะขึ Yนบล็อกลูกได้ ดี หรื อไม่ และในทีสดุ จะเป็ นทีมใดทีได้ 1 แต้ มนี Y (ข้ อสังเกตุ - การขึ YนฟาดจากระยะไกลและการตังรัY บอย่างเหนียวแน่นแล้ วโต้ กลับจะเป็ นภาพของการ ขับเคียวทีสวยงามตืนตาด้ วยทักษะลีลาทีเข้ มข้ นโลดโผนของผู้เล่นทีได้ รับการฝึ กฝนมาเป็ นอย่างดี และ ไม่ใช่วา่ ระบบ Attack line จะจํากัดอยู่แต่เฉพาะผู้เล่นทีมีความชํานาญแล้ วเท่านันY แต่ยงั ช่วยให้ ผ้ เู ล่นมือ ใหม่ทีเพิงเริ มต้ น รู้ สกึ สนุกเพลิดเพลินไปกับการฝึ กซ้ อมกีฬาเซปั คตะกร้ อ เพราะการรับลูกทีฝ่ายตรงข้ าม ตีโต้ กลับมาจากระยะทีห่างเน็ตจะทําได้ ง่ายกว่า ลูกตายยากขึนY มีโอกาสโต้ ตอบกันมากกว่าการทีผ้ เู ล่น เข้ าไปเล่นหน้ าเน็ตได้ ในทุกครังY หลังจากรับลูกเสิร์ฟ ในทางตรงข้ าม ถ้ าหากการตังรัY บทุกครังY ทําได้ ยาก เนืองจากขึ Yนเล่นหน้ าเน็ตได้ ในทุกเวลา แต้ มจะเกิดขึ Yนอย่างรวดเร็ วจนดูเหมือนแต่ละแต้ มได้ มาโดยง่าย ก็ อาจทําให้ ผ้ เู ริ มต้ น รู้ สกึ ท้ อ หมดสนุกจนถึงกับทําให้ แรงจูงใจทีจะฝึ กฝนอย่างต่อเนืองลดน้ อยถอยลงไปก็ อาจเป็ นได้ กรณีเช่นนี Y เทนนีสประเภทเดียว เป็ นตัวอย่างหนึง ของกีฬาข้ ามตาข่ายทีกติกาและการปรับ ขนาดสนาม ทําให้ ผ้ เู ล่นไม่สามารถขึ Yนเล่นหน้ าเน็ตได้ ในทุกเวลาหลังจากรับลูกเสิร์ฟ ส่งผลให้ ในช่วงแรก ของแต่ละแต้ ม ผู้เล่นทังสองฝั Y  งจะมีการโต้ ตอบ ขับเคียวกันในจนกว่าจะมัน ใจว่าคูต่ อ่ สู้เสียการควบคุมลูก จึงจะเป็ นฝ่ ายชิงความได้ เปรี ยบขึ Yนเล่นหน้ าเน็ตได้ จะเห็นได้ วา่ การต่อสู้ขบั เคียวในลักษณะเช่นนี Yของ กีฬาเทนนีส มักจะสะกดผู้ชมให้ หยุดนิงและเรี ยกเสียงปรบมือในตอนท้ ายของแต่ละ rally ได้ บ่อยครังY มาก

ในแต่ละเกม สําหรับเซปั คตะกร้ อ เนืองจากรู ปแบบการเล่นและการเคลือนไหวทีแตกต่างกันกับเทนนีส เซ ปั คตะกร้ อก็คงไม่ถงึ กับต้ องโต้ ตอบ ขับเคียวกันยาวหลายรอบเหมือนอย่างเทนนีส แต่ถ้าแต่ละแต้ มไม่มี การขับเคียวโต้ ตอบกันเลยคือ เสิร์ฟ-ฟาด-แล้ วก็ลกู ตาย เป็ นภาพซํ Yาๆกันภาพเดียวตังแต่ Y แต่แต้ มแรกจน แต้ มสุดท้ ายทุกครังY ไป ก็คงทําให้ เกมการแข่งขันขาดความเคลือนไหวทีหลากหลายจนไม่เกิดความสนุก ตืนเต้ นเท่าทีควร ในอีกแง่มมุ หนึง ถ้ าเซปั คตะกร้ อมีการโต้ กนั ไปถึงรอบที 3 หรื อ 4 บ่อยครังY มากขึ Yนในแต่ ละเซ็ต(ไม่น้อยกว่า 50-60% ต่อเซ็ตโดยเฉลีย) ก็น่าจะทําให้ ผ้ เู ล่นในทุกๆตําแหน่งมีโอกาสทีจะได้ ใช้ ทักษะ เทคนิคและยุทธวิธีทีมีความครบเครื องหลากหลายมากขึ Yน ส่งผลให้ เกมการแข่งขันมิติ มีสีสนั และ สนุกตืนเต้ นมากยืงขึ Yน และด้ วยการทีในช่วงครึงหลังจะใช้ กติกาเดิมทุกอย่าง ขึ Yนฟาดขึ Yนบล็อกหน้ าเน็ตได้ จนกว่าลูกจะตาย จึงทําให้ จํานวนรอบทีโต้ กนั มีไม่มากจนเกินพอดีหรื อมากจนเกินไปสําหรับเซปั ค ตะกร้ อ ซึง ถ้ ามากไปก็อาจจะส่งผลกระทบต่อระบบโดยรวม ทังตั Y วนักกีฬาและความสมดุลย์ของเกมใน ระหว่างแข่งขัน) ถาม - ในเซปั คตะกร้ อทังY 3 ประเภท เรื องของการเสิร์ฟ แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันมากน้ อยแค่ ใหน ? สําหรับการเล่นในระบบใหม่(สนามตัวเลือกที 2) ถ้ าหากในการเสิร์ฟ กําหนดให้ เสิร์ฟลูกหยอดลง ในเขตฟาล์วได้ (เฉพาะลูกเสิร์ฟ) จะมีผลอย่างไรต่อระบบโดยรวม ? ตอบ - สําหรับการใช้ สนามตัวเลือกที 2 ระบบทีมีการจํากัดเขต (Attack line) การเสิร์ฟลูกหยอดลงใน เขตฟาล์วได้ อาจจะเป็ นสาเหตุทีทําให้ ระบบการแข่งขันไม่เกิดความสมดุลย์เท่าทีควร เพราะในระบบใหม่ การจํากัดเขตขึ Yนฟาด ก็ทําให้ ทีมรับเล่นเกมรุ กได้ ไม่ง่ายนักเช่นกัน ซึง นับเป็ นความกดดันในระดับหนึง อยู่ แล้ ว แต่ถ้ามีการเสิร์ฟลูกหยอดทีหน้ าเน็ตได้ (สนามตัวเลือกที 2) ทีมรับต้ องเปิ ดลูกย้ อนหลังให้ ตวั ทําขึ Yน ฟาดทีนอกเขตฟาล์ว ซึง เท่ากับเป็ นการจํากัดขอบเขตการเล่นทีซํ Yาซ้ อนกับทีมรับเพิมเข้ าไปอีก - ถ้ าให้ มีการเสิร์ฟ ลูกหยอดลงในเขตฟาล์วได้ ก็เท่ากับว่าในรอบที 1 มีการจํากัดเขตทีทีมฝ่ ายรับ เพียงฝ่ ายเดียว ซึง กฏ กติกาแบบเดียวกันควรมีผลใช้ ทงั Y 2 ฝั ง - ในทังY 3 ประเภท เซปั คตะกร้ อประเภทคูต่ ้ องเสิร์ฟจากเส้ นหลัง ซึง มีระยะในการเสิร์ฟจากจุดเสิร์ฟ ทีห่างจากเน็ตและผู้เล่นฝ่ ายตรงข้ ามมากทีสดุ อาจจะทําให้ การสร้ างความกดดันให้ กบั ฝ่ ายตรงข้ าม ด้ วย ลูกเสิร์ฟมีผลน้ อยกว่าการเสิร์ฟในเซปั คตะกร้ อประเภท 3 คนอยู่บ้าง เพราะเสิร์ฟจากระยะไกลและมักไม่ มีการเสิร์ฟลูกหยอด แต่ก็น่าสังเกตุได้ วา่ ในระยะหลังๆนี Y มผี ้ เู ล่นประเภทคูท่ ีพฒ ั นาการเสิร์ฟกดดันผู้เล่น ฝ่ ายตรงข้ ามจนเปิ ดลูกเสีย หรื อถึงกับรับลูกพลาดจนเสียแต้ มไปเลยนันY ก็มีให้ เห็นอยู่บ่อยครังY แสดงถึง ว่าเมือผู้เล่นมีความคุ้นเคย ก็จะเกิดการปรับเทคนิควิธีการเล่นให้ เข้ ากันกับระบบทีแตกต่างได้ มากพอ สมควร - สําหรับการใช้ สนามตัวเลือกที 2 ในเซปั คตะกร้ อทีใช้ ระบบใหม่ก็ไม่มีการเสิร์ฟลูกหยอดซึง เหมือน กับประเภทคู่ แต่ระยะในการเสิร์ฟใกล้ กว่าค่อนข้ างมากซึง เมือเปรี ยบเทียบระดับของการหวังผลจากลูก เสิร์ฟของทังY 3 ประเภท จะเห็นได้ วา่ ระบบเดิมหวังผลได้ มากทีสดุ เพราะเสิร์ฟได้ ทกุ รู ปแบบทังลู Y กหยอด

และลูกหนัก ในระบบใหม่ระดับของการหวังผลจากลูกเสิร์ฟคงจะตํากว่าระบบเดิมอยู่เล็กน้ อยในระดับ หนึง แต่ในประเภทคูร่ ะดับการหวังผลดูจะตํากว่าระบบเดิมค่อนข้ างมาก เพราะระยะการเสิร์ฟทีอยู่ไกล ถึงเส้ นหลัง - ในเซปั คตะกร้ อระบบเดิม การตังรัY บลูกเสิร์ฟของทีมรับ ดูจะมีความกดดันสูงกว่าประเภทอืนอยู่ใน ระดับหนึง เพราะต้ องรับมือทังลู Y กหยอด และลูกหนัก แต่ถ้าสามารถเปิ ดลูกได้ ดีโอกาสทีจะได้ แต้ มในทันที ก็มีสงู กว่าเช่นกัน เพราะไม่มีการจํากัดเขตการเล่น ส่วนในเซปั คตะกร้ อทีใช้ ระบบใหม่(สําหรับสนามตัว เลือกที 2) การตังรัY บลูกเสิร์ฟของทีมรับอาจจะมีแรงกดดันน้ อยกว่าระบบเดิมอยู่บ้าง แต่เมือมีการจํากัด เขตการเล่น การชงและขึ Yนฟาดเพือให้ ได้ แต้ มในรอบแรกๆก็คงไม่ใช่เรื องทีทําได้ ง่ายนักซึง ก็เป็ นการทด แทนกันไปเช่นกัน ถาม - สําหรับการใช้ สนามตัวเลือกที 1 ซึง ระบุวา่ เพือให้ ผ้ เู ล่นตําแหน่งเสิร์ฟ เสิร์ฟได้ ทงลู ั Y กหยอดและ ลูกหนัก เหมือนกันกับในระบบเดิม โดยทีผลลัพท์โดยรวมก็ยงั เป็ นไปตามจุดประสงค์ทีตงไว้ ั Y มีราย ละเอียดอย่างไร ? เป็ นการปรับเปลียนทีตา่ งจากสนามมาตรฐานเดิมตรงส่วนใหน ? อย่างไรบ้ าง ? ตอบ - วิธีการทีน่าจะทําให้ ได้ ผลลัพท์โดยรวมทีลงตัวพอเหมาะพอดีตามวัตถุประสงค์หลัก คือการปรับ เพิมความยาวของสนามออกไปทางด้ านหลังอีก(Extend court length) เป็ นระยะยาวพอประมาณ (ดู รู ปที 1) ซึง จะทําให้ เกิดผลดังนี Y 1. ตําแหน่งจุดทียืนรับลูกเสิร์ฟของผู้เล่นฝ่ ายรับ (Position of receiving players) จะเปลียน ตําแหน่งไปจากจุดเดิม โดยต้ องขยับถอยร่ นออกไปทางด้ านหลังมากขึ Yน 2. ระยะห่างระหว่างตําแหน่งยืนของผู้เล่นฝ่ ายรับและแนว Attack line จะมีระยะห่างเพิมมากขึ Yน 3. ทําให้ ผ้ เู ล่นตําแหน่งเสิร์ฟ สามารถหวังผลได้ จากการเล่นลูกหยอด โดยการเสิร์ฟลูกหยอด (The short serve) ลงบริ เวณเส้ นเขตฟาล์ว (ความยาวของสนามทีเพิมออกไป ต้ องเพียงพอทีจะทําให้ เกิดระยะห่างด้ านหน้ าดังทีกล่าวในข้ อ 2 เป็ นระยะทีทําให้ สามารถเล่นลูกหยอดได้ ) 4. รู ปแบบนี Yทําให้ ผ้ เู ล่นตําแหน่งเสิร์ฟ เล่นได้ หลากหลายทังลู Y กหนักและลูกหยอด(The server can use the short serve) และหวังผลได้ ทดั เทียมหรื อใกล้ เคียงกับในระบบเดิม โดยทีผลลัพท์โดยรวม ก็ยงั เป็ นไปตามจุดประสงค์หลัก ถาม - ถ้ าหากเลือกใช้ รูปแบบนี Y การเสิร์ฟลูกหยอดให้ ลงบริ เวณเส้ นเขตฟาล์ว ซึง มีระยะห่างจากจุด เสิร์ฟมากกว่าบริ เวณหน้ าเน็ต ค่อนข้ างมาก จะทําให้ การหวังผลจากการเสิร์ฟทําได้ ยากกว่าในระบบเดิม หรื อไม่ ? ทําไมจึงคิดว่า หวังผลได้ ทดั เทียมหรื อใกล้ เคียงกับในระบบเดิม ? ตอบ - เพราะเมือผ่านไประยะหนึง การเสิร์ฟจะถูกพัฒนาไปตามระบบ ผู้เล่นจะปรับเทคนิควิธีที เหมาะสม การปรับนํ Yาหนักการเสิร์ฟให้ ลกู ลงบริ เวณแนวเส้ นเขตฟาล์ว(การเล่นลูกหยอด) ก็คงจะไม่ใช่

สิงทีทําได้ ยากกว่าการเสิร์ฟให้ ลกู ลงบริ เวณหน้ าเน็ต การเสิร์ฟลูกติดเน็ตทีเห็นได้ บ่อยๆในระบบเดิม และ การเสิร์ฟลูกแล้ วลงไม่พ้นแนวเส้ นเขตฟาล์วในระบบใหม่ ค่าเฉลียจํานวนครังY ทีเกิดขึ Yนคงจะไม่แตกต่าง กันสักเท่าไร แต่สิงสําคัญทีควรคํานึงถึงมากกว่าซึง จะทําให้ การเสิร์ฟหวังผลได้ ทดั เทียมหรื อใกล้ เคียงกับ ในระบบเดิมก็คือ การปรับเพิมความยาวของสนามออกไปทางด้ านหลัง จะต้ องได้ ระยะทีพอเหมาะพอดี ซึง ต้ องทําการทดสอบหลายๆครังY จนกว่าจะได้ ระยะได้ สดั ส่วนทีดีทีสดุ ทีสําคัญต้ องไม่ให้ สนจนเกิ ัY นไป เพราะจะทําให้ การเสิร์ฟลูกหยอดใช้ ไม่ได้ ผล และถึงแม้ วา่ จะต้ องเพิมความยาวของสนามออกไปอีกพอ สมควร ก็ไม่น่าจะมีผลกระทบมากพอทีจะทําให้ เกมการตังรัY บทําได้ ยากขึ Yนกว่าเดิม จนทําให้ ระบบขาด ความสมดุลย์ไปได้ เพราะว่ากรอบพื Yนที ทีเป็ นลูกดี(ลูกลงแล้ วได้ แต้ ม) เมือขยายความยาวออกไปแล้ ว จะอย่างไรก็คงมีขนาดไม่ใหญ่ไปกว่ากรอบพื Yนทีสนามของระบบเดิม เพียงแต่ขยับห่างออกไปจากเน็ต มากขึ Yนกว่าเดิมเท่านันY แต่ถ้าไม่ต้องการให้ ผลแพ้ ชนะขึ Yนอยู่กบั ผู้เล่นตําแหน่งเสิร์ฟมากจนเกินไป จนทุก ทีมหันมาเน้ นแต่การเสิร์ฟตลอดทังเกม Y ซึง ทําให้ แต้ มทีเกิดจากการเสิร์ฟมีมากเกินขอบเขตจนเป็ นเหตุให้ ไม่คอ่ ยจะได้ เห็นการรุ กรับขับเคียวทีครบเครื องหลากหลายด้ วยเทคนิควิธีอืนๆ จากผู้เล่นทุกๆตําแหน่ง อย่างครบถ้ วนเท่าทีควรจะเป็ น ก็คงต้ องปรับระยะแนวเส้ นหลังกลับเข้ ามาให้ มีระยะห่างจากแนวเส้ น Attack line น้ อยลงจากทีขยายออกไป โดยสันลงจากเดิ Y มในระดับทีทําให้ การเสิร์ฟหยอดหวังผลได้ ยาก ขึ Yนเล็กน้ อย แต่ยงั อยู่ในระยะทีสามารถกดดันผู้เล่นฝ่ ายรับให้ เปิ ดลูกได้ ลําบากเมือเสิร์ฟได้ ดี กรณีนี Yใน ครึงหลังซึง ยกเลิก Attack line ให้ เริ มจากฝ่ ายเสิร์ฟในรอบที 3 น่าจะมีความเหมาะสมมากกว่าเพราะ ฝ่ ายเสิร์ฟ เสิร์ฟเพือได้ แต้ มหรื อกดดันฝ่ ายรับได้ ยากขึ Yนเล็กน้ อย (ในการสํารวจวัดค่าเฉลียจากการ ทดสอบแข่งขัน ถ้ ามีการใช้ ผ้ เู ล่นซึง มีมาตรฐานสูงทังตั Y วเสิร์ฟและฝ่ ายตังรัY บ ก็จะได้ พิกดั ระยะทีเป็ นหลัก มาตรฐานมากยิงขึ Yน) (ข้ อสังเกตุ - โดยการทดสอบหลายๆครังY ด้ วยการขึ Yนฟาดลูกทีมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับค่อนข้ างสูง จากบริ เวณเหนือเส้ น Attack line และด้ วยผู้เล่นทีมีมาตรฐานสูงเช่นเดียวกัน ถ้ าหากพบว่าการตังรัY บลูก ทีฟาดนี Y มีคา่ เฉลียหรื อมีเปอร์ เซ็นทีจะเปิ ดลูกไม่ได้ หรื อเปิ ดเสียแต้ มค่อนข้ างสูง นัน คือการเปิ ดลูกจากการ ฟาดนี Yทําได้ ยาก ก็แสดงว่าแนวเส้ น Attack line มีระยะทีใกล้ เน็ตมากเกินไป ต้ องขยับขยายแนวเส้ นหลัง และแนวเส้ น Attack line ขนานกันออกไปให้ มีระยะห่างจากเน็ตมากขึ Yนไปอีก แล้ วทําการทดสอบใหม่ จนได้ ระยะทีมีความสมดุลย์มากทีสดุ ทีมีผลทําให้ ทังที Y มฝ่ ายรุ กและฝ่ ายตังรัY บมีโอกาสทีจะได้ แต้ มหรื อ เสียแต้ มพอๆกันจากการเล่นในช็อตนี Y สว่ นผลทีออกมาจะเป็ นของทีมใดก็ขึ Yนอยู่กบั การสร้ างจังหวะ เทคนิคการเล่น ไหวพริ บการแก้ ไขสถานการณ์ของผู้เล่นแต่ละคนในชัว ขณะนันY ว่าทีมใดจะทําได้ แน่ นอนกว่า มีประสิทธิภาพมากกว่าและมีความผิดพลาดน้ อยกว่ากันเท่านันY ซึง เป็ นผลจากความสามารถที แท้ จริ งของผู้เล่นมากกว่าปั จจัยอืนๆ และเมือทุกอย่างถูกจัดวางได้ อย่างลงตัว ความคุ้นเคยกับระบบเริ ม เข้ าทีเข้ าทาง ในแต่ละเกมการแข่งขันก็คงปรากฏให้ เห็นถึงเกมการโต้ ตอบ รุ กรับขับเคียวทีมีความหลาก หลายมากขึ Yน ศักยภาพทางเทคนิคต่างๆจะถูกนํามาใช้ อย่างครบเครื องในการชิงชัยแต่ละแต้ ม (A rally) รวมถึงการวางแผน วางตัวผู้เล่น ก็คงมีการใช้ กลยุทธยุทธวิธีทีใหม่ๆทีน่าสนใจไม่น้อยไปกว่ากัน สิงเหล่า นี Yนับเป็ นสีสนั เป็ นความหลากหลาย ความสนุกตืนเต้ น ทีคาดหวังไว้ วา่ จะเกิดขึ Yนกับทังผู Y ้ เล่นและผู้ชม

เพิมมากขึ Yนทุกขณะทีมีการแข่งขัน) ถาม - ในช่วงครึงหลัง ซึง กลับมาใช้ กติกาในระบบเดิม ถ้ าจะกลับมาใช้ ขนาดพื Yนทีสนามเท่ากับของ ระบบเดิม ในการตัดสินลูกดี ลูกออก คือมีเส้ นหลังคูก่ นั 2 เส้ น ดังในรู ปที 1 การเปลียนกลับมาเช่นนี Y จะ มีความเหมาะสมหรื อไม่ ? ตอบ - มุมมองที 1 ในช่วงครึงหลัง ถ้ ากลับมาใช้ ขนาดพื Yนทีสนามเท่ากับของระบบเดิม ก็ไม่น่าจะมีผล กระทบมากนัก เพราะเป็ นการเปลียนจุดสังเกตุเพียงเล็กน้ อย เมือเริ มครึงหลัง จุดสังเกตุทีเปลียนแปลงไป ก็เป็ นเพียงแนวเส้ นหลังเพียงเส้ นเดียวเท่านันY ทีเปลียนจากเส้ นนอกกลับมาเป็ นเส้ นใน ซึง คงไม่ทําให้ เกิด ความยุ่งยากสับสนหรื อความไม่ชดั เจนใดๆในการตัดสินของผู้ตดั สิน อีกทังในครึ Y งหลังก็เป็ นช่วงทีเริ มใช้ กติกาในระบบเดิมทุกอย่างเป็ นการแยกส่วนออกมาเป็ นครึงแรก-ครึงหลัง ทีใช้ กรอบกติกาทีแตกต่าง อย่างชัดเจน - ในอีกมุมมอง จะเห็นได้ วา่ วิธีการข้ างต้ นเป็ นเหตุให้ กติกามีรายละเอียดทีซบั ซ้ อนย้ อนไปย้ อนมา จนเกินความจําเป็ น การใช้ พื Yนทีสนามเท่าเดิมตลอดเหมือนในช่วงครึงแรกน่าจะมีความเหมาะสมมาก กว่า ด้ วยเหตุทีในช่วงครึงหลังนี Yจะเป็ นเกมของการขึ Yนฟาดหน้ าเน็ตและการขึ Yนบล็อกลูกหน้ าเน็ต ขนาด ของสนามทีเพิมขึ Yนมีเพียงด้ านหลัง ผลกระทบทีมีตอ่ ทีมฝ่ ายตังรัY บก็คงจะมีไม่มากจนเกินไปจนทําให้ เกม การแข่งขันขาดความสมดุลย์ หรื อแม้ วา่ จะมีผลกระทบต่อทีมฝ่ ายรับบ้ างเล็กน้ อยในระดับหนึง ก็ต้องถือ เป็ นการให้ เครดิต ยกประโยชน์ให้ กบั ทีมทีทําผลงานได้ ดีกว่าในช่วงครึงแรก ทีสามารถชิงความได้ เปรี ยบ จนเป็ นฝ่ ายได้ ขึ Yนเล่นหน้ าเน็ตในช่วงครึงหลัง ซึง เป็ นความสามารถของผู้เล่นในช่วงครึงแรก ไม่ใช่การได้ เปรี ยบหรื อเสียเปรี ยบใดๆทีเกิดจากข้ อกําหนดของกติกา (ข้อสังเกตุ การมี เส้นหลังคู่กนั 2 เส้นพบเห็นได้ทวั ไปในกี ฬาข้ามตาข่าย หลายชนิ ดกี ฬามี เส้นคู่ที เป็ นกรอบ ทัง" เส้นข้างและเส้นหลังหรื อเส้นประไข่ปลานอกกรอบสนาม) ถาม - สําหรับผู้เล่นทีเพิงจะเริ มต้ นฝึ กกีฬาเซปั คตะกร้ อ หรื อผู้เล่นมือใหม่ ระบบการเล่นทีมีการใช้ เส้ น Attack line นี Y จะทําให้ ผ้ เู ล่นรู้ สกึ ว่าเล่นได้ ยากกว่าระบบเดิมจนเป็ นเหตุให้ การเล่นกีฬานี Yขาดความสนุก เพลิดเพลิน หรื อทําให้ แรงจูงใจทีจะฝึ กฝนให้ มีความต่อเนืองลดลงไปได้ หรื อไม่ ? ตอบ - สิงหนึง ทีทําให้ ผ้ เู ล่นมือใหม่ รู้ สกึ ว่าการเล่นกีฬาชนิดนี Yให้ สนุกเป็ นเรื องทีคอ่ นข้ างยาก จนอาจ ทําให้ ขาดแรงจูงใจทีจะฝึ กฝนอย่างต่อเนือง คือ การรับลูกทีฝ่ายตรงข้ ามตีโต้ กลับมาจะทําได้ คอ่ นข้ าง ยากลําบากสําหรับมือใหม่ โดยเฉพาะลูกทีฝ่ายตรงข้ ามตีโต้ กลับมาจากระยะใกล้ บริ เวณหน้ าเน็ต แม้ จะ เป็ นการโต้ กลับด้ วยลูกโหม่งลงพื Yนธรรมดาทีไม่ใช่ลกู ตบ ก็ยงั เปิ ดลูกได้ ลําบาก เพราะระยะทางทีลกู ตะกร้ อวิงมาถึงตัว เป็ นระยะทีใกล้ เกินกว่าทีผ้ เู ล่นซึง ยังมีทกั ษะในระดับเบื Yองต้ นจะตังรัY บหรื อเปิ ดลูกให้ ดี ได้ (แม้ แต่ผ้ เู ล่นทีมีทกั ษะสูง ถ้ าหากไม่ได้ ใช้ จงั หวะการขึ Yนบล็อกทีดีในการป้องกัน ก็ยงั คงเป็ นงานยากที

จะเปิ ดลูกให้ ได้ ดี เมือต้ องตังรัY บลูกทีโต้ กลับมาจากหน้ าเน็ต) โดยเหตุนี Yในการเล่นหรื อการซ้ อมร่ วมกัน ของผู้เล่นมือใหม่ มักจะเห็นผู้เล่นต้ องวิงเก็บลูกทีเสีย เพราะรับหรื อเปิ ดไม่คอ่ ยได้ ตลอดทังเกมโอกาสที Y  จะเกิดการโต้ ตอบ รุ กรับ กันด้ วยความสนุกสนานมีคอ่ นข้ างน้ อย แต่ถ้าเป็ นระบบการเล่นทีมีการใช้ เส้ น Attack line โอกาสทีจะเกิดการโต้ ตอบกันไปมาของผู้เล่นมือใหม่จะมีมากขึ Yน เนืองจากระยะทางทีลกู ตะกร้ อวิงมาถึงตัว มีระยะห่างค่อนข้ างมาก ทําให้ การตังรัY บหรื อเปิ ดลูกทําได้ ง่ายกว่า ดังนันแทนที Y ระบบ การเล่นทีมีการใช้ เส้ น Attack line นี Y จะเป็ นปั ญหาเป็ นอุปสรรคสําหรับผู้เล่นมือใหม่จนรู้ สกึ ท้ อถอย น่า จะกลับกลายเป็ นว่าระบบนี Y มีสว่ นทําให้ ผ้ เู ล่นทีเพิงเริ มต้ น รู้ สกึ สนุกเพลิดเพลินไปกับการฝึ กซ้ อมกีฬาเซ ปั คตะกร้ อ (ทีจะยากขึ Yนสําหรับผู้เล่นมือใหม่ก็คือ เมือผ่านช่วงครึงแรก ไปแล้ วเท่านัน) Y (ข้ อสังเกตุ ความคิดเห็นทีวา่ ระบบทีมีการเล่น 2 ช่วงในแต่ละแต้ มนี Y ในช่วงครึงแรกจะเป็ นการต่อสู้ ขับเคียว เพือทีอย่างน้ อย ต้ องทําให้ ฝ่ายตรงข้ ามเปิ ดลูกพลาดจนทําได้ เพียงแก้ ไขให้ ลกู ข้ ามไปเท่านันY ซึง เป็ นการชิงความได้ เปรี ยบทีจะได้ เป็ นฝ่ ายขึ Yนฟาดหน้ าเน็ตในช่วงครึงหลัง(หากลูกไม่ตายในช่วงครึงแรก) ถ้ าสังเกตุให้ ดีจะเห็นว่า ในกรณีเดียวกันนี Yหรื อคล้ ายคลึงกันนี Y มีปรากฏอยู่ในกีฬาข้ ามตาข่ายอย่าง เทนนิสประเภทเดียว ด้ วยเช่นกัน (ไม่ใช่มีกติกาทีคล้ ายคลึงกัน แต่คล้ ายคลึงกันในแง่ทีวา่ การขึ Yนเล่น หน้ าเน็ตจะเกิดขึ Yนในช่วงหลัง หลังจากทีมีการโต้ ตอบขับเคียวกันในช่วงแรกของแต่ละแต้ ม) ในกีฬา เทนนิส การทีเส้ นหลังมีระยะห่างจากเส้ นกลางมาก ทําให้ ผ้ เู ล่นไม่สามารถขึ Yนเล่นหน้ าเน็ตได้ ตงแต่ ั Y ช่วง แรกนอกจากบางกรณีซงึ มีน้อยครังY ทีจะสามารถทําให้ ฝ่ายตรงข้ ามสูญเสียการควบคุมลูก โดยทีไม่ถกู โต้ ย้ อนข้ ามศรี ษะกลับมาเมือขึ Yนหน้ าเน็ต ในแต่ละเซ็ตจะเห็นว่ามีหลายครังY ทีมีการตีโต้ กนั ไปมาหลายๆ รอบอย่างอดทน กว่าทีจะมีฝ่ายใดฝ่ ายหนึง ชิงความได้ เปรี ยบขึ Yนเล่นหน้ าเน็ตได้ ก่อน ซึง ลักษณะของการ ขับเคียวกันเช่นนี Y มกั จะเกิดขึ Yนหลายต่อหลายครังY ในแต่ละเกมและก่อนทีลกู จะตายมักจะมีช่วงตืนเต้ นที เรี ยกเสียงปรบมือจากผู้ชมได้ โดยตลอด (สําหรับเซปั คตะกร้ อถ้ ามีการโต้ กนั จนถึงรอบที 3 หรื อ4 น่าจะถือ ได้ วา่ เป็ น long rally ได้ หรื อไม่..? และถ้ าในแต่ละเซ็ต จํานวนครังY ทีมีการโต้ กนั จนถึงรอบที 3 มี ประมาณ 50-60% อีก40-50% ลูกตายในช่วงครึงแรก รวมถึงในการเสิร์ฟถ้ ากําหนดให้ ผลัดกันเสิร์ฟฝ่ าย ละ 3 ครังY * สิงเหล่านี Yพอจะอนุมานได้ หรื อไม่วา่ กีฬาเซปั คตะกร้ อระบบนี Yและกีฬาเทนนิส มีขนตอนของ ัY การเล่นดังทีกล่าวใกล้ เคียงกัน เพียงแต่จํานวนครังY ของการขึ Yนเล่นหน้ าเน็ตอาจจะต่างกัน?) อย่างใรก็ ตาม ความคิดเห็นนี Yเป็ นเพียงการตังข้ Y อสังเกตุทีอาจนําไปสูค่ วามเห็นใหม่ๆทีคาดไม่ถงึ เพราะกีฬาแต่ละ ชนิดย่อมต้ องมีรายละเอียดและเอกลักษณ์ทีแตกต่างกันไปซึง เป็ นสิงพิเศษเฉพาะตัวของกีฬาชนิดนันๆ Y การนํามาเปรี ยบเทียบกันก็อาจทําได้ ในบางจุดเท่านัน) Y (*กติ กาการเสิ ร์ฟที เ ปลี ย นใหม่ ของสหพันธ์ ตะกร้อนานาชาติ เริ มใช้ปี 2011) ถาม - ในท้ ายทีสดุ จากคําถาม - คําตอบ ทีได้ กล่าวมาทังหมด Y เพียงพอทีจะสรุ ปได้ หรื อไม่วา่ ควรจะ เป็ นตัวเลือกใด ทีมีรูปแบบเหมาะสมลงตัวทีสดุ ?

ตอบ - เพือทีจะหาข้ อสรุ ปว่าระบบใด รู ปแบบใดทีเมือนํามาปฏิบตั ิแล้ ว ได้ ผลลัพท์เหมาะสมลงตัวทีสดุ คงต้ องจัดทําชุดรายการบันทึกข้ อมูล ทีเป็ นเแบบสํารวจ แบบทดสอบ ซึง ใช้ เป็ นทีรวบรวมบันทึกผลทาง สถิติตา่ งๆ จากการทดลอง ทดสอบในสนามแข่งขัน เพือนํามาใช้ วิเคราะห์และพิจารณาหาผลสรุ ป ซึง เแบบสํารวจข้ อมูลส่วนหนึง ได้ จดั ทําเป็ นตัวอย่างไว้ ในตอนที 4 ของบันทึกฉบับนี Y เพือเป็ นแนวทางส่วน หนึง ให้ กบั ผู้เล่น หรื อทีมตะกร้ อทีสนใจจะนําระบบนี Yไปทดสอบทดลอง และบันทึกผลข้ อมูล สถิติตา่ งๆ เพือหาผลสรุ ปร่ วมกัน เพิ มเติ ม มีคําถามบางส่วน ทีไม่ได้ รวบรวมความคิดเห็นซึง เป็ นคําตอบทีมีความเห็นค่อนข้ างใกล้ เคียง กันมาลงไว้ ในทีนี Y แต่ก็ได้ นําตัวคําถามมาลงตังไว้ Y เป็ นข้ อสังเกตุ เพือเป็ นการเชือมโยงไปสูก่ ารปรับความ คิดความเข้ าใจในสิงทีเกียวข้ อง จนอาจจะเกิดเป็ นมุมมองเป็ นวิสยั ทัศน์ทีเปิ ดกว้ างมากยิงขึ Yน - กีฬาชนิดใด(ทุกประเภทกีฬา) และ กีฬาข้ ามตาข่ายชนิดใด ทีนกั กีฬาต้ องใช้ พละกําลังค่อน ข้ างมาก มีความเคลือนไหวมากมีอาการเหน็ดเหนือยอ่อนล้ าและเสียเหงือค่อนข้ างมากทังในระหว่ Y างการ แข่งขันและหลังจากจบเกมการแข่งขัน? กีฬา(ทัว ไป)และกีฬาข้ ามตาข่ายชนิดใดทีนกั กีฬามีสภาพการณ์ เช่นนี Yในระดับกลางๆ และชนิดใดทีนกั กีฬามีสภาพการณ์เช่นนี Y ในระดับทีน้อยมาก..? (ข้ อสังเกตุ คําถามนี Y เป็ นเพียงการตังข้ Y อสังเกตุ ทีชวนให้ ติดตาม ไม่ได้ หมายความว่า กีฬาทีใช้ พละ กําลัง และมีความเคลือนไหวมากกว่าจะมีความน่าสนใจมากกว่า หรื อจะได้ รับความนิยมมากกว่าอยู่ข้าง เดียว เพราะคงต้ องมีปัจจัยอืนๆและตัวแปรอืนๆ ทีเกืยวข้ องอีกมากทีสง่ ผลให้ เกิดผลลัพท์ทีแตกต่างกัน และคําถามนี Yยังใช้ แทนคําตอบ จากการทีมีข้อสงสัยว่าการแข่งขันเซปั คตะกร้ อในระบบทีมีการใช้ Attack Y ในช่วงครึงแรกก็จะทํา line ถ้ าหากทังY 2 ฝ่ ายเล่นเกมรับได้ อย่างเหนียวแน่น โดยทีไม่คอ่ ยเสียแต้ มตังแต่ ให้ มีการเล่นทีต้องสู้กนั จนถึงช่วงครึงหลังอยู่มากครังY ในแต่ละเกม จะเป็ นเหตุให้ ผ้ เู ล่นทีเคยชินกับระบบ เดิมมีความรู้ สกึ ว่า กว่าจะจบเกมการแข่งขัน ผู้เล่นต้ องทํางานหนักมากเกินไป ต้ องใช้ พละกําลังมากเกิน ไปหรื อไม่ ในการแข่งขันแต่ละครังY ) - กีฬาข้ ามตาข่ายชนิดใด ทีในแต่ละแต้ ม มีโอกาสทีจะเกิดการโต้ ตอบ รุ กรับขับเคียวกันค่อน Y ในแต่ละ ข้ างมาก จนถึงมากทีสดุ (โอกาสทีจะเกิด long rally) และกีฬาข้ ามตาข่ายชนิดใดทีตลอดทังเกม แต้ มมีโอกาสทีจะเกิดการโต้ ตอบ รุ กรับขับเคียว หรื อมีโอกาสทีจะเกิด long rally ค่อนข้ างน้ อยมากจนถึง น้ อยทีสดุ ในแต่ละเกมการแข่งขัน.? เช่น เทนนิส, วอลเลย์บอล, เซปั คตะกร้ อ, แบดมินตัน, เทเบิลเทนนิส, ฯลฯ, (สําหรับเซปั คตะกร้ อ ถ้ ามีการโต้ กนั จนถึงรอบที 3 หรื อ 4 น่าจะถือได้ วา่ เป็ น long rally ได้ หรื อไม่?) - มีปัจจัยอะไรบ้ างทีทําให้ กีฬาข้ ามตาข่ายบางชนิด ได้ รับความนิยมจากคนทัว โลก ซึง มีการจัด ทัวร์ นาเมนต์ รายการแข่งขันไปทัว โลกตลอดทังปี Y ..? และมีตวั แปรและปั จจัยอะไรบ้ างทีขาดหายไป ซึง ทํา ให้ กีฬาข้ ามตาข่ายบางชนิดยังไม่ได้ รับความนิยมในวงกว้ างเท่าทีควร..? เช่นการบริ หารจัดการ (การเผย แพร่ , การจัดรายการแข่งขัน, ผู้สนับสนุน,ฯลฯ) หรื อความน่าสนใจ ลักษณะพิเศษเฉพาะทีเป็ นเอกลักษณ์ ในกีฬาชนิดนันๆ Y (ความสนุกตืนเต้ น, ความสวยงาม, ความเร็ ว, รู ปแบบของเกม, ความยึดติดยึดถือ ความนิยมในตัวบุคคล-นักกีฬา, ฯลฯ) หรื อปั จจัยด้ านอืนๆ..?

- มีองค์ประกอบอะไรบ้ าง ทีเป็ นความแตกต่างระหว่างกีฬาอาชีพและกีฬาสมัครเล่น ในกีฬา ประเภทต่างๆ เหล่านี Y กีฬามวย,เทนนิส, วอลเลย์บอล, เซปั คตะกร้ อ, แบดมินตัน, บาสเก็ตบอล, ตะกร้ อ ลอดห่วง, ฟุตบอล, กีฬาแข่งรถ (ตัวอย่างเช่นกีฬามวยอาชีพ มีจํานวนยกมากกว่ากีฬามวยสมัครเล่นและ ไม่สวมใส่เฮดการ์ ดเครื องป้องกัน, ตะกร้ อลอดห่วงอาชีพมีจํานวนท่าเล่นถึง 25 ท่าขี Yนไป ตะกร้ อลอดห่วง สากลมีเพียง 8 ท่า เป็ นต้ น)..? ในกีฬาประเภทต่างๆ ทีกล่าวข้ างต้ น เมือมีการปรับยกระดับจากกีฬาสมัครเล่น ขึ Yนมาเป็ นกีฬา อาชีพ ด้ วยสาเหตุใดทีทําให้ กีฬาบางประเภท ในบางด้ านในบางแง่มมุ มีการปรับเปลียนองค์ประกอบ ต่างๆค่อนข้ างมาก และเพราะเหตุใดทีทําให้ กีฬาบางประเภท ซึง ในด้ านเดียวกันในแง่มมุ เดียวกันนันY มี การปรับเปลียนองค์ประกอบต่างๆน้ อยมากหรื อบางประเภทก็ไม่เปลียนแปลงสิงใดเลย? สําหรับกีฬาทีมี การปรับเปลียนค่อนข้ างมาก องค์กรกีฬามีจดุ มุง่ หมายหลักทีสําคัญ เพือให้ เกิดผลทางด้ านใด..?

Note - แบบแผน กฎกติกา และคําถามคําตอบต่างๆทังหมดที Y บนั ทึกไว้ นี Y เป็ นแนวความคิดทีเกิดจาก การคาดการณ์ ซึง นํามาจากการตรวจสอบผลลัพท์ตา่ งๆทีเกิดขึ Yนจากรู ปแบบการเล่นในระบบมาตรฐาน เดิม และยังไม่ใช่บทสรุ ปทีได้ มาจากการวิเคราะห์บทบันทึกทางสถิติตา่ งๆ ทีเกิดจากการนําระบบใหม่ ไปทดลองใช้ แข่งขันในสนามจริ ง ซึง ต้ องทําการทดสอบจากเกมการแข่งขันด้ วยจํานวนครังY ทีมากพอที จะทําให้ ได้ คา่ เฉลียต่างๆ เพือนํามาใช้ วิเคราะห์และพิจารณาหาผลสรุ ปในขันสุ Y ดท้ าย - สําหรับคําและวลีบางส่วน(คําทีขีดเส้ นใต้ ) จะมีคําภาษาอังกฤษต่อท้ าย เพือช่วยสือความหมายให้ ชัดเจนมากขึ Yน ในกรณีทีมีการใช้ เครื องมือแปลภาษา Translate tool และเพือเทียบเคียงความหมายกับ คําศัพท์มาตรฐานทางกีฬาซึง อยู่ในหนังสือหรื อบันทึกต่างๆทีเป็ นสากล ซึง ผู้เรี ยบเรี ยงต้ องขออภัยสําหรับ ข้ อผิดพลาดบกพร่ อง ทีอาจเกิดขึ Yนโดยไม่ได้ ตงใจ ั Y และขอบพระคุณอย่างยิง หากท่านทีสนใจในแนวทาง ของระบบนี Yจะช่วยกรุ ณาให้ ข้อเสนอแนะหรื อความคิดเห็นเพือทีจะได้ นําไปใช้ เป็ นข้ อมูลในการตรวจสอบ แก้ ไข ปรับปรุ ง ในโอกาสต่อไป และจากข้ อคิดเห็น กฏกติกา คําถาม-คําตอบต่างๆทังหมดที Y ผ่านมา ถ้ า หากสํารวจดูแล้ วเห็นว่าวิธีการทีนําเอาแนวเส้ น Attack line มาใช้ กบั กีฬาเซปั คตะกร้ อนี Yเมือผสมผสาน กับเอกลักษณ์ของระบบเดิมได้ อย่างลงตัวจะเป็ นอีกทางเลือกหนึง ทีน่าสนใจทีจะนําไปทดสอบทดลองใช้ ก็สามารถดาวน์โลด หรื อพิมพ์เนื Yอหาทังหมดได้ Y ทีเมนูคําสัง ด้ านบนของกรอบเอกสารนี Y - จุดประสงค์อย่างหนึง ของแนวคิดนี Y ก็เพือเป็ นการนําเสนอแลกเปลียนความคิดเห็น มุมมองใหม่ๆ โดยอาจจะมีบางส่วนทีเชือมโยงประสานกันได้ กบั ข้ อมูลในกล่องความคิดเห็นทีมีอยู่มากมายจากหลาก หลายแหล่งทีมา ซึง อาจมีทงมุ ั Y มมองทีตา่ งกัน เหมือนกันหรื อคล้ ายกัน ทุกความคิดทีแลกเปลียนนําเสนอ ไม่วา่ จะให้ ผลลัพท์ออกมาในทางใด โดยส่วนตัวมีความเห็นว่าอย่างน้ อยก็เป็ นจุดเริ มต้ นของกระบวนการ ทีจะก่อให้ เกิดโอกาสในการพัฒนาทีเพิมมากขึ Yนเรื อยๆ เพราะเมือเริ มมีความเห็นที 1 ก็มกั จะมีความเห็น ต่างๆติดตามมาเป็ นลําดับทังที Y เห็นด้ วยสนับสนุนและทีมีความเห็นแตกต่าง ความเห็นยิงมากก็ยิงมี โอกาสทีจะได้ ค้นพบส่วนทีดีในแต่ละมุมมอง ข้ อสําคัญอยู่ทีวา่ จะนําสิงเหล่านี Yมาเชือมโยงประกอบกัน อย่างไรเพือให้ ได้ ผลลัพท์ทีลงตัวตามวัตถุประสงค์

========================

แบบสํารวจข้ อมูลการแข่งขัน แนวทางและวัตถุประสงค์ของการสํารวจข้ อมูล - เพือทีจะให้ ได้ คา่ เฉลียทีมีความคลาดเคลือนน้ อย (ควรที)จะทําการทดสอบตังแต่ Y 5-10 เซ็ตขึ Yนไป หรื อยิงมากเซ็ต ก็จะทําให้ ได้ ผลลัพท์ทีเทียงตรงมากขึ Yน - การวิเคราะห์ผลทีได้ จากการทดสอบจะนําไปสูก่ ารแก้ ไข ขยับปรับเปลียนสัดส่วนองค์ประกอบ ต่างๆให้ ถกู ต้ องเหมาะสมมากยิงขึ Yน เพือให้ ระบบเกมการแข่งขันมีความสมดุลย์และเป็ นไปตามจุด ประสงค์หลัก - การปรับเปลียนแก้ ไขเพือให้ ได้ สว่ นผสมทีลงตัวทีสดุ จะเน้ นไปทีระยะของแนวเส้ น Attack line และระยะของเส้ นหลัง เพราะเป็ นองค์ประกอบส่วนหนึง ทีมีผลทําให้ ความสมดุลย์ของเกมเบียงเบนไปได้ มากทีสดุ นอกเหนือจากการกําหนดรอบทีจะเป็ นจุดเริ มของครึงหลัง ข้ อมูลทีจะทําการสํารวจจากการแข่งขันแต่ละเซ็ต (เลือกใช้ เฉพาะรู ปแบบของข้ อมูลทีคํานึงถึงวัตถุประสงค์ดงั ทีกล่าวข้ างต้ น) - ในทีนี Yใช้ ตวั เลือกที 1 (Extended court length) ซึง ในช่วงครึงหลังทีเริ มใช้ กติการะบบเดิมจะเริ ม จากทีมฝ่ ายรับ ในรอบที 2 - ภายใน 1 แต้ ม มีการประสานการเล่น 2 รู ปแบบ ครึงแรก > จากจุดเริ มต้ นในรอบที 1 จนถึง ทีมฝ่ ายเสิร์ฟในรอบที 2 (ใช้ กติกาซึง มีการ กําหนด Attack line) ครึงหลัง > เริ มจากทีมฝ่ ายรับในรอบที 2 จนถึง ลูกตาย (ใช้ กติการะบบเดิม) 1) จํานวนครังY ทีลกู ตายหรื อมีคะแนนเกิดขึ Yน ภายในไม่เกินครึงแรก หรื อภายในรอบทีใช้ กติการะบบ ใหม่ซงึ มีแนวเส้ น Attack line มีทงหมดกี ัY ครังY ? หรื อ... 2) จํานวนครังY ทีมีการเล่นโต้ ตอบกันอย่างต่อเนืองโดยทีลกู ยังไม่ตาย ไปจนถึงรอบทีเริ มใช้ กติการะบบ เดิม(ครึงหลัง) หรื อจํานวนครังY ทีลกู ตาย ทีเกิดขึ Yนตังแต่ Y ช่วงครึงหลังขึ Yนไป มีทงหมดกี ัY ครังY ? 3) ในครึงแรก ซึง มีการกําหนด Attack line จํานวนครังY ทีทงั Y 2 ทีมเปิ ดลูกได้ ในระดับทีดี ถึง ดีมาก (หมายถึงการเปิ ดลูกได้ ดีในระดับ B+ ถึง A ทังนํ Y Yาหนักและทิศทางอันมีผลทําให้ ตวั ชงและตัวทําเล่นได้ ง่ายถูกตําแหน่งทีถนัดและอยู่ในระยะทีหวังผลได้ มาก) มีทงหมดกี ัY ครังY ? (ไม่นบั ลูกทีเปิ ดจากลูกเสิร์ฟ) 4) ในครึงแรก ซึง มีการกําหนด Attack line จํานวนครังY ทีทงั Y 2 ทีม เปิ ดลูกได้ ในระดับทีไม่ดี และใน ระดับแค่พอใช้ ได้ หรื อพอฝื นไปได้ (หมายถึงการเปิ ดลูกแรกได้ ไม่ดีนกั ทังนํ Y Yาหนักและทิศทาง ทําให้ ตัวชง

และตัวทําเล่นได้ ยากลําบาก อาจทําได้ เพียงแก้ ไขให้ ลกู ข้ ามไป หรื อได้ ขึ Yนฟาดลูกแบบฝื นๆ ไม่เต็ม ศักยภาพเท่าทีควร) มีทงหมดกี ัY ครังY ? (ไม่นบั ลูกทีเปิ ดจากลูกเสิร์ฟ) 5) ในครึงแรก ซึง มีการกําหนดเส้ น Attack line จํานวนครังY ทีทงั Y 2 ทีม เปิ ดลูกแรกแบบจวนเจียนจะ เสีย หรื อเปิ ดลูกแฉลบเปลียนทิศทางอย่างรวดเร็ วโดยไม่มีโอกาสทีจะวางเท้ าชงลูกได้ ทนั ทําได้ เพียงตาม ลูกไปให้ ทนั และแก้ ไขให้ ข้ามไปได้ อย่างเฉียดฉิวเท่านันY (ต้ องแก้ ไขไม่วา่ จะเป็ นจังหวะที 2 หรื อจังหวะที 3 ทีอาจได้ ขึ Yนฟาดลูกในแบบเร่ งจังหวะฝื นเล่นในลักษณะทีคาบเกียว ซึง เสียงต่อการเสียแต้ มเพราะลูก ออกหรื อไม่ข้ามเน็ต) มีทงหมดกี ัY ครังY ?(ไม่นบั ลูกทีเปิ ดจากลูกเสิร์ฟ) 6) ในครึงแรก ซึง มีการกําหนดเส้ น Attack line จํานวนครังY ทีทงั Y 2 ทีม เปิ ดลูกแรกไม่ได้ หรื อเปิ ดลูก แรก แล้ วลูกตกพื Yนหรื อพุ่งแฉลบออกไปอย่างรวดเร็ ว ไม่สามารถเล่นต่อในจังหวะที 2 ได้ ทนั มีทงหมดกี ัY  ครังY ? (ไม่นบั ลูกทีเปิ ดจากลูกเสิร์ฟ) 7) ในการเสิร์ฟ จํานวนครังY ทีทีมฝ่ ายรับสามารถรับลูกเสิร์ฟหยอดได้ ทนั และเปิ ดลูกหยอดได้ ดี มีทงั Y หมดกีครังY ? จากจํานวนการเสิร์ฟลูกหยอดทังหมดกี Y ครังY ? หรื อมีสดั ส่วนมากน้ อยเท่าไรต่อจํานวนลูก เสิร์ฟหยอดทังหมด? Y 8) เมือเปิ ดลูกแรกได้ การชงลูกทีล้นเข้ าไปในเขต Attack line (หรื อตรงเส้ นพอดี) ของทังY 2 ทีม มีทงั Y หมดกีครังY ? แยกเป็ นทีมละกีครังY ? 9) ในช่วงครึงหลัง ซึง เริ มใช้ กติการะบบเดิม จํานวนครังY ทีทีมฝ่ ายรับ(ซึง เป็ นฝ่ ายทีได้ เริ มใช้ ก่อน)เปิ ดลูก ได้ ไม่ดีจนไม่สามารถขึ Yนฟาดลูกหน้ าเน็ตได้ หรื อฟาดได้ ไม่เต็มทีแบบผิดจังหวะชึง เป็ นเพียงการแก้ ไขให้ ลูกข้ ามไป (ซึง เป็ นผลมาจากการทีทีมฝ่ ายเสิร์ฟเล่นเกมบุกขึ Yนฟาดได้ ดีในครึงแรก) มีทงหมดกี ัY ครังY ? หรื อ มีทงหมดกี ัY ครังY ทีทีมฝ่ ายเสิร์ฟพลิกกลับมาเป็ นฝ่ ายได้ ขึ Yนฟาดลูกหน้ าเน็ต? การประเมินผลจากข้ อมูลข้ างต้ น - ถ้ าหากกําหนดระยะห่างระหว่างแนวเส้ น Attack line และเส้ นกลาง(ตรงเน็ต)น้ อยเกินไป ผลลัพท์ ทีเกิดจากข้ อมูลในข้ อที 1, 5 และ 6 จะมีจํานวนครังY ทีเกิดผลดังกล่าวค่อนข้ างมากครังY (นัน คือโอกาสทีจะ เกิดการโต้ กนั หรื อ rally ไปจนถึงช่วงครึงหลังมีคอ่ นข้ างน้ อยครังY จนเกินไป ถ้ าพิจารณาถึงจุดประสงค์ของ ระบบการเล่นนี Y) - ถ้ าหากกําหนดระยะห่างระหว่างแนวเส้ น Attack line และเส้ นกลางมากเกินไป ผลลัพท์ทีเกิดจาก ข้ อมูลในข้ อที 1, 5 และ 6 จะมีจํานวนครังY ทีเกิดผลดังกล่าวค่อนข้ างน้ อยครังY มาก(นัน คือโอกาสทีจะเกิด การโต้ กนั หรื อ rally ไปจนถึงช่วงครึงหลังมีมากครังY แต่ถ้ามากเกินไปโดยทีแทบทุกครังY ทุกแต้ มจะต้ องมี การโต้ กนั ไปจนถึงช่วงครึงหลัง ก็คงต้ องพิจารณากันใหม่ถงึ ความพอเหมาะพอดีในภาพรวมของเกมที ต้ องการให้ มีความหลากหลายโดยไม่มีนํ Yาหนักโอนเอียงไปทางใดทางหนึง มากเกินไป โดยการค่อยๆ ทดลองปรับระยะห่างของแนว Attack line อยู่เรื อยๆจนกว่าจะได้ ระยะทีลงตัวทีสดุ ) - จากข้ อมูลข้ อที 7 ถ้ าฝ่ ายรับสามารถรับลูกหยอดได้ ทนั และเปิ ดได้ ดีแทบทุกครังY ทีมีการเสิร์ฟลูก หยอด ในทุกๆเซ็ตทีทําการแข่งขัน หรื อแทบไม่มีครังY ใหนเลยทีฝ่ายรับเปิ ดลูกไม่ทนั หรื อเปิ ดลูกเสียจาก

การรับลูกหยอด แสดงว่าระยะห่างระหว่างแนวเส้ นหลังและแนวเส้ น Attack line มีระยะห่างน้ อยเกินไป ซึง ทําให้ ช่องว่างระหว่างแนวเส้ น Attack line และตําแหน่งทียืนตังรัY บของผู้เล่นฝ่ ายรับ มีช่องว่างน้ อย หรื อสันเกิ Y นไป ไปด้ วย จนทําให้ การเสิร์ฟลูกหยอดใช้ ไม่ได้ ผล ต้ องปรับแนวเส้ นหลังให้ มีระยะห่างจาก แนวเส้ น Attack line ออกไปอีกจนกว่าจะได้ ระยะทีเหมาะสม แต่ถ้าไม่ต้องการให้ ผลแพ้ ชนะขึ Yนอยู่กบั ผู้เล่นตําแหน่งเสิร์ฟมากจนเกินไป จนทุกทีมหันมาเน้ นแต่ การเสิร์ฟตลอดทังเกม Y ซึง ทําให้ แต้ มทีเกิดจากการเสิร์ฟมีมากเกินขอบเขตจนเป็ นเหตุให้ ไม่คอ่ ยจะได้ เห็น การรุ กรับขับเคียวทีครบเครื องหลากหลายด้ วยเทคนิควิธีอืนๆ จากผู้เล่นทุกๆตําแหน่งอย่างครบถ้ วนเท่าที ควรจะเป็ น ก็คงต้ องปรับระยะแนวเส้ นหลังกลับเข้ ามาให้ มีระยะห่างจากแนวเส้ น Attack line น้ อยลง จากทีขยายออกไป โดยสันลงจากเดิ Y มในระดับทีทําให้ การเสิร์ฟหยอดหวังผลได้ ยากขึ Yนเล็กน้ อย แต่ยงั อยู่ ในระยะทีสามารถกดดันผู้เล่นฝ่ ายรับให้ เปิ ดลูกได้ ลําบากเมือเสิร์ฟได้ ดี (ถ้ าสํารวจวัดค่าเฉลียจากการ ทดสอบแข่งขันโดยทีใช้ ผ้ เู ล่นซึง มีมาตรฐานสูงทังตั Y วเสิร์ฟและฝ่ ายตังรัY บ ก็จะได้ พิกดั ระยะทีเป็ นหลัก มาตรฐานมากยิงขึ Yน) (ข้ อสังเกตุ สําหรับในประเภทคู่ จะไม่มีการสํารวจข้ อมูลเหมือนกับในข้ อที 7 นี Y เพราะประเภทคูจ่ ดุ เสิร์ฟอยู่ไกลอยู่แล้ วและไม่คอ่ ยมีการเสิร์ฟลูกหยอด ไม่ได้ หวังผลจากการเสิร์ฟลูกหยอดมากเหมือนกับใน ประเภท 3 คน ประเภทคู่ จึงควรใช้ ขนาดของสนามเท่ากับสนามมาตรฐานเดิม หรื ออาจขยับเส้ นหลังออก ไปได้ อีกเพียงเล็กน้ อยเท่านันY หรื ออีกทางเลือก ถ้ าเลือกใช้ สนามแบบขยาย(Pict 1) ก็ควรให้ มีเส้ นหลัง 2 เส้ น ตอนเสิร์ฟก็จะเสิร์ฟทีตรงเส้ นด้ านใน ซึง เป็ นเส้ นทีมีระยะห่างจากเส้ นกลางเท่ากับสนามมาตรฐาน เดิม) - ผลลัพท์ทีได้ จากข้ อมูลข้ อที 8 แสดงให้ เห็นถึงพัฒนาการของผู้เล่นตําแหน่งตัวชงของแต่ละทีม โดย ในช่วงครึงแรกซึง มีการจํากัดเขตขึ Yนฟาด ตัวชงจะไม่มีพื Yนทีเต็มด้ านหน้ าเน็ตให้ ชงลูกได้ ถกู ทีถกู ตําแหน่ง ได้ ง่ายๆเหมือนกับการเล่นในช่วงครึงหลังทีไม่มีการจํากัดเขต ผู้เล่นตําแหน่งตัวชงจึงเป็ นตัวแปรสําคัญ และมีบทบาทต่อผลแพ้ ชนะมากยิงขึ Yน ไม่ใช่เพียงแค่รอชงลูกจังหวะสองทีหน้ าเน็ตในแบบไร้ ความกดดัน อีกต่อไป เพราะในช่วงครึงแรกคงต้ องอาศัยความสามารถของตัวชง ซึง ต้ องมีความแม่นยําทังนํ Y Yาหนักและ ทิศทาง จึงจะทําให้ ทีมมีโอกาสทีดีกว่า ทังโอกาสที Y จะได้ แต้ มตังแต่ Y ครึงแรกและโอกาสทีจะชิงความได้ เปรี ยบทีเป็ นฝ่ ายได้ ขึ Yนฟาดลูกหน้ าเน็ตในช่วงครึงหลัง (ในช่วงครึงหลังซึง ใช้ กติการะบบเดิม จะมองเห็น ถึงความแตกต่างในเรื องความแม่นยําในการชงลูก ของตัวชงแต่ละคนได้ ไม่ชดั เจนนัก เพราะชงไปตรง ใหนก็ได้ ขอให้ นํ Yาหนักและทิศทางอยู่ในระยะหวังผล ซึง เป็ นพื Yนทีกว้ างบริ เวณหน้ าเน็ต เป็ นใช้ ได้ แต่เกม ในช่วงครึงแรกซึง มีการจํากัดเขตด้ วยเส้ น Attack line นันY จะทําให้ มองเห็นถึงความแตกต่างของผู้เล่น ตําแหน่งตัวชงแต่ละคนได้ อย่างชัดเจนว่าผู้เล่นคนใดทีรักษาระดับการเล่นทีมีประสิทธิภาพไว้ ได้ อย่าง สมําเสมอมากกว่าโดยเฉลีย เพราะผู้เล่นต้ องใช้ ความละเอียดเพิมมากยิงขึ Yน ในการควบคุมนํ Yาหนักและ ทิศทางของลูกไม่ให้ ชิดแนว Attack line มากเกินไปจนลํ Yาเส้ น หรื อห่างมากไปจนเกินระยะหวังผล กล่าว อีกอย่างก็คือ ในช่วงครึงแรก ขอบเขตทีเป็ นระยะหวังผลถูกจํากัดพื Yนทีหรื อถูกบีบให้ เล่นได้ ยากขึ Yนใน ระดับหนึง )

- ผลทีได้ จากข้ อมูลการแข่งขันข้ อที 1 ในช่วงครึงแรกหากจํานวนครังY ทีลกู ตายมีคอ่ นข้ างมากครังY และส่วนใหญ่ลกู ทีตาย เกิดขึ Yนกับทีมทีตงรั ั Y บการบุกเกือบทังหมด Y หรื อมีน้อยครังY มากทีทีมบุกจะขึ Yนฟาด ลูกออกหรื อติดเน็ตเสียเอง (นัน คือ ผลทีเกิดขึ Yนกับทีมทีตงรั ั Y บการบุกในลักษณะเดียวกันกับข้ อที 5 และ 6 เกิดขึ Yนค่อนข้ างมากครังY ) แสดงว่าระยะของแนวเส้ น Attack line มีระยะห่างจากเส้ นกลาง(เน็ต)น้ อยเกิน ไป ซึง ทําให้ ฝ่ายบุกเล่นได้ ไม่ยากนัก แต่ฝ่ายรับจะตังรัY บได้ คอ่ นข้ างยาก เป็ นผลให้ ภาพรวมของเกมอาจ เกิดความโน้ มเอียงไปทางใดทางหนึง มากเกินไปจนขาดดุลยภาพ ต้ องแก้ ไขด้ วยการขยับขยายทังแนว Y เส้ น Attack line และเส้ นหลังขนานกันออกไปให้ มีระยะห่างจากเน็ตมากขึ Yนไปจากเดิมอีกเล็กน้ อย แล้ ว ทําการทดสอบใหม่จนได้ ระยะทีมีความสมดุลย์มากทีสดุ ทีมีผลทําให้ ทงที ั Y มฝ่ ายรุ กและฝ่ ายตังรัY บมีโอกาส ทีจะได้ แต้ มหรื อเสียแต้ มพอๆกันจากการรุ กและรับ 1 ครังY - ผลจากข้ อ 9 ในช่วงครึงหลัง ถ้ าทีมฝ่ ายเสิร์ฟและทีมฝ่ ายรับแต่ละทีมมีโอกาสในการได้ ขึ Yนฟาดลูก หน้ าเน็ตด้ วยจํานวนครังY ทีไม่ห่างกันมากนักโดยเฉลีย แสดงว่าการปรับองค์ประกอบข้ อกําหนดกติกา ทุกอย่างมีความสมดุลย์ลงตัวกันพอดี ซึง จะทําให้ ระดับคุณภาพของการเล่นในช่วงครึงแรกของแต่ละทีม มีผลเป็ นอย่างมากต่อโอกาสทีจะเป็ นฝ่ ายได้ ขึ Yนฟาดลูกหน้ าเน็ตในช่วงครึงหลัง (ความหมายก็คือ ในช่วง ครึงแรกทังY 2 ฝ่ ายต้ องพยายามเป็ นฝ่ ายบุกในทุกๆครังY นัน คือเปิ ดแล้ วต้ องได้ ขึ Yนฟาด ไม่ใช่เปิ ดแล้ วต้ อง แก้ ไข หรื อไม่ใช่ได้ แต่ตงรั ั Y บมากจนเกินไป จึงจะทําให้ ทีมมีโอกาสมากกว่าในการชิงความได้ เปรี ยบทีจะ ได้ เป็ นฝ่ ายขึ Yนฟาดหน้ าเน็ตในช่วงครึงหลัง) -------------------------

Note - สําหรับทีมตะกร้ อและผู้เล่นซึง ฝึ กซ้ อมอยู่เป็ นประจําทีให้ ความสนใจจะเข้ าร่วมด้ วยช่วยๆกันใน การรวบรวมข้ อมูลจากการแข่งขัน ซึง คงต้ องรวบรวมให้ ได้ จํานวนทีมากพอควรทีจะทําให้ ได้ คา่ เฉลียซึง จะ นํามาสํารวจ วิเคราะห์เพือทีจะปรับเปลียนองค์ประกอบต่างๆให้ ได้ ผลลัพท์เป็ นระบบทีเหมาะสมลงตัว มากทีสดุ ซึง กว่าทีจะสรุ ปผลออกมาได้ คงต้ องใช้ เวลาพอสมควรในการรวบรวมข้ อมูล และความคิดเห็น จากทุกท่าน เพือเป็ นเครื องมือในการปรับองค์ประกอบต่างๆในแบบค่อยเป็ นค่อยไปด้ วยความละเอียด รอบคอบเท่าทีจะเป็ นไปได้ โดยจะมีตวั อย่างแบบสํารวจข้ อมูลจากการแข่งขัน ซึง ผู้เรี ยบเรี ยงได้ นํามา บันทึกไว้ ดงั ทีปรากฎอยู่ในตอนทีผ่านมาข้ างต้ น โดยคัดกรองเอาเฉพาะส่วนทีเกียวข้ องกับวัตถุประสงค์ เพือทีทีมตะกร้ อและผู้เล่นจะได้ นําไปใช้ เป็ นแบบบันทึกข้ อมูลการแข่งขัน แล้ วนําข้ อมูลทีรวบรวมได้ ทงั Y หมด (ข้ อมูลซึง ส่งมาจากแหล่งทีมาต่างๆกันหลายแห่ง) มาร่ วมกันสํารวจ วิเคราะห์ โดยเลือกความคิด เห็นในส่วนของ comment ทีมีผ้ เู ห็นด้ วยค่อนข้ างมากหรื อความคิดเห็นทีใกล้ เคียงกันมาพิจารณาร่ วมกัน ซึง จะนําไปสูผ่ ลสรุ ปในขันสุ Y ดท้ ายทีเหมาะสมลงตัวมากทีสดุ ตามวัตถุประสงค์ ==========================

Related Documents


More Documents from ""